ขอเชิญร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย พันวฤทธิ์, 29 พฤศจิกายน 2007.

  1. hongsanart

    hongsanart เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    1,332
    ค่าพลัง:
    +10,468
    โอนเงินร่วมบุญ 1,000.00 บาท เมื่อเวลา 12.33 น.ค่ะ

    โมทนาบุญกับทุกๆท่านด้วยค่ะ

    .
     
  2. pon98

    pon98 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    632
    ค่าพลัง:
    +3,886
    วันนี้ได้จัดส่งพระปิยะบารมีพร้อมcdประวัติพระให้กับ
    คุณธิติ
    คุณaries 2947
    คุณactive
    คุณjirautes
    คุณเฮียปอ ตำมะลัง

    ส่วนท่านที่เหลือจะทยอยจัดส่งและแจ้งให้ทราบครับ

    โมทนาทุกๆท่าน
     
  3. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    910
    ค่าพลัง:
    +4,284
    ตัวอย่างหนังสืออิเล็คทรอนิคส์ (E-Book) ประวัติความเป็นมาและการดำเนินการจัดสร้างพระปิยบารมี ที่ใส่ไว้ในแผ่น cd ที่จัดส่งไปพร้อมกับพระปิยบารมีครับ

    [​IMG]


    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 พฤษภาคม 2009
  4. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    [​IMG]



    พระกับโทรศัพท์มือถือ


    ปุจฉา

    ผมขอเรียนถามว่า ศีลของพระมีอยู่ข้อหนึ่งที่ว่าห้ามรับเงินรับทองใช่ไหมครับ นั่นหมายความว่า พระจะมีเงินใช้ไม่ได้ใช่ไหมครับ เมื่อเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุใดพระจึงมีโทรศัพท์มือถือใช้ได้ล่ะครับ ในเมื่อโทรศัพท์มือถือจะต้องเสียค่าบริการรายเดือน การใช้โทรศัพท์มือถือจะผิดพระวินัยหรือเปล่าครับ หรือว่ายุคสมัยเปลี่ยนไปแล้ว จึงทำให้มีความจำเป็น ทำให้พระวินัยสามารถยืดหยุ่นได้ ขอบพระคุณครับที่กรุณาตอบปัญหา

    วิสัชนา

    ที่คุณพูดมานั่นแหละถูกเผงเลย แต่มันจะทำยังไงได้ละคุณ วิถีโลกมันเข้ามาครอบงำ ไม่เว้นแต่พระเจ้าพระสงฆ์ ที่จริงถ้าจะว่าไปแล้วในหลักของพระวินัยเขามีแบบธรรมเนียมในการบริโภคปัจจัยสี่ ว่าต้องมีเจ้าหน้าที่ไวยาวัจกรเป็นผู้จัดสรรจัดการรับใช้ตามประสงค์ของภิกษุ ซึ่งก็ต้องอยู่ในหลักสมณสารูป แต่เดี๋ยวนี้ไวยาวัจกรดูจะไม่ค่อยมีบทบาท เรื่องก็เลยต้องลงเอยอย่างที่คุณเห็นนั่นแหละ แต่ถ้าจะถามว่าพระสงฆ์ที่มีชีวิตฟุ้งเฟ้อผิดไหม ตอบได้ทันทีว่า ผิดหลักของผู้สละโลก ผู้สันโดษ


    คัดลอกมาจาก...หนังสือพิมพ์ธรรมลีลา
     
  5. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    [​IMG]

    [ภาพจิตรกรรมพุทธศิลป์ “ศีล สมาธิ ปัญญา”
    : สร้างสรรค์โดย อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์]



    วั ด กั บ ท า ง ม า วั ด
    พระโพธิญาณเถร (หลวงพ่อชา สุภัทโท)
    วัดหนองป่าพง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี


    ศีลก็ดี สมาธิก็ดี ปัญญาก็ดี
    ทั้งสามประการนี้ท่านเรียกว่า “มรรค”


    มรรคนี้ยังมิใช่ศาสนา
    อีกทั้งยังมิใช่สิ่งที่พระศาสดาทรงต้องการอย่างแท้จริงเลย
    แต่ก็เป็นหนทางที่จะดำเนินเข้าไป


    เหมือนกับท่านมหามาจากกรุงเทพฯ
    จะมาวัดหนองป่าพง
    ท่านมหาคงไม่ต้องการหนทาง
    ต้องการถึงวัดต่างหาก


    แต่หนทางก็จำเป็นสำหรับท่านมหาที่จะต้องมา
    ฉะนั้นถนนที่ท่านมหาก็ไม่ใช่วัด
    มันเป็นเพียงถนนมาวัดเท่านั้น
    แต่จำเป็นต้องมาตามถนนจึงจะถึงวัดได้


    ศีล สมาธิ ปัญญา
    คือถนนที่จะเข้าไปถึงความสงบ
    ซึ่งเป็นจุดที่ต้องการ


     
  6. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    [​IMG]
    [ภาพจากภาพยนตร์เรื่อง "The Way Home"]

    ส อ น เ ด็ ก
    พระโพธิญาณเถร (หลวงพ่อชา สุภัทโท)
    วัดหนองป่าพง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี

    ฉะนั้นการปฏิบัตินี้จึงว่านั่ง นั่นแหละปฏิบัตินั่ง
    ดูไปมันมีอารมณ์ดี อารมณ์ชั่ว
    สลับซับซ้อนกันไปเป็นธรรมดาของมัน

    อย่าไปสรรเสริญจิตของเราอย่างเดียว
    อย่าไปให้โทษมันอย่างเดียว


    ให้รู้จักกาล รู้จักเวลามัน

    เมื่อถึงคราวสรรเสริญก็สรรเสริญมันหน่อย
    สรรเสริญให้พอดีอย่าให้หลง

    เหมือนกับสอนเด็กนั่นแหละ

    บางทีก็เฆี่ยนมันบ้าง
    เอาไม้เรียวเล็กๆ เฆี่ยนมัน ไม่เฆี่ยนไม่ได้
    อันนี้บางทีก็ให้โทษมันบ้าง

    อย่าให้โทษมันเรื่อยไป

    ให้โทษมันเรื่อยไป
    มันก็ออกจากทางเท่านั้นแหละ

    ถ้าให้สุขมัน ให้คุณมันเรื่อยๆ มันไปไม่ได้


    ลานธรรมจักร • แสดงกระทู้ - ส อ น เ ด็ ก : หลวงพ่อชา สุภัทโท
     
  7. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    ...คำบริกรรมเป็นเพียงเปลือกนอก...(หลวงพ่อทูล ขิปปัญโญ)


    [​IMG]


    หากต้องการภาพขนาดใหญ่ เพื่อทำ Wallpaper
    Download Wallpaper Link...

