เพื่อการกุศล :::(เปิดจอง)ล็อกเกตพระแก้วมรกต"ภูริทัตตเถรานุสรณ์-สมเด็จองค์ปฐมอมฤตศุภมงคลญาณสังวร":::

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย dekdelta2, 13 พฤศจิกายน 2009.

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้
  1. inhouse

    inhouse สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    12
    ค่าพลัง:
    +0
    เป็นกำลังใจให้คุณหมอนะครับ
    และขอร่วมจองเบี้ยแก้ด้วยครับ 2 ชุดครับ
     
  2. KoRaT_191

    KoRaT_191 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    128
    ค่าพลัง:
    +229
    ผมขอจองเบี้ยแก้ 1 ตัวครับ
     
  3. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    UPDATE ล็อกเกตพระแก้วมรกต ผ่านการพุทธาภิเษกแล้วดังนี้


    พิธีพุทธาภิเษก-เทวาภิเษก-มังคลาภิเษก
    1. พิธีพุทธาภิเษกพระเจ้าตากสินมหาราช วัดอินทาราม วันที่ 15 พ.ย. 2552
    2. พิธีพุทธาภิเษก พญาวานร วัดบางพลีน้อย วันที่ 29 พ.ย. 2552
    3. พิธีพุทธาภิเษก วัดบางแคน้อย จ.สมุทรสงคราม วันที่ 6 ธ.ค. 2552
    4. พิธีพุทธาภิเษก วัดบวรสถานมงคล(อดีตวัดพระแก้ววังหน้า) วันที่ 19 ธ.ค. 2552
    5. พิธีเจริญพระพุทธมนต์ทำบุญครบรอบมรณภาพหลวงปู่หลุย จันทสาโร วันที่ 19 ธ.ค. 2552
    6. พิธีมหาพุทธาเษก "โครงการสร้างพระในใจ เทิดไท้องค์ราชันย์" วัดโฆสมังคลาราม จ.นครพนม วันที่ 26-28 ธ.ค. 2552
    7. พิธีสวดสักขีและเจริญพระพุทธมนต์จากพระสุปฏิปันโนสายวัดป่ากรรมฐาน 92 รูป วัดธรรมมงคล วันที่ 10 มกราคม 2553 (ด้วยความกรุณาอย่างหาที่สุดไม่ได้ของท่านพระอาจารย์ไม อินทสิริ ถือนำเข้าพิธี)
    8. พิธีพุทธาภิเษกวัตถุมงคลจัดสร้างโดยโรงพยาบาลภูมิพล ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2553
    9. พิธีสมโภชน์และพุทธาภิเษกหลวงปู่ทวดเหยียบน้ำทะเลจืด ณ วัดแคราชานุวาส จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2553
    10. พิธีพุทธาภิเษก ที่วัดมหาวัน จังหวัดลำพูน ในวิหารโยงสายสิญจน์จากหน้าพระสิกขี(แม่พระรอด) วันที่ 26 มีนาคม 2553
    11. พิธีพุทธาภิเษกล็อกเกตพระแก้วมรกตภูริทัตตเถรานุสรณ์ วัดป่าสันติสามัคคีธรรม จังหวัดสุรินทร์ วันที่ 4 เมษายน 2553 พระเถราจารย์ที่เข้าร่วมพิธี

    - หลวงปู่ใสย ปัญญพโล วัดเขาถ้ำตำบล ประธานจุดเทียนชัย
    - หลวงตาเอียน วัดป่าโคกม่อน อริยเจ้าผู้เร้นกาย พระอาจารย์ของพระอาจารย์วัน อุตตโม ดับเทียนชัย
    - หลวงพ่อคูณ สุเมโธ วัดป่าภูทอง จ.อุดรธานี
    - พระอาจารย์ไม อินทสิริ
    - พระอาจารย์อุทัย วัดภูย่าอู่
    - หลวงปู่บุญมา วัดถ้ำโพงพาง จ.ชุมพร
    - พระอาจารย์แดง วัดลุมพินี จ.พังงา
    - หลวงปู่สุมโน วัดถ้ำสองตา
    - พระอธิการใจ วัดพระยาญาติ
    - หลวงปู่บุญมี วัดถ้ำเต่า
    ฯลฯ
    12. พิธีหล่อพระอัครสาวกและพระอรหันตสาวก วัดเขาวง(ถ้ำนารายณ์) อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี วันที่ 1 พ.ค. 2553 (เข้าพิธีเฉพาะพระปิดตาที่อุดหลัง)
    13. พิธีเจริญพระพุทธมนต์ในงานประจำปีของชมรมรักษ์พระธาตุแห่งประเทศไทย กรุงเทพฯ วันที่ 15 พฤษภาคม 2553
    14. พิธีพุทธาภิเษกวัตถุมงคลของวัดตาลเอน(วัดสาขาของวัดอัมพวัน สิงห์บุรี) จ.พระนครศรีอยุธยา วันที่ 20 ตุลาคม 2553
    15. พิธีพุทธาภิเษกพระกริ่งชินบัญชรเพ็ชรกลับเหนือโลกและเหรียญหล่ออจิณไตย หลวงปู่ละมัย ฐิตมโน ณ คณะเวฬุวัน อ.พยุห์ จ.ศรีษะเกษ วันที่ 6 พ.ย. 2553
    16. พิธีพุทธาภิเษกพระปิดตาเมตตามหาลาภ วัดทุ่งเศรษฐี วันที่ 21 พ.ย. 2553(วันลอยกระทง)
    พระพรหมสุธี วัดสระเกศ ประธานจุดเทียนชัย
    เจริญจิตตภาวนาโดย
    พ่อท่านเลิบ วัดทองตุ่มน้อย จ.ชุมพร
    หลวงปู่ครูบาสิงโต วัดดอยแก้ว จ.เชียงใหม่
    หลวงพ่อนพวรรณ วัดเสนานิมิต จ.อยุธยา
    ครูบาคำเป็ง อาศรมสุขาวดี จ.กำแพงเพชร
    หลวงพ่อทอง วัดไร่กล้วย จ.ชลบุรี
    หลวงพ่อพูนทรัพย์ วัดอ่างศิลา จ.ชลบุรี
    หลวงปู่ปั้น วัดนาดี จ.สระบุรี
    หลวงพ่อเหลือ วัดขอนชะโงก จ.สระบุรี
    หลวงพ่อบุญ วัดทุ่งเหียง จ.ชลบุรี
    หลวงพ่อเจริญ วัดเกาะอุทการาม จ.นครราชสีมา
    พระครูคัมภีร์ปัญญาวิกรม วัดอรุณฯ กรุงเทพฯ
    พระครูญาณวิรัช วัดตะกล่ำ กรุงเทพฯ
    หลวงพ่อชวน วัดบ้านบึงเก่า จ.บุรีรัมย์
    พระมหาเนื่อง วัดราษฎร์บำรุง จ.ชลบุรี
    หลวงพ่อเณร ญาณวินโย วัดทุ่งเศรษฐี กรุงเทพฯ

    17. พิธีพุทธาภิเษกพระพุทธรูป ณ เทศบาลตำบลสำโรงเหนือ วันที่ 4 ธันวาคม 2553 (หลวงพ่อชาญ วัดบางบ่อ จุดเทียนชัย หลวงพ่อฟู วัดบางสมัคร ดับเทียนชัย)

    18. พิธีสวดบูชานพเคราะห์และพุทธาภิเษกท้าวเวสสุวรรณ ณ วัดจุฬามณี ต.บางช้าง อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม วันที่ 26 ธันวาคม 2553 พระเกจิอาจารย์ที่เข้าร่วมพิธี

    ๑. หลวงปู่คง วัดเขากลิ้ง จ.เพชรบุรี
    ๒. หลวงพ่อชุบ วัดวังกระแจะ จ.กาญจนบุรี
    ๓. หลวงปู่ยวง วัดโพธิ์ศรี จ.ราชบุรี
    ๔. หลวงพ่ออุดม วัดประทุมคณาวาส จ.สมุทรสงคราม
    ๕. หลวงพ่ออวยพร วัดดอนยายหอม จ.นครปฐม
    ๖. หลวงพ่อไพศาล วัดทรงธรรมวรวิหาร จ.สมุทรปราการ
    ๗. หลวงพ่อผล วัดหนองแขม จ.เพชรบุรี
    ๘. หลวงพ่อชำนาญ วัดบางกุฎีทอง จ.ปทุมธานี
    ๙. หลวงพ่อสิริ สิริวฒฺฑโน
    ๑๐. หลวงพ่อเมียน จ.บุรีรัมย์
    ๑๑. หลวงพ่ออิฏฐ์ วัดจุฬามณี


    19. พิธีพุทธาภิเษกเหรียญครบรอบอายุ 93 ปี หลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ วันที่ 13 มกราคม 2554

    20. พิธีพุทธาภิเษกพระสามสมัย วัดประดู่บางจาก กรุงเทพฯ วันที่ 26 มีนาคม 2554

    21. พิธีมหาพุทธาภิเษก พระเจ้าใหญ่ิอินทร์แปลงรุ่นมหาบารมีโชคดีปลอดภัย ที่วัดมหาวนาราม(วัดป่าใหญ่) ต่อหน้าพระเจ้าใหญ่อินทร์แปลง
    นั่งปรกโดย
    1.หลวงปู่คำบุ วัดกุดชมภู
    2.หลวงปู่ลี ถาวโร วัดผาสุการาม
    3.หลวงปู่อ่่อง วัดสิงหาญ
    4.หลวงพ่อบุญชู (ญาท่านเกษม) วัดเกษมสำราญ
    5.หลวงปู่คล้าย วัดบ้านกระเดียน
    6. หลวงปู่บุญรอด วัดกุดคูณ
    7. หลวงปู่เก่ง วัดกิตติราชเจริญศรี

    22. พิธีพุทธาภิเษกและสมโภชน์พระเจ้าใหญ่องค์หลวง วัดหลวง จ.อุบลราชธานี วันที่ 23 เมษายน 2554 (ฤกษ์เสาร์ห้า)

    1. หลวงปู่อ่อง วัดสิงหาญ
    2. หลวงปู่หนู วัดบ้านหนองหว้า
    3. หลวงปู่อำคา วัดบ้านตำแย
    4.หลวงปู่เส็ง วัดปราสาทเยอร์ใต้
    5. หลวงปู่บุญรอด วัดกุดคูณ
    6.พระสมุห์วิศิษฐ์ศักดิ์ กลฺยาโณ วัดบูรพา(ธ)
    7.ญาท่านเกษม วัดเกษมสำราญ
    8. หลวงปู่คำบุ วัดกุดชมพู
    9. พระราชธรรมโกศล (สวัสดิ์) วัดพระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ
    10.พระราชธีราจารย์ (ศรีพร) วัดมณีวนาราม
    ฯลฯ
    ในการนี้เกิดเหตุการณ์พิเศษคือ พระเถระสำคัญของพม่าได้เดินทางมารับการถวายปริญญาพุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมาศักดิ์ จึงมีการนิมนต์ท่านอธิษฐานจิตเป็นกรณีพิเศษกล่าวคือ
    1. พระสังฆนายกของสหภาพพม่า
    2. พระอาจารย์ภัททันตะ วังสะ ปาละ ลังการะตรีปิฏกะธร ตรีปิฎกโกวิทะ ตรีปิฎกะธรรมภัณฑาคาริกะ พระไตรปิฏกธรผู้จดจำพระไตรปิฎกได้ 84000 พระธรรมขันธ์

    23. งานพุทธาภิเษกวัตถุมงคลหลวงปู่ทิม อิสริโก ณ พิพิธภัณฑ์บุญญาภิรัต จ.ชลบุรี วันที่ 29 พฤษภาคม 2554*
    รายนามพระเถราจารย์นั่งปรกอธิษฐานจิต
    1. หลวงปู่นาม วัดน้อยชมพู่
    2. หลวงตาเร่ง วัดดงแขวน
    3. หลวงพ่อแผน วัดหนองติม(ศิษย์เอกหลวงปู่สุข วัดโพธิ์ทรายทอง)

    24. งานสืบชะตาหลวงและพิธีมหาพุทธาภิเษก พระกริ่งเศรษฐีล้มลุก วัดร้องขุ้ม วันที่ 16 มิถุยายน 2554 รายนามพระเถราจารย์นั่งปรกอธิษฐานจิต
    1. พระธรรมมังคลาจารย์ (หลวงปู่ทอง) วัดพระธาตุศรีจอมทอง
    2. หลวงปู่หา วัดป่าสักกวัน จ.กาฬสินธุ์ (หลวงปู่ไดโนเสาร์)
    3. หลวงปู่ฟู วัดบางสมัคร จ.ฉะเชิงเทรา
    4. พ่อท่านหวาน วัดสะบ้าย้อย จ.สงขลา
    5. หลวงพ่อเพิ่ม วัดป้อมแก้ว จ.อยุธยา
    6. พ่อท่านเขียว วัดห้วยเงาะ จ.ปัตตานี
    7. ครูบาตั๋น วัดย่าปาย จ.เชียงใหม่
    8. หลวงปู่บุญปั๋น วัดป่าแดด จ.เชียงใหม่
    9. หลวงปู่บุญมา วัดศิริชัยนิมิต
    10. ครูบาน้อย วัดศรีดอนมูล จ.เชียงใหม่
    11. หลวงปู่ครูบาสิทธิ วัดปางต้นเดื่อ จ.เชียงใหม่
    12. หลวงปู่ครูบาจำรัส วัดดอยน้อย จ.เชียงใหม่
    13. หลวงปู่ครูบาดวงดี ยติโก วัดบ้านฟ่อน จ.เชียงใหม่
    14. หลวงปู่ครูบาอินถา วัดยั้งเมิน จ.เชียงใหม่
    15. พระราชปริยัติโยดม(โอภาส) วัดจองคำ จ.ลำปาง
    16. หลวงปู่ครูบาบุญมา วัดบ้านสามัคคีธรรม จ.ลำปาง
    17. หลวงปู่ครูบาเลิศ วัดทุ่งม่านใต้ จ.ลำปาง
    18. หลวงตาวรงคต วิริยธโร วัดพุทธพรหมปัญโญ จ.เชียงใหม่
    19. หลวงปู่ครูบาพรรณ วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม จ.ลำพูน
    20. พระครูไพศาลพัฒนโกวิท(เทือง) วัดบ้านเด่น จ.เชียงใหม่
    21. หลวงปู่ครูบาสุข วัดป่าซางน้อย จ.ลำพูน
    22. หลวงปู่ครูบาก๋องแก้ว กัลยาโณ วัดป่าซางน้อย จ.ลำพูน
    23. หลวงปู่ครูบาธรรมสร สิริจันโท วัดตี๊ดใหม่ จ.น่าน
    24. หลวงปู่ครูบาอ่อน วัดสันต้นหวีด จ.พะเยา
    25. หลวงปู่ครูบาครอง วัดท่ามะเกว๋น จ.ลำปาง
    26. หลวงปู่ครูบาคำแบน วัดวังจำปา จ.เชียงใหม่
    27. พระราชเจติยาจารย์ วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร จ.เชียงใหม่
    28. หลวงปู่ครูบาคำปัน วัดพระธาตุม่อนเปี๊ยะ จ.เชียงใหม่
    29. หลวงปู่ครูบาอิ่นคำ วัดไชยสถาน จ.เชียงใหม่
    30. ครูบาผดุง วัดป่าแพ่ง จ.เชียงใหม่
    31. ครูบาอินทร วัดสันป่ายางหลวง จ.เชียงใหม่
    32. หลวงปู่ครูบาสม วัดปางน้ำฮ้าย จ.เชียงราย
    33. ครูบาเหนือชัย วัดถ้ำอาชาทอง จ.เชียงราย
    34. หลวงปู่ครูบาสุข วัดดงป่าหวาย จ.เชียงใหม่
    35. ครูบาอริยชาติ วัดแสงแก้วโพธิญาณ จ.เชียงราย
    36. พระอาจารย์บุญรอด วัดป่าเมืองปาย
    37. ครูบาสุบิน สำนักสงฆ์ร้านตัดผม จ.ชุมพร
    38. หลวงปู่กวง วัดป่านาบุญ จ.เชียงใหม่
    39. หลวงปู่ชม วัดป่าท่าสุด จ.เชียงใหม่
    40. หลวงปู่พระครูธรรมาภิรม วัดน้ำบ่อหลวง จ.เชียงใหม่
    41. หลวงปู่ครูบาคำมูล วัดกู่คำ จ.เชียงใหม่
    42. ครูบาเมืองใจ๋ วัดรังษีสุทธาราม จ.เชียงใหม่
    43. ครูบาญาณลังกา วัดดอยโพธิญาณ
    44. ครูบาบุญเป็ง วัดทุ่งปูน
    45. หลวงปู่ครูบาอินตา วัดศาลา
    46. ครูบาพรชัย วัดพระพุทธบาทสี่รอย
    47. พระโสภณธรรมสาร วัดป่าดาราภิรมณ์
    48. หลวงพ่อบุญมี วัดใจ จ.เชียงใหม่
    49. หลวงปู่ครูบามนตรี วัดพระธาตุสุโทน จ.แพร่
    50. หลวงพ่อสุแก้ว วัดป่าเจดีย์เหลี่ยม
    51. พระอาจารย์พรสิทธิ์ วัดสว่างอารมณ์
    52. พระครูพิพิธธรรมประกาศ วัดจอมแจ้ง
    53. หลวงพ่อถวัลย์ วัดพระธาตุเจดีย์
    54. หลวงปู่ครูบาบุญยืน วัดสบล้อง
    55. หลวงปู่ครูบาศรีวัย วัดหนองเงือก
    56. หลวงปู่ครูบาลือ วัดห้วยแก้ว
    57. หลวงปุ่ครูบาอุ่น วัดโรงวัว
    58. หลวงปู่ครูบานะ วัดดอยอีฮุย
    59. หลวงปู่ครูบาอ้าย วัดเวฬุวัน
    60. ครูบาจันทรังษี วัดกู่เต้า
    61. หลวงปูพ่อหวุนเจ้าต๋าแสง วัดคุ้งสะแก จ.แม่ฮ่องสอน
    62. หลวงปู่ประเสริฐ วัดพระพุทธบาทเวียงเหนือ
    63. ครูบาสาย วัดร้องขุด
    64. หลวงปู่ครูบาบุญยัง วัดห้วยน้ำอุ่น
    65. พระอาจารย์ต้น ฐานวีโร วัดร้องธาร


