เจตสิกธรรมไม่มี หรือ?

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย ฐาณัฏฐ์, 26 ธันวาคม 2011.

  1. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ก็ค้นมาแล้ว อรรถาส่วนขยายก็ไม่มี เพราะอะไร

    เพราะไม่ได้แสดงส่วนเหตุไง ว่า สัญญา ๑๐ เธอจงกระทำอย่างนี้ วิธีนี้

    ไม่มี เพียงแต่ตรัส ผล กระทำมากเป็นอย่างไร กระทำไม่มาก เป็นอย่างไร :cool:
     
  2. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ไม่ดีหรอก พูดไปเดี๋ยวลดกำลังใจกันเปล่าๆ ^^
     
  3. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456

    เอ้า แล้ว เอาสามัญสำนึกไปไว้ไหน

    หากไม่มีการระบุ แปลว่าอะไร

    1. ไม่เหมาะแก่ใครเลย เพราะไมได้ระบุเอาไว้
    2. เหมาะกับทุกคน จึงไม่จำเป็นต้องระบุ
     
  4. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    อีกอย่าง เรื่องสัญญา ๑๐

    ถ้าไม่เห็นลักษณะไม่เที่ยง ไม่รู้ทั่วใน ขันธ์ ธาตุ อายตนะ อินทรีย์ ที่ปรากฏอยู่ทุกขณะจิต

    แล้วจะรู้มั๊ยว่ามันไม่เที่ยง เป็นทุกข์อย่างไร

    จะเอาอะไรมาเจริญ

    ถึงบอก ควรใส่ใจลักษณะ ความเป้นรูปนามก่อน มันเป็นประตูวิปัสสนาเลย

    สัจจะญาณเกิดแน่นอนครับ ^^
     
  5. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    อ่ะอ่ะ :cool:
     
  6. paetrix

    paetrix เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2011
    โพสต์:
    2,478
    ค่าพลัง:
    +1,878
    ผมยกพระสูตรมาดีกว่า แต่ไม่ได้เอามา ทับ ใครนะครับ พระวจนะที่พระองค์ฝากพระอานนท์ไป พระวจนะ" อานนท์ อนิจจสัญญาเป็นอย่างไรเล่า อานนท์ ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่าไปสู่โคนไม้ หรือ สู่เรือนว่าง พิจารณาโดยประจักษ์อย่างนี้ว่า รูปไม่เที่ยง เวทนาไม่เที่ยง สัญญาไม่เที่ยง สังขารไม่เที่ยง วิญญานไม่เที่ยง ดังนี้ เป็ฯผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ในอุปาทานขันธ์ ทั้ง5 เหล่านี้อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้เรียกว่า อนิจสัญญา..........................อานนท์ อนัตตสัญญาเป็นอย่างไรเล่า อานนท์ ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือ สู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า ตาเป็นอนัตตา รูปเป็นอนัตตา หูเป็นอนัตตาเสียงเป็นอนัตตา จมูกเป็นอนัตตากลิ่นเป็นอนัตตา ลิ้นเป็นอนัตตารสเป็นอนัตตา กายเป็นอนัตตาโพฎฐัพพะเป็นอนัตตา ใจเป็นอนัตตา ธรรมารมณ์เป็นอนัตตา ดังนีเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความเป็นอนัตตา ในอายตนะทั้งภายในและภายนอกหกเหล่านี้อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ นี้เรียกว่า อนัตตสัญญา---(อริยสัจจากพระโอษฐ์ ท่านพุทธทาส):cool:
     
  7. paetrix

    paetrix เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2011
    โพสต์:
    2,478
    ค่าพลัง:
    +1,878
    พระวจนะ อสุภสัญญาเป็นอย่างไรเล่า อานนท์ ภิกษุในกรณ๊นี้ เห็นโดยประจักษ์ โดยกายนี้แหละ แต่พื้นเท้าขึ้นไปถึงเบื้องบน แต่ปลายผมลงมาเบื้องล่าง ว่ามีหนังหุ้มอยู่โดยรอบ เต็มด้วยของอสุจิมีประการต่างต่าง คือในกายนี้มี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อ ในกระดูก ไต หัวใจ ตับ ผังผืด ม้าม ปอด ลำไส้ ลำไส้สุด อาหารในกระเพาะ อุจจาระ น้ำดี เสลด หนองโลหิต เหงื่อ มัน น้ำตา น้ำเหลือง น้ำลาย น้ำเมือก น้ำลื่นหล่อข้อ น้ำมูตร เป็นผู้ตามเห็นความไม่งาม ในกายนี้อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ นี้เรียกว่า อสุภสัญญา..:cool:
     
  8. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ทีแรก ไม่เข้าใจคำว่า จิตงอกลับ

    แต่เห็นอุปมาเรื่องขนไก่ถูกแล้วงอกลับ

    ทำให้นึกถึง ปกติศีล

    หมายถึง มีเหตุให้ทำชั่ว แล้วหิริมันเกิด ใจมันเด้งออกเลย รู้ดี รู้ชั่วไม่ไปเอากับมัน ^^