    (กดปุ่มเมาส์ด้านขวา เลือก Save Target As)


    ลานธรรมจักร • แสดงกระทู้ - ...คำบริกรรมเป็นเพียงเปลือกนอก...(หลวงพ่อทูล ขิปปัญโญ)
     
  8. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097

    ขอบคุณมากครับสำหรับการทำบุญผ่านทุนนิธิฯ แล้วรอรับพระที่แจกให้ด้วยคิดว่าเร็วๆ นี้ล่ะคุณโสระคงจัดส่งให้..


    [​IMG]
     
  9. benyapa

    benyapa ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    1,088
    ค่าพลัง:
    +5,431
    ได้มีโอกาสพาแม่ไปทำบุญที่รพ. สงฆ์ค่ะ จัดของใช้จำเป็นเป็นชุด ๆ ประมาณสบู่ ยาสีฟัน แปรงสีฟัน มีดโกนหนวด นมกล่อง กระดาษชิชชู่ ยาหม่องน้ำ ฯลฯ ( แหะ แหะ ชอบถวายยาหม่องน้ำค่ะ เพราะโดยส่วนตัวชอบมาก ปวดหัว แมลงกัดต่อย ขวดเดียวสารพัดประโยชน์เลยค่ะ) จัดใส่ถุงซิบล็อก ไปได้ประมาณ 18 ชุดค่ะ นำไปถวายพร้อมแม่ ตอนที่พระให้พรพร้อมกันประมาณ 8-9 รูป แม่ซาบซึ้งใจมากค่ะ บอกว่าเกิดปิติน้ำตาแทบไหล บอกว่าครั้งนี้ครั้งแรกที่มาทำบุญแบบนี้ คราวหน้าอยากมาอีกค่ะ ไว้ถ้ามีโอกาสจะจัดเวลาให้ตรงกับพี่เสือนะคะ

    ขออนุโมทนากับทุก ๆ ท่านด้วยนะคะ

    กราบสวัสดีพี่ใหญ่ด้วยค่ะ _/\_
     
  10. kratium

    kratium เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มกราคม 2007
    โพสต์:
    484
    ค่าพลัง:
    +3,670
    เมื่อ 2 วันก่อนได้รับพระปิยบารมี และ cdจากคุณสติ ขอขอบพระคุณ คณะกรรมการทุนนิธิฯทุกท่านค่ะ เป็นกำลังใจที่ดี และเกินคาดมากๆ (เพราะไม่ได้หวังว่าจะต้องได้รับอะไร)
    พึ่งอ่านประวัติในการจัดสร้างองค์พระไปได้ไม่กี่หน้า ก็ทราบได้ถึงความตั้งใจ ทุ่มเท ให้กับงานบุญกุศลของแต่ละท่าน ขออานิสงส์บุญที่คณะกรรมการทุนนิธิฯได้สร้างนี้ ส่งผลให้ทุกท่านสมปรารถนาค่ะ อนุโมทนาสาธุ ค่ะ
     
  11. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยของพระธาตุ

    [​IMG]

    ผมเคยได้ยินเรื่องที่ผู้ใหญ่ในวงการพระท่านหนึ่ง
    ไปกราบหลวงปู่ผาง จิตฺตคุตฺโต วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    โดยได้ห้อยอัฐิธาตุของหลวงปู่ฝั้น อาจาโรไปด้วย
    ระหว่างสนทนาหลวงปู่ผางได้ชี้ไปที่คอของผู้ใหญ่ท่านนี้แล้วพูดว่า

    อย่างนี้ดาบ2คม

    ผู้ใหญ่ท่านนี้ไม่ได้ห้อยอัฐิหลวงปู่ฝั้นออกมาโชว์นอกเสื้อและไม่ได้
    บอกหลวงปู่ผางด้วยว่าห้อยอัฐธาตุหลวงปู่ฝั้นมา
    นี้จึงเป็นความอัศจรรย์อย่างหนึ่งในอำนาจจิตของหลวงปู่ผาง
    และเป็นความรู้ประดับตัวว่า
    ไม่ควรนำอัฐิธาตุครูบาอาจารย์มาห้อย

    ผมเคยได้ยินคนเล่าว่า
    เขาได้พระธาตุพระสิวลีมาจากถ้ำแห่งหนึ่ง
    ด้วยความที่ไม่ค่อยเชื่อจึงได้นำพระธาตุนั้นใสถุงผ้า
    แล้วนำไปลองยิง ผลคือยิงโดนถุงเต็มๆ
    ถุงกระเด็นไป แต่ถุงไม่ขาด
    และแล้ววันนั้นเอง ก็บังเอิญไปมีเรื่องกับนักเลงคนหนึ่งโดยไม่ตั้งใจ
    จึงโดนอัดมาซะน่วม

    และอีกครั้งที่ทราบว่าวัดแห่งหนึ่งนำอัฐิและอังคารหลวงปู่เทศก์ และหลวงปู่ชอบนำไปตำเพื่อทำพระ
    ปรากฎว่าไฟลุกท่วมครก
    แปลกดีเหมือนกัน
    เรื่องทั้งหมดเป็นเพียงเรื่องที่เขาเล่าให้ฟังครับ
    แต่เรื่องเหล่านี้นำมาซึ่งข้อคิดที่เหมือนๆกัน
    และผมขอนำเรื่องเล่าเกี่ยวกับพระธาตุที่อ.นกได้เล่าไว้มาลงต่อท้ายดังนี้<!--colorc-->
    <!--/colorc-->

    <!--coloro:#000080--><!--/coloro-->หลวงปู่อ่อนสา สุขกาโร พูดถึงพระธาตุ

    เมื่อครั้งสร้างพระกริ่งรุ่นแรก มีพระชำรุดมาด้วยกันประมาณ 10 องค์
    ที่ชำรุด คือ ฐานพระไม่เรียบร้อย ไม่สามารถปิดฝาก้นได้ หรือ เอียงตั้งไม่ตรง
    หลังช่างนำมาส่ง และ หลวงปู่เมตตาให้แล้ว ก็วางไว้ที่ตู้หลังเคาว์เตอร์ร้านตั้งยิ้นกี่
    ไม่มีคนสนใจเท่าใดนัก ผมได้ขอมาสองสามองค์ กะว่า จะเอาเกสา เล็บ
    คำหมากและพระธาตุของพ่อแม่ครูจารย์ที่ได้มาอุดก้น แล้วค่อยนำไปให้ช่างเงิน เอาแผ่นเงินปิดก้นอีกที่หนึ่ง

    ได้กราบเรียนถามหลวงปู่ว่า จะเอาวัตถุมงคลดังกล่าวมาอุดที่ก้นพระกริ่งชำรุดเหล่านี้
    หลวงปู่เห็นสมควรหรือไม่?