    25. พิธีพุทธาภิเษกวัตถุมงคลของหลวงปู่เอ้บ วัดสกุณาราม อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท วันที่ 25 มิถุนายน 2554 มีพระเถราจารย์เข้าร่วมปรกพุทธาภิเษกดังนี้
    1. หลวงพ่อเสน่ห์ วัดพันสี
    2. หลวงพ่อมี วัดม่วงคัน
    3. หลวงพ่อหวั่น วัดคลองคูณ
    4. หลวงพ่อเหลือ วัดขอนชะโงก
    5. หลวงพ่อพูน วัดบ้านแพน
    6. หลวงพ่อเพิ่ม วัดป้อมแก้ว
    7. หลวงพ่อชาญ วัดบางบ่อ
    8. หลวงพ่อฟู วัดบางสมัคร
    9. หลวงพ่อเอียด วัดไผ่ล้อม
    10. หลวงพ่อเกาะ วัดท่าสมอ
    11. หลวงพ่อเณร วัดทุ่งเศรษฐี
    12. หลวงพ่อเฉลิม วัดพระญาติ
    13. หลวงพ่อพยนต์ วัดโพธิ์บัลลังก์
    14. หลวงพ่อพร้า วัดโคกดอกไม้
    15. หลวงพ่อมหาอุกฎษณ์ วัดสกุณาราม
    16. หลวงพ่อสารันต์ วัดดงน้อย
    17. หลวงปู่คำบุ วัดกุดชมพู
    18. หลวงพ่อเอื้อน วัดวังแดงใต้
    19. หลวงพ่อมหาสุรศักดิ์ วัดประดู่

    26. พิธีพุทธาภิเษก ณ ถ้ำฉัตรทัณฑ์บรรพต วัดเขาอ้อ จ.พัทลุง วันที่ 26 กรกฏาคม 2554 (เข้าพิธีเฉพาะผงไม้เทพธาโร)
    พ่อท่านคล้อย วัดภูเขาทอง พัทลุง
    พ่อท่านเอียด วัดโคกแย้ม พัทลุง
    หลวงพ่อพรหม วัดบ้านสวน พัทลุง
    หลวงพ่อห้อง วัดเขาอ้อ พัทลุง
    พ่อท่านอุทัย วัดดอนศาลา พัทลุง
    หลวงพ่อสลับ วัดป่าตอ พัทลุง
    หลวงพ่อเหวียน วัดพิกุลทอง พัทลุง
    หลวงพ่อเงิน วัดโพรงงู พัทลุง
    หลวงพ่อเสถียร ฐานจาโร วัดโคกโดน จ.พัทลุง


    27. พิธีพุทธาภิเษก เหรียญ ที่ รฤก ใน วันที่ 6 สิงหาคม 2554 พระเกจินั่งปรก มีรายนามต่อไปนี้

    1.หลวงพ่อเฉลิม วัดพระญาติ
    2.หลวงพ่อคง วัดเขากลิ้ง
    3.หลวงพ่อเมียน วัดบ้านจะเนียงวนาราม
    4.หลวงพ่อยวง วัดโพธิ์ศรี
    5.หลวงพ่ออุดม วัดปทุมคนาวาส
    6.หลวงพ่ออวยพร วัดดอนยายหอม
    7.หลวงพ่อสิริ วัดตาล
    8.หลวงปู่บุญ วัดทุ่งเหียง
    9.หลวงพ่อชุบ วัดวังกระแจะ
    10.หลวงพ่อสะอาด วัดเขาแก้ว
    11.หลวงพ่ออิฏฐ์ วัดจุฬามณี

    28. พิธีมหาพุทธาภิเษก พระสุก พระเสริม พระใส รุ่น สามบารมี วัดโพธิ์ชัย อ.เมือง จ.หนองคาย วันที่ 24 กันยายน 2554 (เฉพาะพระนั่งปรกชุดแรก)

    29. พิธีพุทธาภิเษกขุนแผนรุ่นเจดีย์ทองและรุ่นพิชิตมาร วัดละหารไร่ ระยอง
    วันที่ 1 ตุลาคม 2554

    พระเกจิที่ร่วมปลุกเสก

    1.หลวงปู่ปัญญา วัดหนองผักหนาม ชลบุรี
    2.หลวงพ่อเจียง วัดเนินหย่อง ระยอง
    3.หลวงพ่อเจิม วัดหนองน้ำขุ่น ระยอง
    4.หลวงพ่อสิน วัดละหารใหญ่ ระยอง
    5.หลวงพ่ออ่อง วัดเขาวงกต จันทบุรี
    6.หลวงพ่อสวาท วัดอ่าวหมู จันทบุรี
    7.พระอาจารย์วีระ วัดพลับบางกะจะ จันทบุรี
    8.หลวงพ่อแผน วัดหนองติม สระแก้ว
    9.ครูบามงคล วัดบางเบน พิจิตร

    30. พิธีเทวาภิเษกพระพรหมจักรเพชร วัดดอนยานนาวา วันที่ 2 ตุลาคม 2554
    เกจิอาจารย์ที่ร่วมพิธี
    1. พระอาจารย์ติ๋ว วัดมณีชลขันธ์
    2. หลวงพ่อพูน วัดบ้านแพน
    3. หลวงพ่อมหาสุรศักดิ์ วัดประดู่
    4. หลวงพ่อชำนาญ วัดบางกุฎีทอง
    5. หลวงพ่อสมชาย วัดปริวาส
    6. หลวงพ่อเอียด วัดไผ่ล้อม
    7. หลวงพ่อหวล วัดพุทไธสวรรค์
    8. หลวงพ่อหล่ำ วัดสามัคคีธรรม
    9. พระพรหมโมลี วัดบรมสถล