    ตีตามความเข้าใจตนนะ ^^


    ต้องดูดีๆ ขณะที่เฉยๆ โบ๋ๆ กลวงๆ บางคนเข้าใจว่า อุเปกขา

    ขณะนั้น โมหะ รับประทานอยู่ ^^
     
  9. paetrix

    paetrix เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2011
    โพสต์:
    2,478
    ค่าพลัง:
    +1,878
    พระวจนะ อาทีนวสัญญาเป็นอย่างไรเล่า อานนท์ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่าไปสู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาโดยประจักษ์อย่างนี้ว่า กายนี้มีทุกข์มาก มีโทษมาก คือในกายนี้มีอาพาธต่างต่างเกิดขึ้น กล่าวคือ โรคตา โรคหู โรคจมูก โรคลิ้นโรคกาย โรคที่ศรีษะ โรคที่หู โรคที่ปาก โรคที่ฟัน โรคไอ โรคหืด ไข้หวัดไข้มีพิษร้อน ไข้เซื่องซึม โรคกระเพาะ โรคลมสลบ ลงแดง จุกเสียด เจ็บเสียว โรคเรื้อรัง โรคฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ ลมบ้าหมู โลหิตเปื่อย โรคหิดด้าน คุดทะราด โรคละออง โรคโลหิต โรคดีซ่าน เบาหวาน โรคเริม โรคพุพอง ริดสีดวงทวาร อาพาธมีดีเป็นสมุฎฐาน อาพาธมีเสมหะเป็นสมุฏฐาน อาพาธมีลมเป็นสมุฎฐาน ไ้สันนิบาต ไข้เพราะฤดูกาลแปรปรวน ไข้เพราะบริหารกายไม่สม่ำเสมอ ไข้เพราะออกกำลังเกิน ไข้เพราะวิบากกรรม ความไม่สบายเพราะความหนาว ความร้อน ความหิว ความกระหาย การถ่ายอุจจาระ การถ่ายปัสสาวะดังนี้ เป็นผู้ตามเห็นโทษในกายอยู่ ด้วยอาการอย่างนี้เรียกว่า อาทีนวสัญญา:cool:
     
  10. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    เข้าใจแพททริกนั้นแหละ ^^

    แพททริกว่า พระสูตรที่ยกมา ต้องเข้าใจความเป็นรูปนามก่อนไหม ต้องประจักษ์ชัด รู้ทั่วพอเอามาเป็นสัญญาก่อนไหม

    หรือเขาว่าไม่เที่ยง ก็น้อมว่าไม่เที่ยง ^^

    ส่วน ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง ไว้จะขยายให้ วันนี้ง่วงแล้ว ^^
     
  11. paetrix

    paetrix เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2011
    โพสต์:
    2,478
    ค่าพลัง:
    +1,878
    ผมว่า มันเป็น กุศล คือน้อมไปในทาง ละ ราคะ เพราะฉนั้นจะไปมองข้ามการภาวนาบางอย่างไปไม่ได้.....จะว่าเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งก็ได้..เหมือนศิลที่ว่า ห้ามฆ่าสัตว์ ห้ามลักทรัพย์ ห้าดื่มสุรา...................ส่วนจะบรรลุได้หรือไม่แล้วแต่คนละครับ:cool:
     
  12. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    เมื่อก่อนเห็นใส่ใจความเป็นกุศล

    ควรรู้ให้มาก แยกได้ ขณะนี้เป็นกุศล อกุศล หรือ วิบากจิต

    กุศลควรเจริญ หยั่ง กุศลที่ยังไม่เกิด ให้เกิด ^^

    นี้ล่ะ สติปัฏฐานโดยพิศดาน


    ส่วนศีล สังเกตุใจดูสิ

    ถ้าเคยชอบดื่มเหล้า แล้วเลิกได้ด้วยอะไรก็ตาม

    ครั้งมีเหตุ ให้ดื่มด้วยเห็น เพื่อนชวน โอกาสพิเศษ หรืออะไรก็ตาม

    จิตแรก ที่ตาเห็น มันชงักเลยไหม มีรึยัง เกิดรึยัง

    มันมีแบบปัญญา สัมปชัญญะ พิจารณาโทษ เห็นโทษก็ได้

    แว็บเดียวเอง ไม่กดข่ม หรือ คิดนาน
     
  13. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    ขอบคุณครับทุกท่านที่ช่วยขยายคำว่า"งอกลับ" อาการดังขนนกใกล้ไฟ
    ถ้าหากเรามาเปรียบให้เข้ากับสภาธรรมของพระพุทธองค์ที่ทรงสอนแก่สาวกว่า งอกลับ
    นี้จะเปรียบได้ดัง( หิริกะ + โอตตัปปะ) จะเป็นไปได้ไหม? เพราะดูว่าคำๆนี้เป็นการที่เข้าไป
    ครอบคลุมธรรมที่เป็นฝ่ายกุศลได้ทั้งแหละ จิงป่าว