    หลวงปู่ตอบว่า พระธาตุเป็นของศักดิ์สิทธิ์ ไม่สมควรนำมาแขวนหรือพกติดตัว เพราะเราก็ไม่ได้
    มั่นใจเสมอว่า พกพาท่านไปในที่อับโคจรเมื่อใด ซึงเป็นการไม่สมควรยิ่งนัก องค์ที่อุดพระธาตุ ก็ให้
    เอาเก็บไว้ที่บ้านซะ อยู่ที่ไหน ท่านก็คุ้มครองได้หรอก ไม่จำเป็นต้องแขวนคอ เอาไว้รักษาบ้าน
    รักษาเรือนจะดีกว่า

    ให้เอาองค์ที่บรรจุคำหมากและเกศา มาใช้แทน จะได้ไม่เป็นบาปที่ไปล่วงเกินพระธาตุนะ


    ท่านสอนไว้อย่างนี้ และ นำมาเล่าสู่ นักสร้างพระเครื่องทั้งหลาย พอได้เป็นเครื่องเตือนสติ
    จะได้ไม่ล่วงเกินพ่อแม่ครูจารย์โดยไม่ได้ตั้งใจ

     
  12. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    คืนวันศุกร์ต่อวันเสาร์มีพระขล้ังสำหรับพวกชอบความขลังมาแนะนำเป็นประจำเช่นเคยครับ


    <table class="ipbtable" cellspacing="0"><tbody><tr><td class="row2" valign="middle" width="99%">
    </td> </tr> <tr> <td class="post2" valign="top">
    </td> <td class="post2" id="post-main-6849" valign="top" width="100%"> <!-- THE POST 6849 --> หลวงพ่อสืบเป็นเกจิอีกท่านที่ผมเคยไปกราบ เป็นพระที่มีความเป็นอยู่แบบง่ายๆ
    คุยสนุก ท่านได้สร้างตะกรุดขึ้นมาหลายอย่างครับ มีประสบการณ์พอสมควรในพื้นที่
    จริงๆแล้วเท่าที่ได้สนทนากับหลวงพ่อ ท่านไม่นิยมยินดีที่มีคนเอาตะกรุดของท่านไปลองท่านว่าใอ้พวกนี้มันพิเรน ขี่รถซิ่งก็มี ตำรวจจับและถามว่าไม่กลัวตายเหรอ มันดั๊นไปตอบเค้าว่า ไม่กลัวมีตะกรุดหลวงพ่อ ท่านว่าจบก็แถมด่าทิ้งท้าย


    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    ตะกรุดที่ผมพกติดตัวอยู่ครับ เดิมๆจากวัด

    [​IMG]

    หลวงพ่อเมตตาจารแผ่นทองแดงให้ เพื่อนำไปเป็นฉนวนหล่อพระ ( แต่ยังไม่ได้สร้าง) จารยันต์หัวใจราชสีห์ครับ

    [​IMG]

    และท่านก็ปลุกเสกอีกรอบ พร้อมๆกับตะกรุดที่เช่าบูชามา ท่านว่ามีอย่างเดียวที่ไม่อยากเสก
    นั้นก็คือ หนังเสือ ท่านว่าเด๋วนี้เอาหนังเสืออะไรมาก็ไม่รู้ ครูบาอาจารย์สอนว่าต้องเป็นหนังเสือโคร่งเท่านั้น
    บางที่เจอหนังเสือไฟ ท่านว่ามันใช้ไม่ได้ และอีกอย่างต้องเสก 108 ตัว ตัวละ 108 จบ จึงจะขลัง
    คิดดูแล้วกันว่าจะกี่จบ

    [​IMG]

    ใครที่ยังไม่เคยสัมผัสท่าน ลองไปกราบท่านดูนะครับ ใจดีและเมตตามาก เข้าพบง่ายไม่มีใครกัน นอกจากเวลาท่านฉันเพลและจำวัดตอนบ่ายๆนั้นแหละครับ ส่วนใหญ่ท่านว่าไม่ได้นอนหรอก จารของซะมากกว่า วันๆนึงทำได้ไม่เยอะครับ

    รู้จักของขลังท่านแล้วทีนี้มารู้จักประวัติของท่านกันครับ



    </td></tr></tbody></table>หลวงพ่อสืบ เกิดที่บ้านตลาดบน ต.ท่ากระจับ อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 23 กุมภาพันธ์ 2475 ในครอบครัวเกษตรกรรม บิดาชื่อ นายชาญ มารดาชื่อ นางเพียร สกุล "ยอดยง" เข้าเรียนชั้นประถมที่โรงเรียนวัดไทร จนจบชั้นประถมจึงเข้าเรียนต่อที่โรงเรียนเพิ่มวิทยา วัดกลางบางแก้ว เมือปีพ.ศ. 2492 จบชั้นมัธยมแล้วจึงสอบเข้าโรงเรียนพลตำรวจ จบการศึกษาจากโรงเรียนพลตำรวจำด้รับการเข้าบรรจุเป็นข้าราชการตำรวจ ณ สถานีตำรวจลุมพินี กรุงเทพฯ รับราชการตำรวจอยู่ได้ 3 ปี เกิดความเบื่อหน่ายในชีวิตฆราวาส จึงตัดสินใจลาออกเพื่ออุปสมบท เมื่อปีพ.ศ. 2497 ณ วัดท่าใน ต. ท่าพญา อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม โดยมี พระครูสิริวุฒาจารย์ (ห่วง สุวัณโณ ) วัดท่าใน เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์ ปิ่น วัดศรีษะทอง เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระอธิการ ม้วน วัดไทร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้ฉายา " ทานรโต " หลังจากอุปสมบทแล้วจำพรรษาอยู่ที่วัดท่าในศึกษาธรรมและปฏิบัติรับใช้ " หลวงพ่อห่วง วัดท่าใน "