    พิธีปลุกเสก/อธิษฐานจิตเดี่ยว
    เรียงตามวาระดังนี้
    1. พระใบฎีกายวง สุภัทโท วัดหน้าต่างใน อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา
    2. พระครูสมบูรณ์จริยธรรม(แม้น) วัดหน้าต่างนอก อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา
    3. พระครูประโชติธรรมวิจิตร(เพิ่ม) วัดป้อมแก้ว อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา (2 วาระ)
    4. พระครูสุวรรณศีลาธิคุณ(พูน) วัดบ้านแพน อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา
    5. พระมงคลนนทวุฒิ(เก๋) วัดปากน้ำ อ.เมือง จ.นนทบุรี
    6. พระครูเกษมวรกิจ(วิชัย) วัดถ้ำผาจม อ.แม่สาย จ.เชียงราย (2 วาระ)
    7. หลวงปู่คำบ่อ ฐิตปัญโญ วัดใหม่บ้านตาล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร (2 วาระ)
    8. พระราชวรคุณ(สมศักดิ์) วัดบูรพาราม อ.เมือง จ.สุรินทร์
    9. พระครูอุดมธรรมสุนทร(แปลง) วัดป่าอุดมสมพร อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร (2 วาระ)
    10. หลวงปู่เณรคำ(วิรพล) ขันติโก วัดป่าขันติธรรม อ.กัณทรารมย์ จ.ศรีษะเกษ
    11. พระอาจารย์สุมโน วัดถ้ำสองตา อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา (2 วาระ)
    12. หลวงปู่เนย สมจิตโต วัดโนนแสนคำ อ.เจริญศิลป์ จ.สกลนคร (2 วาระ)
    13. หลวงปู่ผ่าน ปัญญาทีโป วัดป่าปทีปปุญญาราม อ.อากาศอำนวย จ.สกลนคร
    14. พระอาจารย์เจริญ ฐานยุตโต วัดโนนสว่าง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    15. หลวงปู่ครูบาดวงดี ยติโก วัดวุฒิราษฏร์(บ้านฟ่อน) อ.หางดง จ.เชียงใหม่ (2 วาระ)
    16. พระครูศีลพิลาศ(จันทร์แก้ว) วัดศรีสว่าง(วัวลาย) อ.หางดง จ.เชียงใหม่ (2 วาระ)
    17. พระครูวิสุทธิศีลสังวร(สาย) วัดร้องขุด อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่
    18. หลวงปู่ดี ธัมมธีโร วัดเทพากร เขตบางพลัด กรุงเทพฯ (2 วาระ)
    19. พระครูปราสาทพรหมคุณ(หงษ์) สุสานทุ่งมน อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
    20. พระครูไพบูลย์สิกขการ(หวาน) วัดสะบ้าย้อย อ.สะบ้าย้อย จ.สงขลา
    21. พระราชสังวรญาณ(ไพบูลย์) วัดอนาลโย อ.เมือง จ.พะเยา (2 วาระ)
    22. หลวงปู่บุญมา คัมภีรธโร วัดป่าสีห์พนม อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร (4 วาระ)
    23. พระครูวิมลภาวนคุณ(คูณ) วัดป่าภูทอง อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี (5 วาระ)
    24. หลวงพ่อเปรื่อง เขมปัญโญ วัดบางจาก อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
    25. หลวงปู่โปร่ง ปัญญธโร วัดตำหนักเหนือ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
    26. หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต สวนอาหารสวนทิพย์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
    27. พระครูปราโมทย์(อ้อน) วัดบางตะไนย์ อ.เมือง จ.ปทุมธานี
    28. หลวงพ่อสินธุ์ ฐิตาโก วัดสะพานสูง อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
    29. หลวงตาวาส สีลเตโช วัดสะพานสูง อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
    30. หลวงปู่อุดม ญาณรโต วัดป่าสถิตธรรมวนาราม อ.พรเจริญ จ.หนองคาย
    31. หลวงพ่อพระมหาวิบูลย์ วัดโพธิคุณ อ.แม่สอด จ.ตาก
    32. พระอาจารย์ประกอบบุญ สิริญาโณ วัดมหาวัน อ.เมือง จ.ลำพูน
    33. พระครูสุวรรณศาสนคุณ(นาม) วัดน้อยชมภู่ อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี (3 วาระ)
    34. พระครูวิบูลโพธิธรรม(น่วม) วัดโพธิ์ศรีเจริญ อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี
    35. หลวงพ่อมนตรี ขันติธัมโม วัดป่าวิสุทธิธรรม อ.บ่อไร จ.ตราด
    36. พระครูวิสิษฐ์ชโลปการ(เกลี้ยง) วัดเนินสุทธาวาส อ.เมือง จ.ชลบุรี (2 วาระ)
    37. หลวงตาแตงอ่อน กัลยาณธัมโม วัดป่าโชคไพศาล อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร (2 วาระ)
    38. หลวงปู่วิไล เขมิโย วัดถ้ำพญาช้างเผือก อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิ (4 วาระ)
    39. พระอาจารย์สมหมาย อัตตมโน วัดสันติกาวาส อ.ไชยวาน จ.อุดรธานี
    40. หลวงปู่สรวง สิริปุญโญ วัดศรีฐานใน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร (2 วาระ)
    41. พระญาณสิทธาจารย์(ทองพูล) วัดสามัคคีอุปถัมป์(ภูกระแต) จ.บึงกาฬ
    42. หลวงปู่สำลี สุทธจิตโต วัดถ้ำคูหาวารี อ.วังสะพุง จ.เลย (2 วาระ)
    43. พระอาจารย์อุทัย สิริธโร วัดถ้ำพระภูวัว อ.เซกา จ.หนองคาย
    44. หลวงพ่อปริ่ง สิริจันโท วัดโพธิ์คอย อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี
    45. พระครูประสิทธิ์ อัคคธัมโม วัดโฆสมังคลาราม อ.ปลาปาก จ.นครพนม
    46. หลวงปู่ครูบาตั๋น ปัญโญ ที่พักสงฆ์ม่อนปู่อิ่น อ.ดอยหล่อ จ.เชียงใหม่(2 วาระ)
    47. พระครูถาวรศีลพรต(อินถา) วัดอินทราพิบูลย์ อ.หางดง จ.เชียงใหม่
    48. พระครูโสภณสารคุณ(บุญมา) วัดศิริชัยนิมิตร อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่
    49. ครูบาบุญเป็ง คัมภีโร วัดทุ่งปูน อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
    50. หลวงปู่ครูบาสิงห์แก้ว อัตถกาโม วัดปางกอง อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่
    51. ครูบากฤษดา สุเมโธ วัดสันพระเจ้าแดง อ.บ้านธิ จ.ลำพูน
    52. หลวงปู่ครูบาบุญมา อนิญชิโต วัดบุปผาราม อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    53. พระอุดมญาณโมลี(จันทร์ศรี) วัดโพธิสมภรณ์ อ.เมือง จ.อุดรธานี (อายุ 100 ปี)
    54. พระอาจารย์สมบูรณ์ กันตสีโล วัดป่าสมบูรณ์ธรรม อ.ชาติตระการ จ.พิษณุโลก
    55. พระครูสันติวรญาณ(อ่ำ) ธุดงคสถานสันติวรญาณ อ.วังโป่ง จ.เพชรบูรณ์
    56. พระครูกิตติอุดมญาณ(ไม) วัดป่าหนองช้างคาว อ.กู่แก้ว จ.อุดรธานี (3 วาระ)
    57. พระครูวิทิตศาสนกิจ(ไพโรจน์) สำนักสงฆ์ดอยปุย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    58. หลวงปู่ประสาร สุมโน วัดป่าหนองไคร้ อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร (2 วาระ)
    59. หลวงปู่ลี ถาวโร วัดป่าหนองทับเรือ อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก (3 วาระ)
    60. พระเทพเจติยาจารย์(วิริยังค์) วัดธรรมมงคล เขตพระโขนง กรุงเทพฯ
    61. หลวงปู่บุญพิน กตปุญโญ วัดผาเทพนิมิต อ.นิคมน้ำอูน จ.สกลนคร
    62. พระราชสิทธิมงคล(สวัสดิ์) วัดศาลาปูนวรวิหาร อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา
    63. พระสุนทรธรรมานุวัตร(เอียด) วัดไผ่ล้อม อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา (ปลุกเสกขณะเกิดสุริยุปราคาเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2553)
    64. หลวงพ่อวงศ์ สุภาจาโร วัดคำพระองค์ กิ่ง อ.เฝ้าไร่ หนองคาย (2 วาระ)
    65. พระมงคลศีลจาร(ทองอินทร์) วัดกลางคลองสี่ อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี
    66. พระครูโสภณพัฒนาภิรม(บุญ) วัดทุ่งเหียง อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี (2 วาระ)
    67. พระครูวิจิตรธรรมารัตน์(ขวัญชัย) วัดนามะตูม อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี
    68. พระธรรมสิงหบุราจารย์(จรัญ) วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี
    69. พระครูมงคลนวการ(ฉาบ) วัดศรีสาคร อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี (2 วาระ)
    70. หลวงพ่อเอิบ ฐิตตธัมโม วัดซุ้มกระต่าย (หนองหม้อแกง) อ.สรรพยา จ.ชัยนาท
    71. พระครูวิจิตรชยานุรักษ์(พร้า) วัดโคกดอกไม้ อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท
    72. พระครูปัญญาวิมล(แป๋ว) วัดดาวเรือง อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี
    73. หลวงปู่บุญหนา ธัมมทินโน วัดป่าโสตถิผล อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    74. พ่อท่านเอื้อม กตปุญโญ วัดสุวรรณจัตตุพลปัลนาราม(บางเนียน) อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช (อายุ 106 ปี)
    75. หลวงพ่อจำลอง เขมนัญโญ วัดเจดีย์แดง อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา
    76. พระครูอนุศาสน์กิจจาทร(เขียว) วัดห้วยเงาะ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี
    77. หลวงปู่เยี่ยม(สีโรจน์ ปิยธัมโม) วัดประดู่ทรงธรรม<!-- google_ad_section_end --> อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา (2 วาระ)
    78. พระครูประจักษ์ธรรมพิจารณ์(ข่าย) วัดหมูเปิ้ง อ.เมือง จ.ลำพูน
    79. พระครูบวรสุขบท(สุข) วัดป่าซางน้อย อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
    80. พระครูอรรถกิจจาธร(อุ่น) วัดโรงวัว อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่
    81. หลวงปู่ครูบาบุญทา ยติกาโร วัดเจดีย์สามยอด อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
    82. พระครูโพธิโสภณ(ศรีวัย) วัดหนองเงือก อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
    83. พระครูมงคลสาธุวัตร(ผาด) วัดบ้านกรวด จ.บุรีรัมย์ (2 วาระ) (อายุ 100 ปี)
    84. พระครูวิมลศีลาภรณ์(พูลทรัพย์) วัดอ่างศิลา อ.เมือง จ.ชลบุรี
    85. พระครูบวรชัยกิจ(ใสย) วัดเขาตำบล อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี
    86. พระอาจารย์เจริญ ญาณวุฑโฒ วัดถ้ำปากเปียง อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ (2 วาระ)
    87. พระอาจารย์อุทัย ธัมมวโร วัดภูย่าอู่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี (2 วาระ)
    88. พระครูโฆสิตโชติธรรม(บุญลือ) วัดคำหยาด อ.โพธิ์ทอง จ.อ่างทอง (2 วาระ)
    89. หลวงปู่ผาด อภินันโท วัดไร่ อ.วิเศษไชยชาญ้ จ.อ่างทอง
    90. พระครูพิศิษฏ์รัตโนภาส(เสียน) วัดมะนาวหวาน อ.วิเศษไชยชาญ จ.อ่างทอง (2 วาระ)
    91. หลวงปู่เปรี่ยม อติภัทโท วัดบ้านคลองทรายเหนือ อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ว
    92. หลวงพ่อเณร ญาณวินโย วัดทุ่งเศรษฐี เขตประเวศ กรุงเทพฯ
    93. พระครูสีหธัมมจารี(สิงห์โต) วัดดอยแก้ว อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
    94. ครูบาเลิศ จัตตภาโล วัดทุ่งม่านใต้ อ.เมือง จ.ลำปาง
    95. พระครูมงคลปุญญาคม(บุญมา) วัดบ้านสา อ.แจ้ห่ม จ.ลำปาง
    96. หลวงปู่ภัททันตธัมมานันทอัครบัณฑิต วัดท่ามะโอ อ.เมือง จ.ลำปาง
    97. พระอาจารย์พรสิทธิ์ ธัมมธโร วัดสว่างอารมณ์ อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่<!-- google_ad_section_end -->
    98. พระครูสุภัททาจารคุณ(สิน) วัดละหารใหญ่ อ.บ้านค่าย จ.ระยอง
    99. หลวงตาวรงคต วิริยธโร วัดถ้ำเมืองนะ จ.เชียงใหม่*
    100. พระครูพิบูลนวกิจ(คำบุ) วัดกุดชมภู อ.พิบูลมังสาหาร จ.อุบลราชธานี (2 วาระ)
    101. พระครูสภิตธรรมมงคล(อ่อง) วัดสิงหาร อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี<!-- google_ad_section_end -->
    102. พระครูประภัศรญาณสุนทร(นิพนธ์) วัดกล้วย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา
    103. พระครูสิริภัทรกิจ(ศรี) วัดหน้าพระลาน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี
    104. พระครูธีรพัชโรภาส(ผอง) วัดพรหมยาม อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์
    105. หลวงปู่ละมัย ฐิตมโน สวนป่าสมุนไพร อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ (ไม่ทราบพรรษาแน่ชัด)
    106. หลวงปู่ปัญญา ปัญญาธโร วัดหนองผักหนามราษฎร์บำรุง อ.หนองใหญ่ จ. ชลบุรี (อายุ 106 ปี)
    107. หลวงปู่เรือง อาภัสโร ปูชนียสถานธรรมเขาสามยอด อ.เมือง จ.ลพบุรี
    108. พระครูจันทศิริธร(สารันต์) วัดดงน้อย อ.เมือง จ.ลพบุรี<!-- google_ad_section_end -->
    109. พระมงคลวรากร(ชาญ) วัดบางบ่อ อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ
    110. พระครูปัญญาวราภรณ์(สมภาร) วัดป่าวิเวกพัฒนาราม อ.พรเจริญ หนองคาย
    111. พระครูธรรมสรคุณ (เขียน) วัดกระทิง อ.เขาคิชฌกูฎ จ.จันทบุรี
    112. พระญาณวิศิษฎ์(ทอง) วัดอโศการาม อ.เมือง จ.สมุทรปราการ
    113. พระครูอุดมภาวนาจารย์(ทองสุก) วัดอนาลโยพิทยาราม อ.เมือง จ.พะเยา
    114. พระราชภาวนาพินิจน์(สนธิ์) วัดพุทธบูชา เขตบางมด กรุงเทพฯ
    115. หลวงพ่อทองคำ กาญจวัณโณ วัดถ้ำบูชา อ.เซกา จ.หนองคาย
    116. พระครูอุดมวีรวัฒน์ (คูณ) วัดอุดมวารี อ.พาน จ.เชียงราย
    117. พระครูปัญญาธรรมวัฒน์ (อินทร) วัดสันป่ายางหลวง อ.เมือง จ.ลำพูน
    118. พระครูสุนธรธรรมโฆษิต(สุรเสียง) วัดป่าเลิงจาน อ.เมือง จ.มหาสารคาม
    119. หลวงพ่อบุญส่ง อุปสโม วัดทรงเมตตาราม อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี
    120. พระอาจารย์เกษมสุข เขมสุโข วัดประดู่ธรรมาธิปัตย์ เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ
    121. หลวงปู่เชิญ เกวียนอาศรมเทพนภา อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี<!-- google_ad_section_end -->
    122. พระครูภาวนาวิรัชคุณ(คง) วัดเขากลิ้ง อ.แก่งกระจาน จ.เพชรบุรี
    123. พระครูวิวิตสมจาร(ผล) วัดหนองแขม(ธรรมิการาม) อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี
    124. พระครูปทุมวรกิจ(ชำนาญ) วัดบางกุฎีทอง อ.บางกระดี่ จ.ปทุมธานี
    125. พระครูสิริโพธิรักษ์(ยวง) วัดโพธิ์ศรี อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี
    <!-- google_ad_section_end -->126. หลวงปู่มหาเจิม ปัญญาพโล วัดสระมงคล อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม
    127. หลวงปู่พุทธา พุทธจิตโต วัดป่าหนองยาว อ.เดชอุดม จ.อุบลราชธานี
    128. หลวงตาเก่ง ธนวโร วัดกิตติราชเจริญศรี อ.พิบูลมังสาหาร จ.อุบลราชธานี
    129. หลวงพ่อบุญรัตน์ กันตจาโร วัดโขงขาว อ.หางดง จ.เชียงใหม่
    130. พระครูพิพิธปุญญาพิรัตน์(อินตา) วัดศาลา(น้ำแพร่) อ.หางดง จ.เชียงใหม่
    131. พระราชญาณวิสุทธิโสภณ(ท่อน) วัดศรีอภัยวัน อ.เมือง จ.เลย<!-- google_ad_section_end -->
    132. หลวงปู่สิริ อคฺคสิริ วัดละหาร อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี
    133. พระครูพิพิธชลธรรม (หลาย) วัดนาจอมเทียน อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี
    134. พระครูสันติธรรมาภิรม(อ่อน) วัดสันต้นหวีด อ.เมือง จ.พะเยา
    135. พระครูอดุลปุญญาภิรม(ผัด) วัดหัวฝาย อ.ทุ่งเสลี่ยม จ.สุโขทัย
    136. หลวงปู่ครูบาครอง ขัตติโย สำนักสงฆ์ท่าอุดม อ.เถิน จ.ลำปาง
    137. หลวงพ่อมหาสิงห์ วิสุทโธ วัดถ้ำป่าไผ่ อ.ลี้ จ.ลำพูน
    138. พระครูธรรมาธรเล็ก วัดท่าขนุน อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี
    139. พระครูสังฆรักษ์(หลุย) วัดราชโยธา เขตสะพานสูง กรุงเทพฯ
    140. พระวิมลศีลาจาร (อำนวย) วัดบรมนิวาส เขตราชเทวี กรุงเทพฯ
    141. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์(มานิตย์) วัดสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ
    142. พระราชพิพัฒนาทร (ถาวร) วัดปทุมวนาราม เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ
    143. หลวงพ่อสิริ สิริวัฒโน อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี
    144. หลวงปู่บู่ กิติญาโณ วัดสุมังคลาราม อ.เมือง จ.สกลนคร (ไม่ทราบพรรษาแน่ชัด)
    145. หลวงปู่สุธัมม์ ธัมมปาโล วัดเทพกัญญาราม อ.เมือง จ.สกลนคร
    146. พระครูโสภณสิริธรรม(สม) วัดโพธิ์ทอง อ.โพธิ์ทอง จ.อ่างทอง (2 วาระ)
    147. พระครูนิพัธธรรมรัต(เกลื่อน) วัดรางฉนวน อ.แสวงหา จ.อ่างทอง
    148. พระครูสิริบุญเขต(มี) วัดม่วงคัน อ.โพธิ์ทอง จ.อ่างทอง
    149. พระครูประสูติโสภณ(เกลื่อน) วัดประดู่หมู๋ อ.นาทวี จ.สงขลา (อายุ 104 ปี)
    150. พ่อท่านแก้ว วัดสะพานไม้แก่น อ.จะนะ จ.สงขลา (อายุ 100 ปี)
    151. พระครูโอภาสธรรมรัตน์(แสง) วัดศิลาลอย อ.สทิงพระ จ.สงขลา (ผู้รวบรวมว่านสร้างหลวงปู่ทวดวัดพะโค๊ะ ปี 2506)
    152. พระครูธรรมพลาธร(พรหม) วัดพลานุภาพ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี
    153. พระอาจารย์ภัทร อริโย วัดนาทวี อ.นาทวี จ.สงขลา
    154. พระครูมนูญธรรมาภรณ์(อิ่นคำ) วัดมหาวัน อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    155. ครูบาคำปัน ญาณเถระ วัดพระธาตุม่อนเปี๊ยะ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่
    156. หลวงปู่ชม ฐานคุตโต วัดป่าท่าสุด อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
    157. หลวงปู่กวง โกสโร วัดป่านาบุญ อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
    158. พระอาจารย์เปลี่ยน ปัญญาปทีโป วัดป่าอรัญญวิเวก อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
    159. พระครูภาวนาภิรัต(สังข์) วัดป่าอาจารย์ตื้อ อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
    160. พระอธิการเสน่ห์ จันทสโร วัดเชียงขาง อ.สารภี จ.เชียงใหม่
    161. พระราชพุทธิมงคล(ทองบัว) วัดโรงธรรมสามัคคี อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
    162. ครูบาน้อย เตชปัญโญ วัดศรีดอนมูล อ.สารภี จ.เชียงใหม่
    163. พระครูอุดมวิริยกิจ(แสง) วัดป่าฤกษ์อุดม อ.ปทุมราชวงศา จ.อำนาจเจริญ
    164. พระครูเกษมธรรมานุวัตร(ญาท่านเกษม) วัดเกษมสำราญ อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี
    165. หลวงปู่คล้าย อธิเตโช วัดราษฎร์นิยม(บ้านกระเดียน) อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี
    166. หลวงปู่จูมณี กังขามุตโต วัดธรรมรังสี อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี
    167. หลวงปู่บรรยงค์ ทัสสะนะธัมโม วัดสว่างวารี(วัดตุงลุง) อ.ศรีเมืองใหม่ จ.อุบลราชธานี
    168. พระครูพิบูลธรรมภาณ(โชติ) วัดภูเขาแก้ว อ.พิบูลมังสาหาร จ.อุบลราชธานี
    169. พระครูโกวิทพัฒโนดม(เกลี้ยง) วัดบ้านโนนแกด อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ (อายุ 104 ปี)
    170. หลวงปู่พา อธิวโร วัดบัวระรมย์ อ.น้ำเกลี้ยง จ.ศรีสะเกษ (หลวงปู่หมุน วัดบ้านจานมาเข้าฝันให้ลูกศิษย์ตามหาถึง 3 ปีจึงจะเจอ)
    171. พระครูโสภณจันทรังสี(เพ็ง) วัดโพธิ์ศรีละทาย อ.กันทรารมย์ จ.ศรีสะเกษ
    172. หลวงปู่ญาท่านโทน ขันติโก วัดบ้านพับ อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี
    173. หลวงปู่แสง ญาณวโร วัดป่าภูติศษา อ.ปทุมราชวงศา จ.อำนาจเจริญ
    174. หลวงปู่มหาคำแดง ฐานะทัตโต วัดคำภีราวาส อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี
    175. สมเด็จพระพุฒาจารย์(เกี่ยว) วัดสระเกศวรมหาวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพฯ
    176. หลวงพ่อบุญมี ปภัสโร วัดสระเกศวรมหาวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพฯ (ศิษย์เอกหลวงปู่สังข์ วัดนากันตม)
    177. พระอาจารย์(ปิดตัว) อาจารย์สายวิชาการเล่นแร่แปรธาตุ เสกด้วยโองการพระเจ้าประชุมธาตุ เรียกปราณในอากาศมาสถิตในองค์พระ
    178. พระสมณธรรมสมาธิวัตร(เย็นเต็ก) วัดโพธิ์แมนคุณาราม เขตยานนาวา กรุงเทพฯ เจ้าคณะใหญ่จีนนิกาย
    179. หลวงปู่มหาปลอด ติสสเทโว วัดโพธิ์นิมิต เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ (คิษย์องค์สุดท้ายของเจ้าคุณทักษิณคณิศรวัดใต้)
    180. หลวงปู่พิศดู ธัมมจารี วัดเทพธารทอง กิ่งอ.เขาคิชฌกูฏ จ.จันทบุรี
    181. หลวงปู่แสวง อมโร วัดป่าชัยวารินทร์ อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น (อดีตชีปะขาวติดตามหลวงปู่มั่น)
    182. หลวงปู่ถวิล สุจิณโณ สำนักสงฆ์สุจิณโณ อ.อุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น
    183. หลวงปู่ลี กุสลธโร วัดภูผาแดง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    184. หลวงปู่ฮ้อ วัดป่าสวนหม่อน อ.เมือง จ.ขอนแก่น (พระชาวจีนศิษย์หลวงปู่คำดี วัดถ้ำผาปู่)
    185. หลวงปู่มหาโส กัสสโป วัดป่าคำแคนเหนือ อ.มัญจาคีรี จ.ขอนแก่น
    186. พระครูโสภิตวิริยาภรณ์(อิฏฐ์) วัดจุฬามณี อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม
    187. หลวงพ่อจำเนียร สีลเสฏโฐ วัดถ้ำเสือวิปัสสนา อ.เมือง จ.กระบี่
    188. พระเทพวิทยาคม(คูณ) วัดบ้านไร่ อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา
    189. พระครูพิชิตธีรคุณ(ธีร์) วัดจันทราวาส อ.ลำปลายมาศ จ.บุรีรัมย์
    190. หลวงปู่เที่ยง ปภังกโร วัดพระพุทธบาทเขากระโดง อ.เมือง จ.บุรีรัมย์
    191. หลวงปู่พวง ธัมมสาโร วัดโคกตาสิงห์ อ.เมือง จ.บุรีรัมย์
    192. พระครูวิสุทธิสีลากร(เส็ง) วัดปราสาทเยอร์ใต้ อ.ไพรบึง จ.ศรีสะเกษ (ศิษย์เอกหลวงพ่อมุม วัดปราสาทเยอร์เหนือ)
    193. พระครูวิลาสกิจจาทร(สอน) วัดหลวง อ.พิบูลมังสาหาร จ.อุบลราชธานี (อธิษฐานต่อหน้าองค์พระแก้วไพฑูรย์)
    194. หลวงปู่สี สิริญาโณ วัดป่าศรีมงคล อ.สำโรง จ.อุบลราชธานี (ศิษย์ที่มีพรรษาสูงสุดของหลวงพ่อชา สุภัทโท)
    195. พระครูสารธรรมประคุณ(บุญรอด) วัดกุดคูณ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี
    196. หลวงปู่อำคา อินทสาโร วัดบ้านตำแย อ.เมือง จ.อุบลราชธานี
    197. หลวงปู่ลี ถาวโร วัดผาสุการาม อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี
    198. หลวงปู่สุพัฒน์ เตชะพโล วัดป่าประชานิมิต อ.สำโรง จ.อุบลราชธานี (ศิษย์เอกหลวงปู่เจียม วัดหนองยาว)
    199. หลวงพ่อมหาประดิษฐ์ อุตตโม วัดทุ่งเกษม อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี(ศิษย์เอกหลวงปู่มั่น ทัตโต)
    200. พระครูสังฆรักษ์(กาจ) วัดป่าบ้านเก่าพระเจ้าใหญ่ อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี
    201. หลวงปู่เร็ว ฉันทโก วัดหนองโน อ.ตาลสุม จ.อุบลราชธานี (ศิษย์เอกหลวงปู่ญาท่านสวน วัดนาอุดม)
    202. หลวงปู่บัว แก้วคง วัดทัพหลวง อ.วังน้ำเย็น จ.สระแก้ว
    203. หลวงปู่นอง ธัมมโชโต วัดวังสีทอง อ.วังสมบูรณ์ จ.สระแก้ว
    204. พระครูสุวัฒน์ชลธาร(เจริญ) วัดบางละมุง อ.บางละมุง จ.ชลบุรี
    205. พระครูสุทธิคุณรังษี(ทอง) วัดรังษีสุทธาวาส(วัดไร่กล้วย) อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี<!-- google_ad_section_end -->
    206. หลวงปู่เสริฐ เขมโก วัดโอภาสี อ.เมือง จ.ระยอง (ศิษย์องค์สุดท้ายของหลวงพ่อโต วัดซากโดน) (2 วาระ)
    207. หลวงปู่อ่อง ถาวโร ถ้ำเขาวงกต อ.แก่งหางแมว จ.จันทบุรี
    208. หลวงพ่อบุญส่ง ฐิตสาโร วัดสันติวนาราม(เขาน้ำตก) อ.แก่งหางแมว จ.จันทบุรี<!-- google_ad_section_end -->
    209. พระธรรมวงศ์มุนี(วิชัย) วัดไผ่ล้อม อ.เมือง จ.จันทบุรี (อายุ 101 ปี)
    210. หลวงปู่สนั่น จิณณธัมโม วัดธารเกษม อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี
    211. พระภาวนาปัญญาวิสุทธิ์(มหาเข้ม) วัดป่าคลองกุ้ง อ.เมือง จ.จันทบุรี
    212. พระครูสังฆกิจบูรพา(บัว) วัดศรีบูรพาราม(เกาะตะเคียน) อ.เมือง จ.ตราด
    213. หลวงปู่บุญหลาย อัคคจิตโต วัดป่าโนนทรายทอง อ.เมือง จ.อำนาจเจริญ
    214. พระเทพสุทธิโมลี(สมพงษ์) วัดภูด่านแต้ อ.นิคมคำสร้อย จ.มุกดาหาร
    215. หลวงพ่อบุญชวน ธัมมโฆสโก วัดป่าวังน้ำทิพย์ อ.เลิงนกทา จ.ยโสธร<!-- google_ad_section_end -->
    216. พระภิกษุณีสกาวรัตน์ วัดโคกบัวราย อ.บัวเชต จ.สุรินทร์
    217. หลวงปู่ฮก รตินธโร วัดราษฏร์เรืองสุข อ.บ้านบึง จ.ชลบุรี*
    218. พระครูศุภมงคล(หุน) วัดบางผึ้ง อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา
    219. พระมงคลสุทธิคุณ(ฟู) วัดบางสมัคร อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา
    220. ท่านพ่อเมือง พลวุฑโฒ วัดป่ามัชฉิมวาส อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์
    221. พระราชศีลโสภิต(หนูอินทร์) วัดป่าพุทธมงคล อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์
    222. พระเทพวิสุทธิมงคล(ศรี) วัดป่ากุง อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด
    223. หลวงพ่อกิตติศักดิ์ กิตติสาโร วัดป่าหนองหลุบ อ.เมือง จ.ขอนแก่น
    224. หลวงปู่หนูเพชร ปัญญาวุโธ วัดป่าภูมิพิทักษ์ อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร (2 วาระ)
    225. หลวงปู่เคน เขมาสโย วัดป่าบ้านหนองหว้า อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร<!-- google_ad_section_end -->
    226. หลวงปู่โสภา ชุตินธโร วัดบูรพาภิรมย์ อ.เจริญศิลป์ จ.สกลนคร
    227. หลวงปู่ศูนย์ จันทสุวัณโณ วัดป่าอิสระธรรม อ.อากาศอำนวย จ.สกลนคร
    228. พระจันโทปมาจารย์(คำพันธ์) วัดศรีวิชัย อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม
    229. หลวงปู่เณรคำ(ทองใบ) ปัญญาพโล วัดป่าบ้านคำไฮ อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม<!-- google_ad_section_end -->
    230. หลวงปู่อว้าน เขมโก วัดป่านาคนิมิตต์ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร
    231. หลวงปู่อ้ม สุขกาโม วัดป่าภูผาผึ้ง อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร
    232. หลวงปู่จาม มหาปุญโญ วัดป่าวิเวกวัฒนาราม อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร (อายุ 102 ปี)
    233. หลวงปู่สิงห์ทอง ปภากโร วัดป่าสุนมราราม อ.เลิงนกทา จ.ยโสธร
    234. พระญาณวิสาสเถร(ณรงค์/หา) วัดป่าสักกวัน อ.สหัสขันธุ์ จ.กาฬสินธุ์ (หลวงปู่ไดโนเสาร์)
    235. พระครูถาวรมงคลวัตร(อินถา) วัดยั้งเมิน อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่
    236. พระครูวิมลธรรมรัต(บุญตั๋น) วัดย่าพาย อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
    237. หลวงปู่ครูบาคำแบน ฉันทธัมโม วัดวังจำปา อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
    238. พระครูมงคลรัตน์(สิทธิ) วัดปางต้นเดื่อ อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่
    239. พระครูวิสิฐชัยคุณ (เกาะ) วัดท่าสมอ อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท
    240. พระครูประสิทธิ์ชัยการ(เปรื่อง) วัดกำแพง อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท*
    241. หลวงปู่สนธิ์ เขมิโย วัดอรัญญานาโพธิ์ อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม (อายุ 100 ปี)
    242. พระครูสมุห์อวยพร ฐิติญาโณ วัดดอนยายหอม อ.เมือง จ.นครปฐม
    243. พระครูอดุลพิริยานุวัตร(ชุบ) วัดวังกระแจะ อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี
    244. หลวงตาเมียน กัลยาโณ วัดบ้านจะเนียงวนาราม อ.กระสัง จ.บุรีรัมย์
    245. พระครูอุดมสมุทรคุณ(อุดม) วัดปทุมคณาวาส อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม
    246. พระราชญาณดิลก(ทองหล่อ) วัดปลดสัตว์ อ.เมือง จ.อ่างทอง
    247. พระสุวรรณศีลาจารย์(เสงี่ยม) วัดสุวรรณเจดีย์ อ.มหาราช จ.พระนครศรีอยุธยา
    248. หลวงพ่อเสือ(ตาทิพย์) ธัมมวโร วัดดอนยายเผื่อน อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี
    249. หลวงปู่ชวน กตปุญโญ วัดเขาแก้ว อ.โพธิ์ทอง จ.อ่างทอง
    250. พระครูสุนทรธรรมนิวิฐ(รวย) วัดตะโก อ.ภาชี จ.พระนครศรีอยุธยา
    251. หลวงปู่สาย เขมปัญโญ วัดป่าพรหมวิหาร อ.โนนสัง จ.หนองบัวลำภู
    252. หลวงปู่โลกเอ๊าะบายกรีม(ข้าวแห้ง) วัดบ้านตาปัน อ.บัวเชต จ.สุรินทร์
    253. พระครูประภัศร์ธรรมาราม(เอี่ยม) วัดเมืองยาง อ.ชำนิ จ.บุรีรัมย์
    254. พระครูพิสิษฐ์นันทการ(บุญทา) วัดสุนันทาราช อ.ปทุมรัตน์ จ.ร้อยเอ็ด (อายุ 100 ปี)
    255. พระพิทักษ์ศาสนวงศ์(สมศักดิ์) สำนักสงฆ์ไตรรงค์วิสุทธิธรรม อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี*
    256. หลวงปู่สุพีร์ สุสญโต วัดถ้ำซับมืด อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
    257. พระครูอมรธรรมโมภาส(ชม) วัดสามัคคี อ.เมือง จ.หนองคาย
    258. หลวงปู่ขาว พุทธรักขิตโต วัดป่าคูณคำวิปัสสนา อ.กุดบาก จ.สกลนคร
    259. หลวงปู่จันหอม สุภาจาโร วัดบุ่งขี้เหล็ก อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี
    260. พระครูพิศาลวิหารวัตร(บุญให้) วัดท่าม่วง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช
    261. พ่อท่านท้วง คุณุตตโร สำนักสงฆ์คลองแคว อ.พรหมคีรี จ.นครศรีธรรมราช
    262. พ่อท่านผอม ถาวโร วัดหญ้าปล้อง อ.พรหมคีรี จ.นครศรีธรรมราช
    263. หลวงปู่พุ่ม กตปุญโญ สำนักสงฆ์ไตรสิกขารัตน์สถิตย์ อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช (อายุ 109 ปี)
    264. พ่อท่านประ อัคคธัมโม วัดภูเขาดิน อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช (อายุ 113 ปี)
    265. พระครูวิสุทธิบุญดิตถ์(นวล) วัดประดิษฐาราม(ไสหร้า) อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช
    266. พระครูอนุภาสวุฒิคุณ(จ่าง) วัดน้ำรอบ อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี
    267. พระครูสุคนธวิศิษฏ์(เอ็น) วัดเขาราหู อ.คีรีรัฐนิคม จ.สุราษฎร์ธานี
    268. พระอาจารย์นิคม สุธัมมสุตธัมโม สำนักสงฆ์ถ้ำวังบาดาล อ.คีรีรัฐนิคม จ.สุราษฎร์ธานี
    269. พ่อท่านอิ้น ปภากโร วัดรัชราษฎร์พัฒนา(ทับใหม่) อ.เคียนซา จ.สุราษฎร์ธานี
    270. พระครูพิเศษเขมาจาร(ท้วม) วัดศรีสุวรรณ อ.ท่าชนะ จ.สุราษฎร์ธานี
    271. พระครูเกษมจิตตาภิรักษ์(ล้าน) วัดขนาย อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี



    รายนามอุบาสก-อุบาสิกาอธิษฐานจิตเชิญบารมีคุณพระรัตนตรัย

    1. อ.ธรรมนูญ บุญธรรม สำนักบัวแปดกลีบ อัญเชิญคุณบารมีพระแก้วมรกตและครูบาอาจารย์มาประสิทธิ์
    2. อ.ชินพร สุขสถิตย์ มูลนิธิหลวงปู่ทิม อิสริโก อัญเชิญเทพ พรหม เทวดา ครูบาอาจารย์อันมีหลวงปู่ทิม เป็นที่สุด
    3. อ.ศุภรัตน์ แสงจันทร์ อาศรมโพธิสัตว์ม่อนแก้ว อธิษฐานนำพระไปถวายสมเด็จองค์ปฐมครอบวิมานแก้ว
    4. ยายชีนวล แสงทอง วัดภูฆ้องคำ อายุ 106 ปี ศิษย์ที่ทันสำเร็จลุนองค์สุดท้าย

    * หลังชื่อ หมายถึง อธิษฐานจิตเฉพาะมวลสารและของมงคลที่ใช้อุดหลังล็อกเกต<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 ตุลาคม 2011
  4. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    โพสรูปให้ดูเล่นๆก่อนครับ เดี๋ยวมีมาชุดใหญ่

    หลวงปู่ชม วัดสามัคคี
    หลวงปู่ขาว วัดป่าคูณคำวิปัสนา
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  5. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    [​IMG]





    หลวงปู่ขาว พุทธรักขิโต


    [​IMG]


    หลวงปู่ขาว พุทธรักขิโต ท่านเป็นเจ้าอาวาส วัดป่าคูณคำ
    อ.กุดบาก จ.สกลนคร

    ......................