    มีอยู่คำๆหนึ่งในโพสต์ที่อ่านผ่านมา น่าจะเป็นของคุณหลงเข้ามา กับ คุณนิวรณ์ เถียงกันอยู่ ว่า"นิโรธ"นั้น
    ที่จริงคำว่านิโรธซึ่งแปลว่าดับ แล้วนิโรธดับอะไร การเข้าถึงนิโรธคือความดับ
    นั้นไม่เป็นสาธารณะแก่บุคคลทั่วไป มีได้แก่ พระอนาคามี กับ พระอรหันต์ เท่านั้น
    การเข้านิโรธนั้นเป็นการดับจิตกับเจตสิก เคยได้ยินผู้รู้ได้อธิบายไว้ว่าเหมือนว่า
    เป็นวิหารธรรมชนิดหนึ่ง ของพระอนาคามี กับพระอรหันต์ที่ท่านต้องการผักผ่อน
    แต่ต้องไม่เกิน ๗ วัน แต่ก่อนที่จะเข้านิโรธนั้นต้องตรวจก่อนว่าท่านจะตายภาย
    ใน ๗ วันนี้ หรือเปล่าถ้าหากว่าท่านจะต้องตายภายใน ๗ นี้ท่านก็จะไม่เข้า
    จะเปลี่ยนเป็นไปเพื่อการร่ำลาสงฆ์แทน จำได้แค่นี้แหละครับ
    ถูกผิดก็ว่ากันตามกำลังปัญญาของแต่ละท่าน

    ขอแถมอีกหน่อยว่าเข้าเกินกว่า ๗ วันไม่ได้เหรอ ขอตอบว่าไม่ได้
    เพราะภูมิที่เป็นมนุษย์ขาดอาหารเกิน ๗ วันแล้วต้องตายครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 9 มกราคม 2012
  14. แปะแปะ

    แปะแปะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    780
    ค่าพลัง:
    +128
    คิดว่าคงจะพอเข้าได้บ้างนะครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 มกราคม 2012
  15. paetrix

    paetrix เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2011
    โพสต์:
    2,478
    ค่าพลัง:
    +1,878
    นิโรธสัญญา นั้นที่พระองค์ให้พระคิริมานนท์พิจารณา พระวจนะ" อานนท์ นิโรธสัญญาเป็นอย่างไรเล่า ภิกษุในกรณีนี้ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาโดยประจักษ์ อย่างนี้ว่า "ธรรมชาติ นั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต กล่าวคือ ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับของธรรมชาติทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนอุปธิ ทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความดับเป็นความดับเย็น ดังนี้ นี่เรียกว่า นิโรธสัญญา..................:cool:
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 มกราคม 2012
  16. paetrix

    paetrix เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2011
    โพสต์:
    2,478
    ค่าพลัง:
    +1,878
    พระวจนะ" อานนท์ ปหานสัญญา เป็นอย่างไรเล่า อานนท์ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่ยอมรับไว้ซึ่งกามวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป ไม่ยอมรับไว้ซึ่งพยาบาทวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุดถึงความไม่มีต่อไป ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง วิหิงสาวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป ไม่ยอมรับไว้ซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย อันลามกที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป นี้เรียกว่าปหานสัญญา......................:cool:
     
  17. ปุณฑ์

    ปุณฑ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2008
    โพสต์:
    2,760
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,692
    กลับมาที่ อุเบกขาในสัญญาสูตรก็ดี หรือในมรรคจิตก็ดี
    นับว่าอยู่ฝ่ายสมาธิ (เอกัคตา อุเบกขา) เป็นสัมมาสมาธิ
    เพราะร่วมกับ สติ และปัญญา(สัมปชัญญะ) ..ด้วยอนิจจสัญญา..
    บวกกับ พละอีกสองคือ ศรัทธา วิริยะ


    จะขาดตัวใดตัวหนึ่งไม่ได้ ในการปหานกิเลส
    เพราะหากมีแต่ปัญญา มีสติ แต่ขาดสมาธิ ก็คงไม่สำเร็จ
    เรียกว่า ต้องร่วมมือกัน จะข้ามไปได้ไม่ได้ ก็ดูว่าพละห้าเสมอกันหรือไม่<!-- google_ad_section_end -->

    ก็ต้องกลับมาที่ สัมมาสมาธิ
    http://palungjit.org/threads/สมาธินั้น-แค่ไหนจึงเป็นมิจฉาสมาธิ-แค่ไหนจึงเป็นสัมมาสมาธิ.321039/
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 มกราคม 2012
  18. deemonster

    deemonster เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มกราคม 2007
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +805
    ว่าด้วย กำลังและความรู้ที่พอเหมาะ พอดี กับตน
     
  19. paetrix

    paetrix เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2011
    โพสต์:
    2,478
    ค่าพลัง:
    +1,878
    จนกว่าจะถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ นั่นแหละครับ...:cool:
     
  20. deemonster

    deemonster เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มกราคม 2007
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +805
    จะเห็นความจำได้หมายรู้ที่ใช้งานได้จริง แค่นำมาใช้งาน!
     

แชร์หน้านี้

Loading...