    หลวงพ่อห่วง องค์นี้เป็นเกจิอาจารย์ที่มีวิชาแก่กล้ามากเป็นที่ศรัทธาเลื่อมใสของชาวบ้าน เป็นสหธรรมกับ หลวงพ่อ เงิน วัดดอนยายหอม และ หลวงพ่อ น้อย วัดธรรมศาลา แม้แต่หลวงพ่อเงินเองก็ยังกล่าวยกย่องในความสามารถของหลวงพ่อห่วง ชาวบ้านแถวๆ ต.ท่าพญา นครชัยศรี เมื่อเดินทางไปขอวัตถุมงคลกับหลวงพ่อเงินมักจะออกปากว่า "คุณเลยของดีมาเสียแล้วหลวงพ่อห่วง วัดท่าใน นั่นแหละของดี ของจริง ไปเอาที่นั่นเถอะโยม "
    หลวงพ่อสืบ ปฏิบัติรับใช้หลวงพ่อห่วง วัดท่าใน ได้ 1 ปี ได้เรียนวิชาก้าวหน้าพอสมควร จิตใจเกิดรุ่มร้อน อยากจะลองวิชาที่รียนมาว่าเป็นอย่างไรกันแน่ อยู่ไม่ได้จึงตัดสินใจลาสิกขา นึกถึงคำพูดของเพื่อนว่า " เป็นลูกผู้ชายต้องเป็นทหารกล้า " จากนั้นบ่ายหน้าไปสอบเข้าเรียนโรงเรียนนายสิบทหารม้ายานเกราะรุ่น 5 รุ่นเดียวกับ พ.ท.ทองสุข เก่งศิริ,พ.อ.นคร ธีระเนตร, พ.อ. ประสาน รักปทุม จบจากโรงเรียนทหารม้ายานเกราะ ได้รับยศสิบโท ไปสังกัดกองพันทหารม้ายานเกราะสระบุรี ใช้ชีวิตลูกผู้ชายคุ้มค่าโลดโผนโจนทยาน เข้าออกคุกทหารเป็นประจำจนเบื่อหน่ายเต็มที่หันหน้ากลับท้องทุ่งท่าพญา นครชัยศรีไปพบหลวงพ่อม้วนซึ่งสมัยบวชครั้งแรกเป็นคู่สวด ขณะนั้นเป็น" พระครูอินทรสิริชัย " ระบายความในใจว่าชีวิตฆราวาสมีแต่ทุกข์สับสนวุ่นวายกิเลสตัญหามากมาย แก่งแย่งชิงดีมีแต่อิจฉาริษยา ได้ไปทดลองท่องดินแดนฆราวาสมานานหลายปี รับรู้รสชาติหมดทุกอย่างมิใช่หนทางแห่งการสิ้นทุกข์ มีแต่ทุกข์เพิ่มขึ้นเหมือนอยู่ในวังวนแห่งกิเลส ปรึกษากับ " หลวงพ่อม้วน " แล้วจึงตัดสินใจออกบวชอีกครั้ง ครั้งนี้จะใช้ชีวิตบรรพชิตจนชีวิตจะหาไม่
    จึง อุปสมบทในปี พ.ศ. 2514 โดยมี พระครูอินทสิริชัย ( ม้วน อินทสุวัณโณ ) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอธิการ ง้อ ปัญญาธโร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้รับฉายาว่า " ปริมุตโต " จำพรรษาอยู่วัดไทร ตั้งใจศึกษาเล่าเรียนพระธรรมจนแตกฉาน สามารถสอบนักธรรมตรี-โท-เอก ได้โดยลำดับในปี พ.ศ. 2518 แล้วหันมาสนใจเวทวิทยาคม ระลึกถึงภูมิเก่าวิชาที่ได้รับมาจากหลวงพ่ดห่วง วัดท่าใน ทบทวนจนแม่นยำและศึกษาเพิ่มเติมจาก " หลวงพ่อม้วน "

    "หลวงพ่อม้วน" วัดไทร องค์นี้เป็นศิษย์พุทธคมของพระครูอุตรการบดีหรือหลวงพ่อสุข วัดห้วยจรเข้ ซึ่งได้รับการถ่ายทอดวิชามาจาก "หลวงปู่ นาค วัดห้วยจรเข้" ผู้สร้างพระปิดตาเนื้อเมฆพัด ได้ขลังโด่งดัง เป็นพระปิดตาอันดับหนึ่งของเมืองไทย หลวงพ่อม้วนเป็นศิษยืเอกของหลวงพ่อสุข หนึ่งในสาม อีกสององค์คือหลวงพ่อเต้า วัดเกาะวังไทร และหลวงพ่อแช่ม วัดดอนยายหอม หลวงพ่อม้น วัดไทร องค์นี้ขลัง ดังเงียบ วัตถุมงคลของท่านสร้างน้อย แจกยาก เลือกคนแจกไม่ได้ให้ง่ายๆ จึงไม่แพร่หลายแต่เหนียวเหลือเกิน
    " หลวงพ่อสืบ " ได้ศึกษาวิชามาจากหลวงพ่อม้วนอีกทางหนึ่ง เมื่อมารวมกับหลวงพ่อห่วง วัดท่าใน แล้วก็มีวิชามามากพอตัว จัดว่าท่านเป็นศิษย์สืบสายวิชามาจาก "หลวงปู่นาค วัดห้วยจรเข้" สหธรรมกับ "หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว" อัธยาศัยของหลวงพ่อสืบเป็นคนมีจิตใจนักเลงติดตัวมาตั้งแต่ครั้งเป็นฆราวาส จึงมีจิตใจแน่วแน่เด็ดเดี่ยว พูดอย่างไรทำอย่างนั้น ผู้ที่มีจิตใจเช่นนี้ จึงทำของได้ขลังเพราะมีจิตกล้าแข็งเป็นหนึ่งเดียว ทำให้มีพลังเกิดขึ้นได้ แต่ก็ซ่อนเร้นเหมือน "เสือซ่อนเล็บ"หรือ "สิงห์สิงถ้ำ" ไม่เคยทำวัตถุมงคลใดๆให้ใครทั้งสิ้น
    พรรษานี้"หลวงพ่อสืบ" ท่านนึกขลังขึ้นมาอยากให้ชาวบ้านมาร่วมทำบูญพัฒนาวัดท่านจึงตัดสินใจสร้าง "ตะกรุดนวหรคุณ เกื้อหนุนชีวิต" ร้อยด้วยไหม" เบญจพรรณ "จารด้วยมือ ซุ่มสร้างซุ่มทำอยู่ตลอดพรรษาได้ตะกรุดชั้นเยี่ยมมากมายหลายดอก จนเป็นข่าวดังเกรียวกราวในหน้าหนังสือพิมพ์ที่ท่านได้เห็นมาไม่นานนี้


    ข้อมูลจากหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ขอบคุณครับ

    ขอขอบคุณเป็นพิเศษสำหรับ
     
  13. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097


    [​IMG]

    แมวตาเพชร

    จากหนังสือคนพ้นโลก เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๒๓ โดยกองบรรณาธิการ

    แมวตาเพชรนี้ได้มีนิตยสารและหนังสือพิมพ์ลงข่าวกันครึกโครมมาแล้วตามที่ผู้อ่านทั้งหลายย่อมทราบดี ความจริงเรื่องแมวตาเพชรตัวนี้ผมเคยเห็นเคยรู้มาก่อนแล้วแต่ที่ไม่ได้เขียนไม่ได้ลงในคนพ้นโลกก็เพราะในขณะนั้นเห็นว่าเป็นเรื่องของแมวธรรมดาๆไม่มีอะไรที่เป็นสาระสำคัญที่จะพึงลงในนิตยสารคนพ้นโลกผมจึงเฉยเสีย