    คาถาบูชาหลวงปู่ขาว


    โอม นะโม พุทธรักขิโต จะมหาเถโร


    อะหังปูเชมิ สิทธิลาโภ นิรันตะรัง


    พุทธังเปิด ธัมมังเปิด สังฆังเปิด เปิด เปิด เปิด


    เปิดฟ้า เปิดดิน เปิดทำมาหากิน เปิดสติปัญญา


    เปิดโชค เปิดลาภ เปิดความร่ำรวย


    เปิดด้วย นะโม พุทธายะ มะอะอุ อุอะมะ นะชาลิติ


    (จุดธูป ๗ ดอก สวด ๓ - ๙ จบ)


    ..........................​

    ปฏิบัติธรรมตามแนวทางหลวงปู่ขาว


    หลวงปู่ขาว :
    พระพุทธศาสนานี้ถ้าเรียนถึงทำได้ แล้วลึกซึ้งที่สุด ดีเลิศไม่มีอะไรเทียบได้แม้แต่สิ่งเดียว



    ลูกศิษย์ :
    ฤทธิ์ การแสดงฤทธิ์ อิทธิปฏิหารย์ นี้ทำยากไหม ดูคนทั่วไปจะชอบกันนัก



    หลวงปู่ขาว :
    มัน เป็นของเล่นเท่านั้น พระที่ท่านทำถึงแล้วง่ายมาก แต่ที่สุดก็เบื่อหน่ายที่จะแสดงที่จะทำ และไร้สาระที่สุด ไม่เหมือนคนทั่วไปที่เป็นบ้าตื่นอยากรู้ อยากเห็น เหมือนเด็กๆ พระที่ท่านแสดงได้บางองค์ ท่านเลือกที่จะไปอยู่ป่า ตายในป่า อยู่เงียบๆของท่าน บางทีก็แกล้งบ้า ทำตัวไม่น่านับถือ จนบางครั้งคนที่อยู่ใกล้ชิดไม่รู้ว่าท่านเป็นอะไร ภูมิจิตระดับใด แม้ท่านจะสะอาดบริสุทธิ์ขนาดไหน ก็ไม่มีบุคคลใดรู้ ตายก็ตายอย่างพระหลวงตาท้ายวัดองค์หนึ่งตายเท่านั้น
    ท่านกล่าวต่อไปว่า ….
    ก็อย่างว่านี้แหละ พวกตาบอด พวกใกล้เกลือกินด่าง เสียดายแทนว่ะ พวกนี้เจอไม้งามเมื่อขวานบิ่น พวกเสียชาติเกิด ไม่รู้ของดี ของเน่า ช่างหัวมัน


    ลูกศิษย์ :
    แล้วจะทำอย่างไรหลวงปู่



    หลวงปู่ขาว :
    ไม่ ต้องทำอะไร ถือว่าวาสนามีแค่นั้น เพื่อนของเราองค์หนึ่งนั่งอาบน้ำกลางแม่น้ำ โยมอุปัฏฐากทำอาหารถวายท่าน ไม่มีมะนาว ท่านเดินเข้าข้างในกุฏิ ครู่เดียว หิ้วมะนาวออกมาเต้มถัง ถามว่า เอามาจากไหน กูไปเอามาจากตลาดกรุงเทพฯ โยมเขาก็หัวเราะ คิดว่าท่านพูดล้อเล่น สุดท้ายท่านก็ตายอย่างพระธรรมดาองค์หนึ่งเท่านั้น ท่านมีโยมอุปัฏฐากสองสามคนเท่านั้น ไม่เห็นท่านสนใจจะให้ใครนับถือหรือต้องการมีชื่อเสียงสาระอะไร มันเป็นของเน่าธรรมดาสำหรับท่าน แต่คนธรรมดามันบ้า



    ลูกศิษย์ :
    แล้วหลวงปู้ทำได้ไหมนี่



    หลวงปู่ขาว :
    ไม่ รู้มีตาก็ดูเอา มีนักปฏิบัติธรรมบอกว่า นั่งสมาธิเห็นนางฟ้า พระอินทร์ พระพรหม กูนั่งแทบตายไม่เห็นบ้าอะไรเลย ไอ้พวกประมาท พวกนี้ไม่นานก็เป็นบ้า เป็นโรคประสาทกันหมด พระพุทธเจ้าท่านไม่ได้สอนเรื่องนี้ ท่านสอนให้ดูใจตัวเอง ให้ปฏิบัติศิล ปฏิบัติจิตภาวนา ให้จิตสงบ แล้วก็พิจารณาทุกข์ ธาตุ ๔ ขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง ไม่มีตัวตนต่างหาก เพื่อละ เพื่อถอนกิเลส โลภ โกรธ หลง ที่อยู่ในจิตใจตนเอง เรื่องฤทธิ์ ญาณรู้ จะมีหรือไม่มี ไม่ใช่สาระสำคัญอะไร ท้ายสุดพระพุทธเจ้าก็ไม่ได้ทรงยกย่องให้ความสำคัญเกินสติปัญญาเลย คนที่จะมา

    สนทนา ธรรมะกับพระ บางคนก็ปฏิบัติแบบผิดๆ บางคนก็หลงยึดบางอย่างจนยากจะแก้ไข บางครั้งดูไปก็น่าสงสาร เขาไม่รู้หลัก เขาไม่มีครูบาฯที่รู้จริงๆ และเป็นที่พึ่งได้ ไอ้เราก็รู้พองูๆปลาๆหลวงปู่ขาวกล่าวต่อไปว่า ….
    กรรมฐานปัจจุบันไม่เหมือนเก่า ทำง่ายแต่ช้านาน ไม่เหมือนกรรมฐานเก่าๆดั้งเดิม ครูบาฯรุ่นใหญ่ที่ท่านล่วงไปแล้วนั้น สิ่งแรกท่านเอาฐานก่อน คือฐานต้องมั่นคงจริงๆ (สมาธิ ) เน้นหนักองค์กรรมฐาน ปฏิบัติยาก ทำยาก แต่เมื่อทำได้แล้ว ง่าย ก้าวหน้าเร็ว กรรมฐานปัจจุบันชอบอะไรเร็วๆไวๆ ขึ้นต้นไม้ไม่ยอมขึ้นแต่โคนต้น ชอบอุตริกระโดดขึ้นยอดไม้เลย สุดท้ายก็เสียเวลา บางทีก็เป็นบ้า เป็นโรคประมาทฆ่าตัวตาย ก็มีมิจฉาทิฏฐิ ปฏิบัติไม่ตรง สุ่มๆเดาๆ อาจารย์พระกรรมฐานที่สอนไม่ได้รู้อะไรจริง เรียนหนังสือตำรา พอท่องๆได้ก็ตั้งตัวเป็นอาจารย์แล้ว นั่งสมาธิ จิตรวมเป็นอย่างไรก็ไม่รู้ แล้วนับประสาอะไร ญาณพิเศษรู้อะไรต่างๆ ยิ่งห่างไกลยังกะฟ้ากับดิน และที่ได้อภิญญา สมาบัติ โถ …. พระระดับนี้ ปัจจุบันจะมีกี่องค์ หาแทบไม่เจอ ยิ่งพระอริยะ พระอรหันต์ ท่านที่เป็นจริงๆ ท่านไม่ให้ใครรู้หรอก ไม่พูด ไม่ชอบแสดงตัว มันก็มีแต่ประเภทที่ไม่รู้ทั้งนั้น ชอบแสดง ชอบอวด รู้จริงมันอวดกันได้ที่ไหน มันเป็นกรรม ถ้าไม่ถึงวาระ ไม่ถึงกรรมต้องทำแล้ว แสดงออกมาไม่ได้เลย แต่ก็เอาเถอะ กรรมใคร กรรมมัน

    ลูกศิษย์ :
    แล้วกรรมฐานรุ่นเก่าทำอย่างไร


    หลวงปู่ขาว :
    กรรมฐาน รุ่นเก่านั้น ต้องทำจิตให้เป็นหนึ่งให้ได้ทุกอริยาบถก่อน จากนั้นจึงเข้ากราบครูบาฯ ขอคำแนะนำอุบายวิธีปฏิบัติต่อไป ถ้าทำพื้นฐานไม่ได้แล้ว ท่านไม่สอนอะไรต่อเลย และห้ามถามเรื่องภาวนาอีก คือ ถ้าทำไม่ได้อย่าพูด อย่าถามและโกหกการภาวนากับครูบาฯไม่ได้ด้วย คือท่านรู้จริงๆ เพราะท่านดูจิตของลูกศิษย์ออกหมดว่า ปฏิบัติก้าวหน้าหรือเท่าเดิม ทำได้น้อยหรือมากนี่คือครูบาฯรุ่นเก่าที่ท่านเป็นพระปฏิบัติแท้ๆ เป็นครูจริงๆ รู้จริงและพิสูจน์ได้เสมอหากลูกศิษย์สงสัยในคุณธรรมของอาจารย์ มันจึงเป็นกรรมฐานแท้ๆ ส่วนเรื่องญาณรู้พิเศษต่างๆเหล่านั้น หลวงปู่ขาวท่านมักจะพูดว่า มันเป็นเรื่องที่เหนือคำพูด การประมาณ การคาดเดาที่คนทั่วไปชอบทำกันจนเป็นนิสัยสำหรับวิทยาศาสตร์ วัตถุ วิวัฒนาการต่างๆของมนุษย์ จนเจริญก้าวหน้าอีกกี่พันกี่หมื่นปีก็ยังตามหลังพุทธศาสนาอยู่ดี วิทยาศาสตร์ชอบเอาเครื่องมือทดลอง พิสูจน์ตามทฤษฎีที่ตั้งขึ้นคือ เอานอกดูนอก เช่นใช้กล้องส่องดูเชื้อโรค แต่ทางพุทธศาสนานั้น เอาในดูนอกคือ ใช้สิ่งที่ไม่มีตัวตน ( จิต ) ดูสิ่งภายนอก มันจึงรู้ได้เกินรู้ได้มากอย่างไม่มีขีดจำกัด แต่วิทยาศาสตร์รู้มีขีดจำกัด ทฤษฎีต่างๆทั่วโลกและในอนาคตอีกไม่มีประมาณจะมากแค่ไหนก็ถูกทฤษฎีของพระ พุทธเจ้าครอบคลุมไว้หมด
    ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกมันตกอยู่ภายใต้กฏไตรลักษณ์ ( ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่มีตัวตน ) คือเมื่อมีขึ้นแล้วก็เสื่อมได้ สลายไปไม่มีตัวตนในที่สุด ไม่มีอะไรอยู่ค้ำฟ้าได้หรอก สิ่งต่างๆมีอายุการใช้งานเหมือนกับอายุของสัตวืนี่แหละ สุดท้ายก็ไม่มีอะไรเหลือค้างโลก สร้างอีกก็เสื่อมสลายอีก จะว่าอะไรแม้แต่ผู้ประดิษฐ์คิดค้นเอง สุดท้ายมันก็ต้องตายเป็นเถ้าเหมือนกัน ส่วนแนวปฏิบัติกรรมฐานนั้น หลวงปู่ขาวจะชอบพูดว่า พุทโธตัวเดียวอย่างเดียว อย่าทิ้งองค์กรรมฐาน เพราจิตจะจกลงสู่ภวังค์ ( อารมณ์ต่างๆ ) เมื่อเราบริกรรมพุทโธจะเปรียบเหมือนกับเราทำให้อารมณ์ต่างๆเกิดขึ้นช้าลง หรือห่างออกจากเดิม ที่เกิดขึ้นเร็วจนบางครั้งตามแทบไม่ทัน ถึงแม้เราจะไม่สามารถทำจิตให้อยู่ในอารมณ์เดียวได้ ( เป็นหนึ่งอยู่คำบริกรรม ) และแม้ผู้นั้นจะเรียนรู้ธรรมะจากรู้อุบายภาวนามาก ศึกษาจากครูบาฯมามาก แต่ถ้าผู้นั้นไม่สามารถหาอุบายวิธีที่จะทำให้จิตของตนเองสงบจากอารมณ์ต่างๆ ได้แล้ว ธรรมะที่รู้มาก็ไม่มีประโยชน์ ปัญญาที่แท้ จริงไม่มีวันรู้ได้ เพราะอารมณ์ต่างๆมันจะปรุงแต่งให้จิตฟุ้งซ่าน เลื่อนลอย ไม่มีวันหยุดสงบลงได้ เรียกว่า สติยังปัญญายังอ่อน อันมีสาเหตุเนื่องมาจาก