    แต่ ขณะนี้เรื่องราวของแมวตาเพชรตัวนี้ไม่ใช่เรื่องธรรมดาตามที่ผมเข้าใจเสีย แล้ว เป็นเรื่องที่เกี่ยวกบพระพุทธศาสนา ผมจึงนำเอามาลงเสนอให้ท่านผู้อ่านได้ศึกษาและได้พิจารณากัน ได้รู้ไว้เพื่อรู้เพื่อเติมความรู้ของท่านจากที่เคยรู้มาแล้ว เรื่องที่เป็นเหตุจูงใจให้ผมต้องเขียนมีอยู่ว่า

    วันหนึ่งผมได้เดิน ทางไปวัดสร้อยทองกับคุณดำรงค์ ภู่ระย้าเพื่อไปรับพระพุทธรูปจากหลวงพ่อพระครูปัญญาโสภิต เพื่อนนำมาแจกจ่ายให้กับวัดหรือโรงเรียนที่ขาดแคลนพระเพื่อสักการบูชา พอผมไปถึงผมก็ปรารภกับหลวงพ่อถึงแมวตาเพชรว่า ความจริงผมได้มาพบก่อนตั้งเกือบสองปีแล้วแต่เห็นว่าเป็นเรื่องธรรมดาไม่ เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาจึงไม่ลง หลวงพ่อก็บอกว่าขณะนี้ก็ลงได้เท่าที่เขาลงกันไปแล้วนั้นเป็นเรื่องธรรมดา แต่แมวตาเพชรตัวนี้ไม่ใช่ธรรมดา เพราะเป็นแมวที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ถ้าเป็นหนังสือคนพ้นโลกแล้วอาตมาเห็นว่าสมกับที่จะลง ผมจึงเรียนถามท่านว่าเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาอย่างไร

    หลวงพ่อพระ ครูปัญญาโสภิตท่านได้ตอบว่า แมวตาเพชรตัวนี้เท่าที่อาตมาสังเกตและศึกษาดูลักษณะและคุณสมบัติบางประการ ของเขาแล้ว อาตมาอยากจะเข้าใจว่าแมวตาเพชรตัวนี้เป็น พระโพธิสัตว์ มาเกิดเสวยชาติเป็นแมว

    พอผมได้ฟังหลวงพ่อพระครูปัญญาโสภิตท่านกล่าวดังนั้นทำให้ผมย้อนคิดถึงการบำเพ็ญพระบารมีของพระโพธิสัตว์ตามที่ผมเข้าใจว่าบรรดาพระโพธิสัตว์และพระบรมโพธิสัตว์ทั้งหลายทีบำเพ็ญบารมีจนกว่าจะได้สำเร็จสัมมาสัมโพธิญาณตรัสรู้เป็นพระสัพพัญญูสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น จะต้องเวียนเกิดเวียนตายชาติแล้วชาติเล่าจนนับไม่ถ้วน และจะต้องเป็นผู้ที่ได้เคยทดลองลิ้มรสความทุกข์ ความทรมานร้อยแปดพันเก้าบางครั้งต้องตกนรกหมกไหม้ รวมความว่าจะต้องเกิดเป็นสัตว์ เปรต อสุรกาย มนุษย์ เทพ พรหม ทั้ง ชั้นต่ำ กลาง สูง ทุกระดับ เพื่อรู้สภาพตามความเป็นจริงทุกอย่างจึงจะเป็นพระสัพพัญญูได้ และเมื่อประมาณสิบกว่าปีมานี้ถ้าผมจำไม่ผิด ผมเคยได้ยินว่าที่วัดมหาธาตุ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพฯ ได้นำเอาเรื่องพระโพธิสัตว์มาเกิดเสวยพระชาติเป็นช้างในประเทศไทยมาเล่าให้ พุทธศาสนิกชนที่ไปฟังธรรมได้ฟังกัน ทั้งในประวัติสมเด็จพระพุฒา จารย์โต วัดระฆัง ที่มีชื่อเสียงระบือไปทั่วประเทศกล่าวไว้ว่า ท่านสมเด็จฯจะไม่เดินข้ามสุนัขเป็นอันขาด เพราะท่านมีเหตุผลว่า เราจะรู้ได้อย่างไรว่าสุนัขตัวที่เราข้ามจะไม่ใช่พระโพธิสัตว์มาเกิดเสวยพระ ชาติเป็นสุนัข และถ้าเป็นจริงเข้าเรามิบาปแย่หรือ

    ด้วยเหตุผลดังกล่าว การที่หลวงพ่อพระครูปัญญาโสภิตกล่าวจึงน่าจะเป็นความจริงขึ้นมาได้ และเท่าที่เคยได้รู้ได้ฟังมาเมื่อ พระโพธิสัตว์ได้มาเกิดเสวยพระชาติเป็นสัตว์ต่างๆ สัตว์ที่เป็นพระโพธิสัตว์มาเสวยพระชาตินั้นจะมีลักษณะพิเศษกว่าบรรดาสัตว์ อื่นๆ ดั่งเช่นช้างข้างต้นนั้นท่านเป็นพญาช้างที่เป็นหัวหน้าโขลงปกครองลูกน้อง อย่างมีระเบียบไม่ให้ประพฤติปฏิบัติเยี่ยงสัตว์ธรรมดาทั่วไป

    แมวตาเพชรของวัดสร้อยทองนี้ก็เช่นกัน เขามีคุณลักษณะพิเศษหลายอย่างเช่น

    ๑. ขนที่คอด้านหน้าด่างขาวเหมือนหมีควาย
    ๒. น่าอกมีลักษณะเหมือนค้างคาว
    ๓. ที่ข้อเท้าทั้งสี่ข้างด่าง (สีขาวเหมือนสวมถุงเท้า)
    ๔. ปากด่าง (เรียกว่าปากคาบแก้ว)
    ๕. เวลาเดินองอาจเหมือนเสือ
    ๖. เวลาร้องเหมือนคนคุยกัน

    คุณสมบัติพิเศษ

    ๑. นอนเป็นเวลา ตื่นเป็นเวลา
    ๒. เคร่งครัดในทางพระวินัย ที่ว่าเคร่งครัดในทางพระวินัยนั้นเข้าใจว่าแมวตาเพชรตัวนี้คงเคยบวชมาแล้วในอเนกชาติ
    จึง รู้พระวินัยดี เพราะพระพุทธเจ้าทรงบัญญัติห้ามมิให้พระภิกษุฉันเนื้อดิบต้องปรุงให้สุกก่อน แมวตาเพชรตัวนี้ก็เช่นเดียวกันจะกินเฉพาะปลาที่ทอดหรือปิ้งจนสุกกรอบเสีย ก่อนจึงจะยอมกิน
    ๓. ชอบผ้าเหลือง เวลานั่งเวลานอนจะต้องนอน-นั่งบนผ้าเหลือง และชอบนอนบนเตียง
    ๔. ไม่ชอบอยู่บ้าน ถ้าเอาไปไว้บ้านจะไม่ยอมกินข้าว เคยเอาไปไว้บ้านสามวัน แมวตาเพชรตัวนี้จะไม่ยอมกินข้าวเลยทั้งสามวัน

    ครั้งหนึ่งท่านพระครูปัญญาโสภิตพูดปรารภกับพระสำราญว่าจะเอาแมวตาเพชรตัวนี้ไปถวายสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว พอแมวตาเพชรได้ยินดังนั้นก็แสดงอาการเศร้าโศกและไม่ยอมกินข้าวจนพระครูปัญญา โสภิต ท่านสังเกตเห็นและพูดกับแมวตาเพชรว่า ไม่เอาไปถวายพระเจ้าอยู่หัวแล้วล่ะ นั่นแหละจึงเห็นกิริยาอาการของแมวตาเพชรสดชื่นขึ้นทันทีและยอมกินข้าวตามเดิม

    หลวงพ่อพระครูปัญญาโสภิตท่านได้พูดเสริมต่อไปว่า เนื่องจากท่านได้เห็นคุณและลักษณะพิเศษของแมวตาเพชรตัวนี้จึงทำให้ท่านแน่ใจ ว่า แมวตาตัวนี้เป็นพระโพธิสัตว์มาเกิด แต่เพื่อจะให้แน่ใจอาตมาจึงบอกว่า ถ้าแมวตาเพชรตัวนี้เป็นพระโพธิสัตว์จริงก็ขอให้ช่วยในการสร้างพระอุโบสถวัด ถ้าม้าร้องให้สำเร็จด้วย หลังจากนั้นท่านจึงอัดรูปแมวตาเพชรไว้สมนาคุณผู้ที่มีศรัทธาไปเป็นที่ระลึก ก็ปรากฏว่ามีคนเอารูปแมวตาเพชรไปไว้แล้วเกิดเป็นสิริมงคลทำมาค้าขายเจริญ รุ่งเรืองขึ้น จึงมีคนนิยมกันมากและได้เงินค่าจำหน่ายรูปแมวไปเป็นเงินค่ากระเบื้องมุงหลังคางวดแรกแล้วกว่า ๖๐,๐๐๐ บาท จึงพอที่จะเชื่อถือได้ว่าแมวตาเพชรตัวนี้น่าจะเป็นพระโพธิสัตว์ลงมาเกิดเสวยพระชาติเป็นแมว

    เมื่อหลวงพ่อพูดจบผมก็หันมาบอกคุณดำรงค์ ภู่ระย้าว่าคุณดำรงยังไม่เคยเห็นลองไปขอท่านสำรวจดูซิ ความประสงค์ก็เพื่อจะพิสูจน์อะไรบางอย่าง ซึ่งคุณดำรงค์ก็พอจะทราบความหมายดี ผมจึงนำเอาคำพูดของคุณดำรงค์มารายงานท่านผู้อ่านดังนี้

    ข้าพเจ้า(คุณดำรงค์)เดินขึ้นไปยังห้องของพระสำราญผู้เป็นเจ้าของแมว เมื่อไปถึงพระสำราญได้ต้อนรับด้วยอัธยาศัยไมตรียิ่ง ข้าพเจ้าจึงแจ้งเจตนาที่มาหาท่าน ท่านก็ใจดีเดินเข้าไปอุ้มแมวตาเพชรมาให้ชม ข้าพเจ้าดูพร้อมทั้งพิจารณาไปด้วย ขณะที่ท่านอุ้มแมวอยู่ ข้าพเจ้ากำหนดจิตอธิษฐานว่า ถ้าแมวตัวนี้เป็นแมวตาเพชรและเป็นแมวพระโพธิสัตว์แล้วข้าพเจ้าจะยื่นมือออก ไปขอให้แมวยื่นมือออกมารับมือของข้าพเจ้าด้วย เกินความคาดหมาย แมวนั้นยื่นมือ(เท้าซ้าย)ออกมาให้ข้าพเจ้า เท่านี้ก็เป็นพอแล้วในความรู้สึกของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจึงกราบเรียนพระสำราญว่าขอให้ท่านปล่อยแมวเดิน นั่ง นอน ให้ดูหน่อยเถิดครับ ท่านพระสำราญจึงวางแมวไปที่พื้น ทุกกิริยาของแมวข้าพเจ้าได้ใช้สายตาบันทึกแทนกล้อง เพราะขณะนั้นข้าพเจ้าไม่ได้นำกล้องติดตัวไปด้วย กิริยาอาการของแมวตาเพชรนี้ท่าทางเดินสวยงามคล้ายๆกับเสือ การนอนก็ไม่คุดคู้เหมือนแมวอื่นๆ นอนคล้ายเสือระวังภัย

    ท่านผู้อ่านคงได้อ่านความคิดเห็นของหลวงพ่อพระครูปัญญาโสภิตและคุณดำรง ภู่ระย้าแล้วว่า แมวตาเพชรตัวนี้น่าจะเป็นพระโพธิสัตว์มาเกิดเสวยพระชาติเป็นแมว แล้วท่านมีความคิดเห็นอย่างไร เมื่อท่านทราบความน่าจะเป็นว่าเป็นแมวพระโพธิสัตว์แล้วท่านคงอยากจะทราบประ วัติแมวตัวนี้ว่ามีความเป็นมาอย่างไร ผมจะขอเล่าตามคำบอกเล่าของพระสำราญเจ้าของแมวดังนี้

    วันหนึ่งอาตมา(พระสำราญ)ได้ออกบิณฑบาตตอนกลับเข้ามาถึงวัดแล้ว อาตมาจึงรู้ตัวว่ามีแมวตัวเมียตาม แมวตัวนี้(เป็นแม่ของ เอียง แมวตาเพชร) อาตมาก็ไม่ทราบว่าตามมาจากไหน จำได้ว่าประมาณ พ.ศ.๒๕๑๘ – ๒๕๑๙ อาตมาก็ไม่ได้สังเกตนะ เลี้ยงมาเรื่อยสงสารมันเลี้ยงมาได้ ๒ ปี ตอนนั้นไม่คิดอยากจะเลี้ยงมันหรอกเพราะเป็นภาระ อาตมาจะต้องไปต่างจังหวัดด้วยขณะนั้น พออยู่ๆ ก็ตกลงใจว่า เอ๊า.......เลี้ยงก็เลี้ยง ต่อมาก็มีคนเอารูปภาพโปสเตอร์ใหญ่ๆเป็นรูปแมวมาขายอาตมาก็ซื้อไว้ นานเข้าอาตมาก็ได้พูดกับแมวตัวเมียที่เป็นแม่แมวเอียงว่า เหมียวอยู่มาตั้งนานแล้วไม่เห็นมีลูกเลย ขอลูกสักตัวซิเอาสวยๆนะ