    ๑. วาสนา บารมี กระทำบำเพ็ญในอดีตยังน้อย ( พละหรืออินทรีย์ ๕ ยังอ่อน )
    ๒.ความเพียรพยายามในปัจจุบันไม่มีกำลัง คือไม่ค่อยทำหรือทำไม่ต่อเนื่อง
    ๓.ลังเลสงสัยในองค์กรรมฐาน ( คำภาวนา ) ที่ตนเองใช้
    ๔.ไม่เชื่อมั่นศรัทธา ไม่มมั่นคงในตัวครูบาฯที่ตนเองศึกษาอยู่
    ๕.ปฏิบัติผิดทางหรือปฏิบัติอยู่กับอาจารย์กรรมฐานที่ไม่รู้จริง ( ไม่มีภูมิรู้ )
    ๖.รู้ เกินครูบาฯอันเนื่องจากเรียนมามาก ศึกษาหลายอาจารย์จนสับสนแนวปฏิบัติและชอบอวดรู้ มีทิฐิมานะ การถือตนสูงไม่ยอมรับคำสอนของผู้อื่น
    นี่คืออุปสรรคเกี่ยวกับการปฏิบัติที่หลวงปู่ขาวสอนเสมอ ท่านว่า คนที่ว่าตนเองรู้ ตนเองฉลาดแล้ว คนนั้นคือ คนโง่ที่สุด คนที่มีนิสัยถ่อมตน ไม่ถือตัว ไม่อวดความรู้ที่ตนเองมี คนนั้นคือ นักปราชญ์ผู้รู้จริง และผู้นั้นจะมีความรู้จากบุคคลต่างๆ สิ่งต่างๆอีกมาก การภาวนานั้นให้เอาปัจจุบัน พากเพียรเอาปัจจุบันเป็นหลัก อีกทั้งต้องเชื่อในกรรมว่าทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เชื่อมั่นในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ที่สำคัญต้องหาครูบาฯที่รู้จริงในแนวทางปฏิบัติ เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นเรื่องละเอียด เป็นเรื่องภายใน และยิ่งปฏิบัติชั้นสูงขึ้นแล้ว ยิ่งต้องได้ครูบาฯที่รู้จริงอย่างถ่องแท้ เพราะไม่อย่างนั้นอาจนำไปสู่การปฏิบัติที่ผิดและหลงยึดในสิ่งที่ไม่ควรยึด ครุบาฯที่ท่านมีภูมิจจิตที่แท้นั้น ท่านจะผ่านการปฏิบัติอุบายต่างๆมามาก และรู้ว่าสิ่งใดควรทำ สิ่งใดไม่ควรปล่อย สิ่งใดควรปฏิบัติและถูกไม่ถูก
    และพื้นฐานการปฏิบัตินั้นที่ขาดไม่ได้คือศิล ๕ ขั้นต่ำเป็นพื้นฐานของการปฏิบัติภาวนาที่สำคัญ และขาดไม่ได้ เมื่อมีโอกาสควรสร้างทาน สร้างบารมีอย่างสม่ำเสมอ จนทำให้ติดเป็นนิสัย ผู้ที่ปฏิบัติเพื่อต้องการพ้นทุกข์จากวัฏสงสารนั้นกำลังหรือบารมี ทานบารมี ศิลบารมี เป็นต้น ถ้าปราศจากสิ่งเหล่านี้ ความก้าวหน้าหรือการยกระดับจิตขึ้นเหนือกิเลสต่างๆคือ โลภ โกรธ หลง นั้นยาก
    ปกติคนเราชอบหลงตัวเองว่า ตนเองดี ตนเองเด่นกว่าคนอื่นตลอดเวลา จนสุดท้ายก็ไม่สามารถแก้ไขทิฏฐิมานะได้ และไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นหรือสิ่งที่ผู้อื่นชี้แนะบอกกล่าวด้วยความหวังดี แม้ผู้นั้นจะเป้นอาวุโสกว่าตนเอง มีความรู้และมีประสบการณ์มากกว่าตนเองก็ตาม จะไม่ฟังและไม่ให้ความเคารพ จนสุดท้ายตนเองก็เดินทางเข้าสู่ความหายนะในที่สุด
    ดังนั้นการบำเพ็ญบารมีหนักเบาต่างกัน ระยะเวลาไม่เท่ากัน รู้มาก รู้น้อย ไม่เท่ากัน แม้ญาณทิพย์ ญาณในฤทธิ์ต่างๆก็ยังไม่เหมือนกัน ไม่เท่ากัน รู้มาก รู้น้อย ไม่เท่ากัน แต่การตัดกิเลสให้จิตบริสุทธิจากความโลภ โกรธ หลง นั้นเป็นเหมือนกันทุกประการ
    การปฏิบัติขั้นพื้นฐานนั้น หลวงปู่ขาวท่านจะเน้นหนักที่สุดคือองค์บริกรรม หากลูกศิษย์ผู้ใดสนใจทางด้านการปฏิบัติภาวนาแล้ว ท่านจะเตือนสติเสมอๆ และเป็นคำพูดที่ได้ยินเสมอๆจากท่านคือ อย่าทิ้งองค์บริกรรมภาวนา อย่าให้จิตตกสู่อารมณ์ต่างๆ ต้องพยายามใช้ปัญญาแยกจิตออกจากกายให้ได้มากที่สุดเท่าที่สติปัญญาของตนจะ พึงมี จนถึงแยกกายกับจิตออกจากกันได้อย่างเด็ดขาดในที่สุด
    ขั้นบริกรรมภาวนานั้น ( สมถกรรมฐาน ) ต้องฝึกบริกรรมมีสติกำกับรู้ติดต่อกันให้ได้ทุกอริยาบท พูดคุย ทำงาน สวดมนต์ต่างๆ จิตจะต้องบริกรรมไว้ไม่ขาด หมายถึงจะต้องฝึกจนจิตภาวนาเองโดยธรรมชาติ โดยไม่ต้องบังคับ ( ไม่คำนึงถึงระยะเวลาการปฏิบัติว่าดี แต่ให้คำนึงถึงการฝึกปฏิบัติจิตภาวนาเท่านั้น ) ทำให้จิตว่างจากอารมณ์ไว้อย่างมั่นคง แม้แต่นอนก็ให้บริกรรมภาวนาองค์กรรมฐานเรื่อยๆจนกว่าจะหลับไปในที่สุด พยายามพากเพียรอย่างไม่ท้อถอย ทำทุกวันแม้แต่การปฏิบัติใหม่จะทำได้ในเวลาสั้นๆ แต่ให้ทำอย่างสม่ำเสมอ ไม่มีขอบเขตของระยะเวลา
    ส่วนการนั่งสมาธิกรรมฐานนั้นจะต้องพยายามบริกรรมองค์ภาวนากรรมฐาน จนกว่าจิตจะนิ่งเป็นหนึ่ง เพ่งไปเรื่อยๆจนกว่าจะเหนื่อยหรือจนกว่าจิตจะรวมลงเป็นหนึ่ง ( คำภาวนาจะหายไปเอง ) เป้นอัปปนาสมาธิที่สุดแห่งสมาธิและเมื่อชำนาญแล้ว ให้กราบเรียนขออุบายกรรมฐานจากครูบาฯต่อไป เนื่องจากนิสัยบารมีของแต่ละคนไม่เหมือนกัน
    นิมิต ตามแนวปฏิบัติของหลวงปู่นั้นท่านว่า ….
    จะ เกิดขึ้นในขั้นบริกรรมภาวนาเท่านั้น แต่จะไม่เกิดในอัปปนาสมาธิ เนื่องจากขั้นนี้จิตไม่มีอารมณ์ นิมิตเกิดไม่ได้ เมือคิดภาวนาประสบนิมิตให้วางเฉยต่อนิมิตนั้นทุกประเภท แม้ว่านิมิตนั้นจะพิศดารแค่ไหนก็ตาม เมื่อวางเฉยแล้วนิมิตจะหายไปเอง และให้กำหนดจิตอยู่ในองค์บริกรรมภาวนาต่อไป จนกว่าจิตจะแน่วแน่ และรวมตัวลงเป็นอัปปนาสมาธิในที่สุด และจิตจะถอนขึ้นมาเองสู่อารมณ์ปกติทั่วไป นิมิตบางอย่างก็มีประโยชน์แต่ให้ถามครูบาฯเพื่อศึกาวิธีปฏิบัติต่อนิมิตนั้น โดยตรงเช่น นิมิตอสุภะ เป็นต้น นิมิตภาวนาบางคนก้มี บางคนก็ไม่มี แล้วแต่จริตนิสัยของแต่ละคน
    การพิจรณานั้น หลักใหญ่ถ้านักปฏิบัติไม่สามารถจะดำรงจิต ทำให้จิตสงบจากอารมณ์ต่างๆได้ แล้ก็ยากจะพิจารณาให้รู้จริงและเกิดปัญญาในเรื่องนั้นๆได้ เพราะจิตถูกปรุงแต่งจากอารมณ์ความนึกคิดต่างๆ ฟุ้งซ่าน เลื่อนลอยไม่มีที่สิ้นสุด นักปฏิบัติต้องเพ่งอยู่ในองค์บริกรรมภาวนา จนกว่าจะนิ่งมั่นคงเป็นหนึ่งดีแล้ว จึงยกเรื่องต่างๆขึ้นเพื่อพิจรณา อาทิ ธาตุ ๔ ขันธ์ ๕ ทุกข์ การเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นต้น เพื่อหาเหตุและความจริงตามสภาวธรรมต่างๆ และคลายความยึดถือไปในที่สุด

    ..............................
     
  6. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    (ต่อจากความเดิมตอนที่แล้ว)

    ผมได้ตามไปดูเจดีย์ใหม่ที่หลวงปู่ขาวกำลังสร้าง ระหว่างนั้นเห็นรูปหล่อหลวงปู่เทพโลกอุดร เลยอธิษฐานว่า ผมจะนำพระมาอธิษฐานขอให้หลวงปู่มาปลุกเสกผ่านญาณหลวงปู่ขาวด้วย แล้วถามปู่ขาวว่า หลวงปู่เทพโลกอุดรมาบ่อยมั๊ย ท่านตอบว่า ที่นี่สร้างได้เพราะบารมีท่าน

    หลังจากนั้นผมนิมนต์หลวงปู่ออกมาข้างนอก ท่านว่าไม่เข้ากุฎิ เพราะเข้าไปเดี๋ยวไม่ได้มาทำงาน ให้ปูเสื่อนั่งเอา แล้วขอนำพระและสีผึ้งมาให้ท่านอธิษฐาน ระหว่างอธิษฐานผมได้แอบตั้งสมาธิ ขอบารมีสมเด็จองค์ปฐม และหลวงปู่เทพโลกอุดร ใช้จิตระลึกเป็นอาโลกกสิณวางในกล่องวัตถุมงคล(ทำเล่นๆตามคำแนะนำของสมาชิกท่านหนึ่งในเว็บพลังจิต) หลวงปู่เสกเสร็จท่านคืนให้ว่า

    กล่องนี้มีแต่ของดีนัก

    เฮาเองก็เสกได้ ให้นำสายสิญจน์มาสวดพาหุงเอา

    เล่นเอาผมงง!!!

    แล้วท่านก็แนะนำให้ไปกราบหลวงปู่บุญพิน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 ตุลาคม 2011
  7. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    บทนำ

    สถานการณ์น้ำท่วมกรุงเทพฯ เป็นตัวแปรสำคัญที่ทำให้ผมเกือบตัดสินใจยกเลิกการเดินทาง แต่คิดว่าไหนๆกว่าจะสามารถจัดสรรทุกอย่างให้ลงตัวแบบนี้ได้ ยากมาก จึงคิดว่าถ้าเรามีจิตเป็นกุศลจริง ยังไงต้องฝ่าฟันทุกอุปสรรคไปได้

    ด้วยความวิตกว่าจะไปสนามบินไม่ทัน เพราะเหตุน้ำท่วม จึงคิด Idea ว่า ขึ้นรถไฟฟ้าแล้วไปนั่งเล่นที่สนามบินตั้งแต่เที่ยงคืนถึงเช้าแล้วกัน ผมนอนรอที่เก้าอี้ต่อกันหลายๆตัว ง่วงเข้าก็นอน ประมาณตีหนึ่งรู้สึกว่าหนาวมากๆ ไม่ได้เตรียมอะไรมาด้วย ต้องทนเอา รู้สึกว่าโง่มากๆที่เป็นหมอแท้ๆ แต่ไม่นึกถึง diurnal temperature ว่าช่วงตีหนึ่งตีสองอุณหภูมิแกนกลางร่างกายจะลดลง 1-2 องศา

    คำถามในใจผุดขึ้นมากมาย ตัวอย่างเช่น ทำไมกูต้องมาลำบากด้วยวะ เสกไปให้แล้วรู้คุณค่าหรือเปล่า ทีไอ้พวกทำพระหาเงินยังหลอกแดกเว็บได้เป็นล้านเลย ฯลฯ

    แต่อีกความคิดนึงก็ว่า มาถึงแล้ว ถอยกลับไม่ได้ยังไงก็ต้องสู้
    ตีสี่ ไปหาอะไรร้อนๆกินภายในสนามบิน แล้วหกโมงไปเช็คอิน

    ระหว่างการเดินทางในเครื่องบินมีพายุเข้า ในหลายจังหวัด เล่นเอาใจเสีย ทั้งลำเงียบกริบหมด .....
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_1145.JPG
      IMG_1145.JPG
      ขนาดไฟล์:
      322.8 KB
      เปิดดู:
      121
    • IMG_1146.JPG
      IMG_1146.JPG
      ขนาดไฟล์:
      239.7 KB
      เปิดดู:
      139
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 ตุลาคม 2011
  8. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    [​IMG]


    สิ่งหนึ่งที่เป็นเครื่องยืนยันในความเป็นพระผู้มีวิทยาคมทรงพุทธคุณเข้มขลัง คือท่านมักจะได้รับกิจนิมนต์จากวัดวาอารามทั่วประเทศ ให้ร่วมในพิธีพุทธาภิเษกวัตถุมงคลมาโดยตลอด อาทิ จตุคามรามเทพ รุ่น ปี ๒๕๓๐ และปี ๒๕๔๕ รวมทั้งวัตถุมงคลต่างๆ เกือบทุกรุ่นที่จัดสร้างมักนิมนต์ท่านไปนั่งปรกพุทธาภิเษก
    <!-- inside news --><SCRIPT src="http://partner.googleadservices.com/gampad/google_service.js" type=text/javascript> </SCRIPT><SCRIPT type=text/javascript> GS_googleAddAdSenseService("ca-pub-1114872005097511"); GS_googleEnableAllServices(); </SCRIPT><SCRIPT src="http://partner.googleadservices.com/gampad/google_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT type=text/javascript> GA_googleAddSlot("ca-pub-1114872005097511", "Insidenews"); </SCRIPT><SCRIPT type=text/javascript> GA_googleFetchAds(); </SCRIPT><!-- Insidenews --><SCRIPT type=text/javascript> GA_googleFillSlot("Insidenews"); </SCRIPT><SCRIPT src="http://pubads.g.doubleclick.net/gampad/ads?correlator=1319393672921&output=json_html&callback=GA_googleSetAdContentsBySlotForSync&impl=s&client=ca-pub-1114872005097511&slotname=Insidenews&page_slots=Insidenews&cookie=ID%3D9f9c71a65b46936a%3AT%3D1316165048%3AS%3DALNI_MaA0PqiIFr9hX5fur6y7w6tLUyX1g&url=http%3A%2F%2Fwww.komchadluek.net%2Fdetail%2F20110405%2F93858%2F%25E0%25B8%259E%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2597%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%258D%25E0%25B9%2583%25E0%25B8%25AB%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B8%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%259C%25E0%25B8%25B9%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B5%25E0%25B9%2581%25E0%25B8%2595%25E0%25B9%2588%25E0%25B9%2583%25E0%25B8%25AB%25E0%25B9%2589%25E0%25B9%2581%25E0%25B8%25AB%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%2587...%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B7%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A8%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B5%25E0%25B8%2598%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%258A.html&ref=http%3A%2F%2Fwww.google.co.th%2Fsearch%3Fq%3D%25E0%25B8%259E%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2597%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%258D%25E0%25B9%2583%25E0%25B8%25AB%25E0%25B9%2589%26hl%3Den%26gs_sm%3De%26gs_upl%3D3078l3266l0l3422l2l2l0l0l0l1l313l313l3-1l1l0&lmt=1319393672&dt=1319393672921&cc=100&oe=windows-874&biw=924&bih=519&ifi=1&adk=3333659748&u_tz=420&u_java=true&u_h=768&u_w=1024&u_ah=738&u_aw=1024&u_cd=32&flash=10.3.183.5&gads=v2&ga_vid=1329118715.1251477564&ga_sid=1319393673&ga_hid=1862687204&ga_fc=true"></SCRIPT>

    “บุญให้ สุขขนาน” เป็นชื่อและสกุลเดิมของพ่อท่านบุญให้ เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๔๗๑ ณ หมู่บ้านบางทองคำ ต.บ้านเนิน อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช โยมบิดา-มารดา ชื่อ นายสงฆ์ และนางทองนวล สุขขนาน ครอบครัวมีพี่น้อง ๙ คน ท่านเป็นคนที่ ๖
    ในช่วงวัยเยาว์ ท่านมีอุปนิสัยเรียบร้อย เป็นเด็กดี ไม่ชอบเที่ยวเตร่ ตั้งแต่เริ่มเข้าวัยรุ่นมีความประพฤติเรียบร้อย จิตใจฝักใฝ่สนใจหลักธรรมในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างมาก เป็นคนขยันขันแข็ง มีจิตใจเมตตากรุณามาตั้งแต่วัยเยาว์ แม้กระทั่งวัวที่เลี้ยงไว้ไถนา ท่านให้ความรักดูแลเป็นอย่างดี จะคอยตัดหญ้าให้กินมาโดยตลอด
    กระทั่งอายุครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์ ท่านได้เข้าพิธีอุปสมบททดแทนคุณบุพการี เมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๔๙๑ ณ วัดพระหอม ต.บ้านกลาง อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช โดยมีพระธรรมปาลาจารย์ เป็นพระอุปัชฌาย์, พระปลัดฝาก เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระมหาทอง เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า "ปทุโม" มีความหมายว่า ดอกบัว
    เมื่อได้อุปสมบทแล้ว ท่านได้มุ่งมั่นศึกษาพระปริยัติธรรม รวมทั้งได้ศึกษาร่ำเรียนสรรพวิชาจาก พระครูทักษิณธรรมสาร ตลอดเวลา ๓ พรรษา ท่านได้คอยปรนนิบัติรับใช้พระครูทักษิณธรรมสาร ซึ่งเป็นลูกศิษย์พ่อท่านจับ วัดท่าลิพง อย่างใกล้ชิด ได้รับเมตตาถ่ายทอดสรรพวิชาคาถาอาคมต่างๆ ให้อย่างครบถ้วน
    พ่อท่านได้หมั่นฝึกฝนปฏิบัติวิทยาคมต่างๆ ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจนเชี่ยวชาญ เกิดพลังสมาธิอย่างน่าอัศจรรย์ สรรพวิทยาคมที่ได้ร่ำเรียนจากพระครูทักษิณธรรมสารแห่งวัดพระหอม เป็นวิชาสายเดียวกับพ่อท่านเอื้อม แห่งวัดบางเนียน อ.เชียรใหญ่
    ต่อมา พ.ศ.๒๔๙๔ ท่านได้เดินทางไปจำพรรษาที่วัดเขมาภิรตาราม อ.เมือง จ.นนทบุรี เพื่อศึกษาพระธรรมวินัยเป็นเวลา ๑๓ ปี หลังจากนั้น อาจารย์ก็ให้พ่อท่านบุญให้เป็นเจ้าอาวาสวัดท่าบันเทิงธรรม เขตบางกอกน้อย ซึ่งที่นั่นท่านได้บูรณะซ่อมแซมกุฏิ สร้างศาลา โรงธรรม เสนาสนะต่างๆ ครบ ๓ ปี กระทั่ง พ.ศ.๒๕๐๘ ท่านได้กลับมาเป็นเจ้าอาวาสวัดพระหอม เป็นเวลา ๑ ปี ก่อนย้ายมาเป็นเจ้าอาวาสวัดท่ามะเดื่อ อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง เป็นเวลา ๖ ปี ณ ที่แห่งนี้เอง ที่พ่อท่านได้มีโอกาสศึกษาวิชาต่างๆ กับพระอาจารย์สำนักเขาอ้อ หลายท่าน เช่น พระสมุห์สงฆ์ วัดตะโหมด, พระครูกาชาด วัดดอนศาลา, พระอาจารย์นำ แก้วจันทร์, พ่อท่านทอง เป็นต้น
    จวบจน พ.ศ.๒๕๑๓ พ่อท่านบุญให้ ได้มาดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดท่าม่วง ซึ่งขณะนั้นมีเพียงพระหลวงตาอายุ ๘๐ ปี อยู่เพียงรูปเดียว กับวัดที่มีสภาพชำรุดทรุดโทรม มีเพียงโบสถ์เก่ากับกุฏิผุพัง เท่านั้น
    ด้วยความมุ่งมั่นเด็ดเดี่ยว ในปีรุ่งขึ้น พ่อท่านบุญให้สามารถชักชวนให้ชาวบ้านมาบูรณะซ่อมแซมวัด เปลี่ยนเสาโบสถ์ หลังคาและสร้างผนังโบสถ์ พร้อมกันนี้ ยังเป็นองค์อุปถัมภ์ในการสร้างอาคารเรียนหลังใหม่ของโรงเรียนวัดท่าม่วง ใน พ.ศ.๒๕๑๔ สร้างหอระฆัง พ.ศ.๒๕๑๕ สร้างเมรุ พ.ศ.๒๕๑๗ สร้างกุฏิและศาลาการเปรียญ
    พ.ศ.๒๕๒๘ ท่านได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าคณะตำบลปากพูน พ่อท่านบุญให้เป็นพระที่บำเพ็ญเพียรตั้งมั่นอยู่ในสมณธรรมอย่างเคร่งครัด มีวัตรปฏิบัติเรียบง่าย ปฏิปทางดงาม เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของผู้ได้พบเห็น เป็นที่นับถือศรัทธาของชาวนครศรีธรรมราชมาก
    ปัจจุบันท่านมีความเป็นอยู่อย่างสงบเรียบง่าย ทุกวันนี้การเดินทางไปกราบนมัสการพ่อท่านบุญให้ ที่วัดท่าม่วง มีความสะดวกสบาย เนื่องจากวัดท่าม่วงตั้งอยู่ไม่ไกลจากตัวเมือง เส้นทางคมนาคมสะดวก กราบไหว้พระดีเปี่ยมด้วยเมตตาถือเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ วันที่ ๑๓ เมษายนนี้ เวลา ๑๓.๐๙ น.ขอเชิญศิษยานุศิษย์ พุทธศานิกชน ร่วมในพิธีสรงน้ำ รวมทั้งร่วมบุญบูรณะวัดท่าม่วง สอบถามรายละเอียดที่โทร.๐๘-๒๔๑๕-๑๒๕๖ และ ๐๘-๙๖๕๑-๐๑๔๑
    วัตถุมงคล "พ่อท่านบุญให้"
    ที่ผ่านมาพ่อท่านบุญให้ ได้จัดสร้างวัตถุมงคลที่มีพุทธคุณด้านคงกระพันชาตรี แคล้วคลาด เมตตามหานิยม หลายต่อหลายรุ่น มอบให้แก่คณะศิษยานุศิษย์และสาธุชนที่เลื่อมใสศรัทธา จนเป็นที่เลื่องลือว่า เป็นผู้มีวิทยาคมทรงพุทธคุณเข้มขลัง เป็นที่ยอมรับและศรัทธาของลูกศิษย์ โดยเฉพาะทหารกล้า แห่งกองทัพภาคที่ ๔ ค่ายวชิราวุธ ต่างล้วนเคยเข้ากราบนมัสการพ่อท่านบุญให้ และท่านได้มอบตะกรุดให้พกติดตัวไปปฏิบัติหน้าที่ใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้
    ทหารหาญรายหลาย ต่างมีประสบการณ์แคล้วคลาดกันมาหลายหน จนเป็นที่เลื่องลือว่า ท่านเป็นเทพเจ้าแห่งวิทยาคมด้านคงกระพันชาตรี แคล้วคลาด ผู้ที่มีวัตถุมงคลของท่านไว้บูชาจะมีแต่ความเจริญรุ่งเรือง ทั้งในหน้าที่การงาน ค้าขาย และโชคลาภ ผู้ที่ได้บูชาพระเครื่องของหลวงพ่อบุญให้ไปต่างร่ำลือในเรื่องพุทธคุณในด้าน คงกระพันชาตรี เมตตา ค้าขาย โชคลาภ กันอยู่เนืองๆ
    ใน พ.ศ.๒๕๕๔ พ่อท่านบุญให้ ได้ดำริจัดสร้างวัตถุมงคล รุ่นสรงน้ำ ๕๔ เพื่อนำปัจจัยที่ได้ไปสร้างและบูรณะกุฏิสงฆ์ ด้วยกุฏิของวัดท่าม่วงยังไม่เพียงพอให้พระอยู่จำพรรษา วัตถุมงคลที่ท่านจัดสร้าง คือ พระสังกัจจายน์ ให้มีโชค ให้ลาภ ให้รวย (พิมพ์อิคคิวซัง พิมพ์แป๊ะยิ้ม) และพระปิดตาสังกัจจายน์ (พิมพ์ใหญ่ และพิมพ์เล็ก) ประกอบด้วย เนื้อทองแดงเถื่อน เนื้อนวโลหะ เนื้อเงิน เนื้อระฆัง ทั้งนี้ จะประกอบพิธีปลุกเสกเดี่ยว ณ วัดท่าม่วง ในวันที่ ๙-๑๑ เมษายน ๒๕๕๔

    0 เรื่อง / ภาพ สุพิชฌาย์ รัตนะ สำนักข่าวเนชั่น 0
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_1147.JPG
      IMG_1147.JPG
      ขนาดไฟล์:
      239.8 KB
      เปิดดู:
      228
    • IMG_1148.JPG
      IMG_1148.JPG
      ขนาดไฟล์:
      328.6 KB
      เปิดดู:
      1,485
  9. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    [​IMG]


    ผมถ่ายรูปพ่อท่านบุญให้ รูปแรกไม่ชัดเลยขอถ่ายรูปที่สอง

    พ่อท่านเงยหน้าขึ้นมาพอดี ปรากฏว่าถ่ายรูปท่านตาไม่กระพริบเลยปม้จะใช้แสงแฟรช
    เหมือน ครูบาขันแก้ว วัดสันพระเจ้าแดงตอนเสกพระ

    ที่ผมเคยเจอจังๆ ก็มีแค่ครูบาครอง เท่านั้นเอง
     
  10. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    [FONT=ms Sans Serif, Thonburi, DB ThaiTextFixed]เรียนสมาชิกทุกท่าน
    ที่ลงกระทู้นี้ก็เพื่อชี้แจงแถลงไขว่าพ่อท่านท้วงท่านเป็นใคร มาจากไหนทำไมถึงมีคนถามมากันมากเกี่ยวกับประวัติของท่าน และวัตถุมงคลของท่าน ทั้งที่ไม่เคยได้ลงโฆษณา ในสื่อพระเครื่องต่างๆ แต่วัตถุมงคลก็เป็นที่ต้องการและไม่เพียงพอกับความต้องการของลูกศิษย์ทั่วไป คงเป็นเพราะประสบการณ์ที่มีมานาน จนเป็นที่ห่วงแหนของบุคคลที่เคยนำไปบูชาจนเกิดประสบการณ์จนเป็นที่เล่ากันปากต่อปาก
    เพื่อไม่เป็นเสียเวลาผมขอชี้แจงเรื่องราวของท่านเลยดีกว่า เพราะผมยืนยันได้ว่าผมใกล้ชิดท่านมาตั้งแต่เด็กๆ เคยเจอเหตุการณ์อัศจรรย์หลายอย่าง ที่เกินกว่าจะอธิบายด้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์ พ่อท่านเป็นคนปากพนัง กำเนิดที่บ้านป่าระกำ เหนือ อาศัยทำมาหากินตามสายน้ำปากพนังมาตลอดตามประสาชาวนาทั่วไป จนอายุอย่างเข้าวัยเด็กพ่อของท่านได้นำไปฝากไปฝากไว้กับพ่อท่านมุ่ย วัดป่าระกำเหนือ ซึ่งเป็นพระเกจิที่เรืองวิทยาคมมาก และเป็นที่เคารพนับถือกับบิดาของท่าน จึงนำท่านรู้จักและเป็นสหธรรมมิกกับพ่อท่านเนียมเจ้าอาวาส วัดบางไทรในปัจจุบัน และมีความสนิทสนมกัน มาตั้งแต่วัยเด็ก ซึ่งบางท่านอาจไม่เคยทราบมาก่อน มีครั้งหนึ่งมีโยมไปเยี่ยมพ่อท่านเนียม แห่งวัดบางไทร แล้วถามถึงพ่อท่านท้วงว่ามีดียังงัยบ้าง พ่อท่านเนียมก็กล่าวว่า *เรานับถือท่านท้วง ท่านท้วงก็นับถือเรา* ต่อมาเมิ่อพ่อท่านท้วงออกจากวัด วัดป่าระกำเหนือ เพื่อประกอบสัมมาอาชีพ โดยท่านได้ประกอบอาชีพแจวเรือจ้างข้ามฝั่งระหว่างแม่น้ำปากพนัง ระหว่างนั้นท่านได้พบปะกับท่านโอภาษีแห่งอาศรมบางมดบ่อยครั้ง เหตุเพราะบ้านของท่านโอภาษีอยู่ที่ปากพนัง แต่ท่านก็ไม่ใด้เล่ารายละเอียดในช่วงเวลานั้นมากนัก จนต่อมาท่านโดนคดีความโดยท่านไม่ใด้กระทำผิด ท่านจึงต้องหลบหนีเจ้าหน้าที่ทางการไปพักหนึ่ง ทั้งๆที่ท่านเตรียมพร้อมที่จะมีคณะหนังตะลุงของท่านเอง จนเมื่อท่านหลบหนี ทุกคนจึงให้ฉายาท่านว่า[ใอ้เสือห้อง]จนเนที่เกรงกลัวและต้องการตัวของทางการ จนท่านต้องหลบหนีไปพักใหญ่ จนเมื่อปีพ.ศ.2500 พ่อท่านคล้าย วาจาสิทธ์ใด้มีโครงการริเริ่มก่อสร้างเจดีย์ใหญ่ที่วัดธาตุน้อย ด้วยจิตใจที่ท่านต้องการสร้างบุญกุศลเพื่ออุทิศบิดา มารดา จึงเดินทางไปช่วยพ่อท่านคล้ายที่วัดธาตุน้อยเพื่อก่อสร้างเจดีย์ เมื่อไปถึงท่านก็ก้มลงกราบที่ฝ่าเท้าพ่อท่านคล้าย แต่พ่อท่านคล้ายใด้เอามือรองรับเอาใว้ไม่ให้ถึงเท้าท่านพร้อมกลับกล่าวประกาศต่อหน้าสาธารณะชนว่า *ท่านผู้นี้มีวาสนาวาจาสิทธิ์ใด้เดินทางมาถึงแล้ว* พ่อท่านท้วงจึงจึงถามกลับไปว่าเป็นท่านหรือ พ่อท่านคล้ายตอบกลับมาว่าเป็นท่าน
    จึงทำให้ชื่อเสียงท่านโด่งดังแต่นั้นมา อีกทั้งท่านใด้ไปหาท่านพระครูสุนทร วัดดินดอนเพื่อรำเรียนวิชามาด้วยซึ่งหลายท่านอาจยังไม่ทราบ มีหลักฐานที่รอยสักที่ข้อมือของท่านซึ่งเป็นคาถาที่ท่านพระครูสุนทรสั่งสอนท่านมา ถ้าไม่มีใครถามท่านก็คงไม่บอกเพราะท่านค่อยข้างเก็บตัว หลังจากสร้างเจดีย์ที่วัดธาตุน้อยเสร็จเรียบร้อยแล้ว พ่อท่านคล้ายจึงแนะนำว่าให้ท่านอุปสมบทจึงจะดีและสามารถครองสมณะเพศไปได้ตลอดอายุขัยและจะเจริญรุ่งเรื่องในพระพุทธศาสนา สามารถช่วยเหลือบุคคลทุกข์ยากทั่วไป ท่านจึงตัดสินใจเข้าอุปสมบท ที่วัดนาควารี[หูล่อง]
    ท่านอุปัชาย์ของท่าน คือท่านเจ้าคุณศรีธรรมภาณมุนี[แคล้ว] ซึ่งมีความเก่งกล้าไม่น้อย และตำราอาคมต่างๆของพ่อท่านแล้วก็ตกอยู่กับพ่อท่านท้วงหลายเล่ม บางเล่มก็ลอยมาตกตรงหน้าท่านโดยอัศจรรย์รวมถึงพระยันต์นโม ที่บรรจุใว้ด้านหลังเรียญรุ่นแรกด้วย และยันต์ที่ลงปลัดด้วยเช่นกัน และอีกหลายพระยันต์ที่ยังไม่ใด้นำออกมาใช้ ล้วนแล้วแต่เป็นยันต์โบราณที่สืบทอดมาเฉพาะสายเท่านั้น และเรื่องทายใจคนเป็นเรื่องธรรมดาที่คนเคยสัมผัสรับรู้ใด้ทุกคน และวัตรปฎิบัติของท่านที่ทุกคนรู้กันดี คือ ท่านไม่ออกนอกวัด ยกเว้นบิณฑบาตอย่างเดียว และไม่รับกิจนิมนต์ทุกอย่างนอกวัดและท่านก็ยังถือปฎิบัติมาจนถึงวันนี้
    [/FONT]

    [​IMG]
     