    อาตมา ก็พูดอย่างนั้นเองก็ไม่คิดว่าเรื่องจะมาเป็นข่าวอย่างนี้ พอ ๖ เดือนให้หลังแมวที่อาตมาเลี้ยงไว้ก็ตั้งท้อง แต่ไม่เห็นมีแมวที่ไหนมาติดพันอาตมาก็ไม่ได้สนใจ พอมาในเดือนกันยายนจะเป็นวันที่ ๒๓ – ๒๔ พ.ศ. ๒๕๒๐ นี่แหละเพราะขณะนั้นเป็นงานวัดสร้อยทองเป็นงานประจำปี อาตมานั่งอยู่ในกุฏิได้ยินเสียงคล้ายๆกับคนเคาะประตู ๓ ครั้ง ก็ถามว่า ใคร ๆ ก็ไม่มีเสียงตอบ จึงเดินไปเปิดประตู พอเปิดประตูเจ้าเหมียวก็วิ่งเข้ามากระโดดขึ้นบนโต๊ะแล้วตกลูกออกมาเพียงตัว เดียวเป็นลูกโทน

    อาตมาก็เลี้ยงมาเรื่อยๆหลายเดือน ให้ชื่อว่าเอียง ตอนเล็กๆแมวเอียงน่ารักมาก ตาของเอียงลืมตาแต่ไม่เห็นดวงตาเพราะมีเยื่อสีขาวบางๆปิดอยู่ บางคนเห็นก็บอกว่าเลี้ยงทำไมแมวตาบอด อาตมาก็บอกว่า เออ.....เลี้ยงไว้อย่างนั้นแหละสงสารมัน ตั้งแต่แมวเอียงนี้เกิดทุกคนที่มาเห็นได้รับโชคลาภกันบ่อยๆ พออยู่ต่อมาได้ ๙ – ๑๐ เดือนเยื่อตาของแมวเอียงก็แตกออก มีสีเขียงเรืองทั้งสองข้างแต่ตอนนั้นอาตมาก็ไม่ให้ใครรู้นะ ลูกศิษย์ก็ไม่รู้

    อาตมาเองก็แปลกใจเหมือนกันว่า เอ........มองดูตาของเจ้าเอียงทำไมคล้ายๆกับมีดวงไฟอยู่ในตาของแมว แต่ก็เลี้ยงมาเรื่อยๆ
    วันหนึ่งอาตมาไปธุระที่อยุธยาพอกลับมาก็พบว่าเจ้าเหมียวแม่ของเอียงนอนอยู่ในสนามหญ้าขนหลุดกระจุยลูกนัยน์ตาหายไปทั้งสองข้าง อาตมาก็อุ้มขึ้นไปกุฏิเพราะยังไม่ตาย ให้กินข้าวกินน้ำ เจ้าเหมียวก็ลงมาตายที่เก่าอาตมาจึงเดินไปหาเสียมเพื่อขุดหลุมฝังแต่พอกลับมาก็ไม่เจอศพเจ้าเหมียวแล้วไม่รู้ว่าหายไปไหน เมื่อหาไม่พบก็กลับขึ้นกุฏิตอนนี้ก็เหลือแต่เอียงลูกของเจ้าเหมียว

    มีอยู่คราวหนึ่งอาตมาไปต่างจังหวัด จึงได้ให้กุญแจกับเด็กเพื่อหาข้าวทอดปลาทูให้เจ้าเอียงกิน เด็กมาให้ข้าวได้ ๒ วันเจ๊ศรีแม่ของเด็กมาวัดเห็นทอดปลาทูให้เอียงอยู่จึงบอกลูกว่าทำไมต้องทอดปลาทูให้สุกให้แมว กิน ดิบๆมันก็กินได้ ลูกก็บอกว่าแมวมันตาบอดนะแม่ แม่ก็บอกว่า เออ... ถึงตามันบอดมันก็หากินได้ ก็เอาให้กินแบบดิบ แมวเอียงก็ไม่กินเดินวนอยู่ ๓ รอบไม่ยอมกิน จนเจ๊ศรีต้องทอดปลาให้ใหม่จึงยอมกิน เจ๊ศรีพอเห็นตาของเจ้าเอียงก็ตกใจอุ้มเอาเจ้าเอียงไปเลย

    อาตมา กลับมาไม่เห็นแมวก็ตกใจเหมือนกันกลัวว่าจะตายเหมือนแม่ อาตมาก็ไปตามเอากลับคืนมาเพราะรู้จากลูกศิษย์ว่าเจ๊ศรีเอาไปเลี้ยงไว้ คนเก่าคนแก่เขาพูดกันว่าตาของเจ้าเอียงเป็นเพชรตาแมว อาตมาก็ไม่รู้หรอก ข้อที่น่าสังเกตคือแมวเอียงไม่มีพ่อหาแมวที่วัดหรือนอกวัดก็ไม่มีสีนี้อย่าง แมวเอียง และสาเหตุที่ได้ชื่อว่าเอียงเพราะ เมื่อตอนเอียงเล็กๆมีนัยน์ตาใหญ่ข้างเล็กข้าง เวลามองอะไรคอจะเอียงๆหน่อย จึงตั้งชื่อว่า เอียง

    หลังจากข่าวของเอียงเป็นแมวตาเพชรได้ลงหนังสือพิมพ์ลงข่าวไปแล้วก็มีชาวต่างประเทศมาดู มาพิสูจน์หลายชาติ แม้แต่นายแพทย์ก็ไปพิสูจน์ ต่างก็ลงความเห็นว่า ดวงตาของแมวเอียงเป็นเพชรแน่นอน ซึ่งก็เป็นเรื่องมหัศจรรย์อย่างหนึ่งเพราะเท่าที่ทราบมาแมวตาเพชรนี้เมื่อ ยังมีชีวิตอยู่จะแสดงลักษณะเป็นประกายแสดงความเป็นเพชรเท่านั้น ต้องรอจนแมวตายแล้วเอาไปฝังสักระยะหนึ่งก่อนตานั้นจึงจะเป็นเพชร แต่แมวเอียงตัวนี้ตาเป็นเพชรตั้งแต่ยังไม่ตาย และยิ่งน่าอัศจรรย์มากกว่านั้นคือ ตาเพชรของเอียงนี้จะเปลี่ยนสีได้ถึง ๔ สีด้วยกันคือ แดง , ม่วง , เหลือง , ฟ้า ซึ่งจะเปลี่ยนไปตามเหตุการณ์สิ่งแวดล้อมที่กำลังเป็นอยู่ เช่นถ้าเป็นสีแดง เจ้าของแมวและทางวัดจะต้องระวังเป็นพิเศษเพราะจะมีเหตุร้ายเกิดขึ้น