  11. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    ตั้งใจไว้ว่าจะนำเสนอเรื่องราวของเกจิอาจารย์ในปัจจุบันสมัยยังดำรงสังขารขันธ์อยู่สามารถที่จะเดินทางไปกราบนมัสการได้ ปลุกเสกวัตถุมงคล เครื่องรางของขลัง มีคุณภาพ สามารถคุ้มครองผู้ที่นับถือบูชาวัตถุมงคลของท่านมีพยานหลักฐานยืนยันได้ชัดเจนและสามารถหาวัตถุมงคลเหล่านั้นมาบูชาได้ด้วยราคาที่ไม่สูงเกินไปนัก ข้อเขียนนี้จะกล่าวอย่างตรงไปตรงมา อัตโนประวัติในอดีตจะขออนุญาตไม่กล่าวถึงเรื่องที่จะบอกเล่าในครั้งนี้และแนะนำให้ไปกราบนมัสการท่านหากมีโอกาสคือ หลวงพ่อท้วง สำนักสงฆ์คลองแคว ต.พระพรหม อ.พรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช วัตถุมงคลของท่านแม้จะเป็นของสร้างใหม่เมื่อไม่เกิน 5 ปีมานี้แม้แต่เหรียญรุ่นแรกก็ตามมีประสบการณ์มากในพื้นที่และในกลุ่มที่เคารพนับถือท่านทำให้เหรียญรุ่นแรกจากการแจกให้ฟรีจนทุกวันนี้มีราคาค่างวดแล้วก็ตาม ท่านไม่เคยลงหนังสือพระเครื่อง ไม่เคยรับนิมนต์ปลุกเสกวัตถุมงคลนอกวัด ไม่เคยคิดสร้างเหรียญสร้างพระเครื่อง ทุกรุ่นทุกแบบบรรดาศิษย์ที่เคารพนับถือขออนุญาตสร้างถวายแล้วท่านก็แจกให้กับผู้ไปกราบนมัสการท่านทำบุญหรือไม่ก็ไม่สนใจ ยกเว้นของที่สร้างโดยการขออนุญาตและสร้างโดยคณะกรรมการวัดเช่นรูปหล่อบูชา เหรียญบางรุ่น ผ้ายันต์รอยมือเท้า ที่มีต้นทุนในการจัดสร้างจะขอจำหน่ายเพื่อนำรายได้มาทำนุบำรุงสำนักสงฆ์และจ่ายค่าน้ำไฟ สาเหตุที่ท่านมีชื่อเสียงและพนักงานการไฟฟ้าอำเภอขนอมนับถือท่านเนื่องจาก
    1.วัตถุมงคลมีประสบการณ์ มีคุณภาพเชื่อถือได้ เช่น ผ้ายันต์รอยมือเท้า เหรียญ ล็อคเก็ต
    2.ท่านมีวาจาสิทธิ์กล่าวอย่างไรเป็นอย่างนั้น
    3.คุณไสย ยาสั่ง ผีเข้า ท่านแก้ไขได้อย่างไม่น่าเชื่อ
    4.เครื่องรางของขลังท่านทำได้ขลังจริง เช่น ปลัดขิก สาริกา สีผึ้ง สายมือ
    ซึ่งวัตถุมงคลเหล่านี้บางชนิดท่านได้เลิกทำไปบ้างแล้วบางส่วนเนื่องมาจากความชราภาพไม่สามารถลงอักขระได้เช่นแต่ก่อน ของทุกอย่างที่ท่านปลุกเสกสามารถให้ความคุ้มครองได้จริงแม้จะเป็นวัตถุมงคลใหม่ แต่มีพยานและหลักฐานเช่น น้องชายที่ให้ความอนุเคราะห์มอบภาพถ่ายวัตถุมงคลให้ถ่ายรูปถูกยิงที่กลางหลังนัดแรกไม่เข้า นัดสองเผลออ้าปากไปด่าบุพการีฝ่ายตรงข้ามกระสุนจึงยิงเข้า ขณะถูกยิง พ่อท่านท้วงอยู่ที่วัดห่างตั้งเยอะนั่งคุยกับญาติโยมยังพูดว่ามันถูกยิง เรื่องนี้เกิดเมื่อ 4 ปีที่ผ่านมา ลงประจำวันไว้ที่ สภ.พรหมคีรี และตำรวจที่อำเภอดังกล่าวห้อยวัตถุมงคลท่านเกือบจะทุกคนและยังสามารถจับมือปืนที่ยิงได้

    ที่มาเว็บนวรัตน์ เว็บเขาราหู เว็บ108prageji
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_1149.JPG
      IMG_1149.JPG
      ขนาดไฟล์:
      257.4 KB
      เปิดดู:
      1,275
    • IMG_1150.JPG
      IMG_1150.JPG
      ขนาดไฟล์:
      351.9 KB
      เปิดดู:
      125
  12. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    [​IMG]

    พ่อท่านท้วง ผมสัมผัสได้วิชาอาคมทานแกร่งมาก
    ท่านตัง้ใจปลุกเสกให้ประมาณ 5 นาที
    ปลุกเสกเสร็จท่านรัวภาษาใต้มาเยอะมาก ผมฟังไม่รู้เรื่อง ก็เออๆ ออๆ ไปตามเรื่อง
    ในกุฏิท่านเชื่อเรื่องครูมาก มีพระฤาษีนั่งตรงข้ามกับท่านห่างฟันเพียงเมตรเดียวเท่านั้นเอง
     
  13. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    [​IMG]

    รูปนี้คือ พ่อท่านหรั่ง สำนักสงฆ์ธรรมจาริก ครับ

    ไปมาแล้วแต่ท่านติดกิจนิมนต์ ว่ากันว่ากายท่านผ่องใสมาก จากการฟอกกายเป็นเวลานาน

    เมืองคอนยังมีพระหนุ่มที่แอบเก่งอยู่อีก คือ พระอาจารย์ไพสิฐ ที่สามรถเชิญญาณบารมีสมเด็จโตได้ และ พระอาจารย์หม่ำ ศิษย์เอกหลวงพ่อสมภพ วัดสาลีโข ถ้ารู้ว่าใกล้นะ จะให้ไปลงมหาระงับภาคพิศดารให้หน่อย
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_1151.JPG
      IMG_1151.JPG
      ขนาดไฟล์:
      296.3 KB
      เปิดดู:
      1,292
    • IMG_1152.JPG
      IMG_1152.JPG
      ขนาดไฟล์:
      281.7 KB
      เปิดดู:
      1,599
    • IMG_1153.JPG
      IMG_1153.JPG
      ขนาดไฟล์:
      184.8 KB
      เปิดดู:
      180
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 ตุลาคม 2011
  14. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    [​IMG]

    เกจิในตำนาน พ่อท่านผอม ถาวโร



    [​IMG]



    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]


    องค์นี้ผมไปรอท่าน ท่านติดกิจนิมนต์ไปข้างนอก ท่านอธิษฐานเหมือนสายพระป่ามากกว่า คืออธิษฐานใช้มือลูบไปในพระ ไม่เอ่ยคาถาอะไรทั้งสิ้น
    ประมาณนาทีเดียวเสร็จ ผมจะขอให้ท่านเสกใหม่ เดี๋ยวจะโดนรัวเป็นภาษาใต้ เลยอย่าดีกว่า
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 ตุลาคม 2011
  15. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 29976-4.jpg
      29976-4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      143.8 KB
      เปิดดู:
      1,263
  16. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    [​IMG]


    หลวงปู่พุ่ม ท่านเป็นสหธรรมิกกับ พ่อท่านเอื้อม วัดบางเนียนครับ
    ประวัติท่านไม่ค่อยมีใครนำมาลงกันเลย
    แต่จากที่ถามท่าน ท่านเป็นศิษย์ ท่านพ่อลี วัดอโศการาม
    สมัยที่ท่านพ่อลี หลวงปู่เทสก์มาเผยแพร่ธรรมที่ใต้ครับ

    หลวงปู่ท่านยังตามไปอยู่กับ หลวงปู่เฟื่อง วัดธรรมสถิตย์เลย
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_1154.JPG
      IMG_1154.JPG
      ขนาดไฟล์:
      376.5 KB
      เปิดดู:
      1,811
  17. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    [FONT=ms Sans Serif, Thonburi, DB ThaiTextFixed]เดิมชื่อนายประ รักษายศ เกิดวันจันทร์ ปีมะเมีย พ.ศ. 2441 พื้นเพเดิมเป็นชาว ต.กุแหระ อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช

    บิดาชื่อนายกล่อม รักษายศ มารดาชื่อนางท้าว รักษายศ เป็นบุตรคนสุดท้อง มีพี่สาว 2 คน หลวงปู่ประเป็นลูกชายคนเดียว
    เมื่ออายุได้ 16 ปี หลวงปู่ประได้เข้ารับการบรรพชาเป็นสามเณรที่วัดสวนขันและได้ศึกษาเล่าเรียน กับพ่อท่านคล้ายวาจาสิทธิ์
    เนื่องจากสามเณรประเป็นเด็กขยันหมั่นเพียร สมองดี และใฝ่รู้ในพระพุทธศาสนาจึงเป็นที่รักใคร่เอ็นดูของพ่อท่านคล้ายวาจาสิทธิ์
    จนพ่อท่านคล้ายถึงกับเอ่ยว่า “ให้อยู่ในร่มกาสาวพักตร์เถิด ต่อไปในภายหน้าเจ้าจะเป็นที่รู้จักโดยทั่วไป” จนเมื่อครบอายุอุปสมบท
    สามเณรประจึงไม่รอช้าได้อุปสมบทบวชเป็นพระทันที ท่านได้ศึกษาพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด
    ร่ำเรียนวิชาวิปัสสนากรรมฐานและวิชาอาคมกับพ่อท่านคล้ายมาโดยตลอด จนกระทั่งอายุ 30 ปี มารดาได้มาขอให้หลวงปู่ประลาสิกขาบท

    เนื่องด้วยทางบ้านลำบากไม่มีคนช่วยงาน ท่านจึงต้องลาสิกขาบทออกมาช่วยงานมารดา หลวงปู่ประได้เข้าไปกราบพ่อท่านคล้าย
    โดยพ่อท่านคล้ายเอ่ยว่า “ไปทำหน้าที่ของท่านเถิด เมื่อถึงเวลาท่านจะกลับเข้ามาอยู่ในร่มกาสาวพักตร์เอง”
    โดยที่หลวงปู่ประยังไม่ได้กล่าวอะไรทั้งสิ้น เมื่ออยู่ในฆราวาสหลวงปู่ประยังเล่าเรียนวิชาอาคมกับพ่อท่านคล้ายและไปมาหา
    สู่อยู่เป็นประจำและยังได้ศึกษาเล่าเรียนวิชาอาคมสำนักเขาอ้อ จ.พัทลุง
    และยังเคยร่ำเรียนวิชาอาคมกับพ่อท่านเอียดดำ วัดอ้ายเขียว จ.นครศรีธรรมราช จนเป็นที่ยอมรับของชาวอ.ทุ่งใหญ่
    (หลวงปู่ประท่านบอกกับกระผมว่าสมัยนั้น อ.ทุ่งใหญ่ โจรป่าและโจรไม่รู้สัญชาติเยอะมากเข้ามาปล้น ฆ่า เรียกค่าไถ่
    หลวงปู่ประจึงขันอาสาเข้าไปปราบปราม โดยมีอาวุธเพียงมีด 1 เล่มเท่านั้น
    เพียงชั่วข้ามคืนโจรก็ได้ถอยล้าหนีหาย จนไม่มีโจรป่าหน้าไหนย่างกลายเข้ามาอีกเลย ชาวบ้านจึงยอมรับและแต่งตั้งให้ท่านเป็นผู้ใหญ่บ้าน และ
    ขนานนามว่าผู้ใหญ่ประจอมขมังเวทย์ หลวงปู่ประดำรงตำแหน่งผู้ใหญ่บ้านจนกระทั่งเกษียณ
    ครั้นเมื่อเกษียณแล้วหลวงปู่ประจึงไม่รีรอที่จะกลับเข้ามาสู่ร่มกาสาวพักตร์ อีกครั้ง

    ก่อนที่จะอุปสมบทอีกครั้งหลวงปู่ประได้นั่งชาญวิปัสสนาและในชาญวิปัสสนานั้น หลวงปู่ประได้พบกับพระรูปหนึ่ง
    ซึ่งมีอายุมากหลวงปู่ประเข้าไปกราบนมัสการ แล้วถามว่าหลวงพ่อชื่ออะไรครับ พระรูปนั้นก็หันหน้ามามีเสียงดังก้อง
    โดยที่ปากท่านไม่ได้ขยับมีเสียงเปล่ง ออกมาว่าฉันชื่อสามีราโม แต่ชาวบ้านเรียกเราว่าพ่อทวด แล้วพ่อรูปนั้นก็เอ่ยว่า
    เราขออนุโมทนาด้วยที่ท่านจะมาถะนุบำรุงพระพุทธศาสนา หลวงปู่ประจึงก้มกราบเมื่อเงยหน้าขึ้นมาพระรูปนั้นได้หายไปแล้ว
    หลวงปู่ประจึงออกจากสมาธิแล้วก้มกราบไปทางทิศวัดช้างไห้ เช้าวันรุ่งขึ้นหลวงปู่จึงไม่รอช้ารีบไปหาพ่อท่านคล้าย
    เมื่อเจอพ่อท่านคล้ายหลวงปู่ประก้มกราบพ่อท่านคล้ายยังไม่ทันจะเอ่ยอะไร พ่อท่านคล้ายก็เอ่ยขึ้นมาว่า เมื่อคืนพ่อทวดมาหาใช่มั้ย
    เราก็ขออนุโมทนาบุญเช่นกัน แต่โยมประต้องไปบวชที่ทุ่งใหญ่ วัดคู่บุญรอโยมประอยู่ หลวงปู่ประจึงถามว่าวัดไหนครับหลวงพ่อ

    พ่อท่านคล้ายบอกว่าไปเถอะแล้วโยมจะรู้เอง หลวงปู่ประจึงได้กราบลาพ่อท่านคล้ายกลับไปที่ อ.ทุ่งใหญ่
    พอถึงหน้าวัดภูเขาหลัก พ่อท่านแดงเจ้าอาวาสวัดภูเขาหลักยืนรออยู่แล้ว พ่อท่านแดงได้เอ่ยว่าโยมประเราเตรียมเครื่องไตรจีวร
    ไว้ให้โยมเรียบร้อยแล้ว หลวงปู่ประถึงกับงงแต่ก็รับไตรจีวรจากพ่อท่านแดงโดยไม่รอช้าเข้ารับการ อุปสมบททันที ซึ่งมีพระอุปัชฌาย์ พระคู่สวด
    และพระนั่งลำดับรออยู่แล้ว ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าอัศจรรย์เป็นอย่างยิ่ง พระอุปัชฌาย์คือ หลวงพ่อแดงวัดภูเขาหลัก
    พระกรรมวาจาจารย์คือ หลวงพ่อนาถวัดควนสระบัว เมื่อหลวงปู่ประอุปสมบทได้ 7 วันก็ได้นิมิตเห็นภูเขาลูกหนึ่งทั้ง 7 วัน

    จึงได้ไปกราบพ่อท่านแดง พ่อท่านแดงจึงบอกว่าเรารู้แล้วว่าท่านต้องไปอยู่วัดนั้นไปเถิดที่นั่นเป็น วัดคู่บุญของท่าน
    หลวงปู่ประจึงได้กราบลาพ่อท่านแดงไปจำพรรษาที่วัดภูเขาดินตั้งแต่นั้นเป็น ต้นมา ด้านการปฏิบัติธรรมท่านปฏิบัติตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด
    ทำวัตรเช้าวัตรเย็นไม่เคยขาดถึงแม้ท่านจะอายุมากแล้วก็ตาม ด้านสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่มีโรคภัยแม้แต่น้อย
    (เคยมีชาวบ้านไปกราบพ่อท่านคล้ายวาจาสิทธิ์ พ่อท่านคล้ายบอกว่าเธออยู่ทุ่งใหญ่ทำไมมากราบเราถึงที่นี้ ที่ทุ่งใหญ่ก็มีพระดี มีวิชา
    วาจาสิทธิ์อยู่ที่นั้นทำไมไม่ไปกราบ ชาวบ้านจึงถามว่าใครหรือครับ พ่อท่านคล้ายบอกว่าหลวงปู่ประไงล่ะ)
    [/FONT]
     
  18. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    อายุขนาดนี้ ยังฟิตนั่งปรกปลุกเสกร่วมครึ่งชั่วโมง

    ทั้งอธิษฐาน ทั้งสวด ทั้งเป่า ทั้งลากยันต์ ชักยันต์

    ผมประทับใจในความตั้งใจของท่านมาก
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_1155.JPG
      IMG_1155.JPG
      ขนาดไฟล์:
      237.1 KB
      เปิดดู:
      331
    • IMG_1156.JPG
      IMG_1156.JPG
      ขนาดไฟล์:
      236.6 KB
      เปิดดู:
      152
    • IMG_1157.JPG
      IMG_1157.JPG
      ขนาดไฟล์:
      216.4 KB
      เปิดดู:
      1,843
  19. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    พรุ่งนี้มาต่อครับ ..............................................


    กับวัตถุมงคลระดับจักรพรรดิ
     
  20. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    [​IMG]

    หลวงปู่กำลังเขียนยันต์ในวัตถุมงคล

    ตอนแรกเข้าไปท่านบอกว่าเลิกอธิษฐานพระแล้ว แต่ผมยกเข้าไปท่านก็อธิษฐานพระให้ สาเหตุที่ท่านไม่อธิษฐาน เป็นเพราะมีหลายคนนำพระมาให้ท่านเสก แล้วมีเยอะมากๆ ส่วนใหญ่เป็นพุทธพาณิชย์ ท่านไม่สนับสนุน แต่ของผมท่านบอกว่า ทำไมทำน้อยขนาดนี้ จะไปสร้างเจดีย์พอได้ยังไง ?
     
สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้

แชร์หน้านี้

Loading...