    ด้วยคุณลักษณะหลายอย่างของแมวเอียงเป็นพิเศษกว่าแมวตาเพชรธรรมดาจึงน่าจะพอพิจารณาได้กระมังว่าเป็นพระโพธิสัตว์มาเกิดเสวยพระชาติเป็นแมว<!--sizec-->
    <!--/sizec--> <table style="width: auto; display: inline;" id="ipb-attach-table-3080-0-38281600-1243616952" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr><td>
    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 พฤษภาคม 2009
  14. jirautes

    jirautes เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    195
    ค่าพลัง:
    +575
    สวัสดีครับผมได้รับพระแล้วครับ(ขออนุโมทนาบุญกับทุนนิธิครับ)
     
  15. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <table border="0" bordercolor="#33ff33" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif" width="33%">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif" width="34%">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif" width="33%">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td align="right" background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3" background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table>
     
  16. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <table border="0" bordercolor="#33ff33" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif" width="33%">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif" width="34%">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif" width="33%">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td align="right" background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3" background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table>
     
  17. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <table border="0" bordercolor="#33ff33" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"> </td> <td background="../bg/c.gif"> </td> <td background="../bg/c.gif"> </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif" width="33%">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif" width="34%">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif" width="33%">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td align="right" background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3" background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table>
     
  18. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <table border="0" bordercolor="#33ff33" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" background=" ">
    <table width="100%"><tbody><tr><td background="../pic1/watsanti_bg.gif">
    </td> </tr> </tbody></table> ​

    </td> </tr> <tr> <td colspan="3" background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"> </td> <td background="../bg/c.gif"> </td> <td background="../bg/c.gif"> </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif" width="33%">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif" width="34%">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif" width="33%">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td align="right" background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> <td background="../bg/c.gif">

    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> <td background="../bg/c.gif">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td> <td background="../bg/c.gif"></td></tr></tbody></table>
     
  19. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <table width="780"><tbody><tr><th colspan="2" scope="row">
    พระธาตุของพระอริยสงฆ์นั้น สามารถเกิดขึ้นได้จากหลายส่วน ดังนี้ ​
    </th> </tr> <tr> <th scope="row" width="384">[​IMG]

    การแปรสภาพจากอัฐิ ( new update)


    </th> <td width="384"></td> </tr> <tr> <th scope="row"></th> <td></td> </tr> <tr> <th scope="row"></th> <td></td> </tr> <tr> <th scope="row" height="121"> </th> <td> </td> </tr> <tr> <th scope="row">
    </th> <td></td></tr></tbody></table>

    ภาพชุดพระอรหันต์ธาตุข้างต้น ได้นำมาจากเวบ ���Ȩ�����иҵ� ซึ่งได้จัดทำไว้เป็นหมวดหมู่ดีมาก บางภาพได้จัดทำขึ้นมาใหม่ หลังจากที่กระทู้นี้ได้เคยนำภาพทั้งหมดมาลงไว้ให้ดูเมื่อปีที่แล้ว และหากใครอยากหาความรู้เรื่องพระธาตุ หากเข้าเวบลิงค์ข้างต้น ก็จะได้ความรู้มากขึ้่นครับ อย่างที่บอกเป็นพระธาตุของพระอรหันต์ หากท่านที่ยังไม่บรรลุธรรม แต่ด้วยความมีเมตตาต่อสรรพสัตว์ และสานุศิษย์ทั้งหลาย จึุงปรารถนาสูงไปกว่านั้นคือความเป็นพุทธภูมิ ภูมิจิต ภูมิธรรมของท่านจึงยั้งอยู่ที่พรหมชั้นสุทธาวาส การซักฟอกธาตุขันธ์ยังไม่สมบูรณ์ จึงยังคงไม่มีพระธาตุของท่านเหล่านั้นให้ปรากฏ แต่หากท่านเปลี่ยนความตั้งใจอันเนื่องมาจากจะต้องบำเพ็ญเพียรบารมีต่อไปในโพธิสัตว์ภูมิซึ่งเป็นระยะเวลาอันยาวนานแล้ว หันมาปรารถนาพระนิพพานก็ต้องถอนปรารถนาเดิมเพื่อมาพิจารณาในธรรมเบื้องสูงต่อ และเมื่อบรรลุอรหัตผลแล้วที่เรียกว่า "สอุปาทิเสสนิพพาน" คือพระอรหันต์ที่เข้าสู่สภาวะนิพพานแล้วแต่ยังมีชีวิตอยู่
    และธรรมนั้นได้ฟอกธาตุขันธ์ท่านจนถึงขั้นแปรสภาพกลายเป็นแก้วใสแล้วทั้งหมด ยามท่านละสังขารแล้วมีการถวายฌาปนกิจสังขารท่าน อัฐิที่พบก็จะ่เห็นเป็นพระธาตุ หรือบางท่านก็พบจากเกศาธาตุ หรือจากข้าวก้นบาตรที่พ่อแม่ครูอาจารย์บางท่านพิจารณาแล้่วและัพบได้ในขณะที่ยังดำรงค์ขันธ์อยู่เพราะได้พิจารณาธรรมจนสิ้นกิเลสทั้งหลายแล้วดังรูปข้างต้นก็มีครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 พฤษภาคม 2009
  20. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    เห็นแว๊บๆ ในหัวข้อพระเครื่องนี่ล่ะ ไม่ติดขัดอะไรก็รีบคว้าเลยครับ เหรียญฟ้าลั่นนี่ล่ะ ตอนที่ผมบวช ควักมาให้ครูอาจารย์ท่านหนึ่งที่มีคุณพ่ออยู่ข้างวัดหนองป่าพงดู และทันท่านหลวงปู่ชาโดยเป็นโยมอุปัฏฐากท่าน ถึงกับคว้าจากมือไปเลย บอกตอนทำพิธีเสกแผ่นดินสะเทือนเพราะฟ้าผ่าขณะจุดเทียนชัย (ไม่ได้บอกว่าฟ้าลั่น) ว่าแล้วก็เอ่ยปากขอผม ถึงกับยอมแลกกับเกศาธาตุของหลวงปู่ชาด้วยซ้ำ ตอนเหรียญออกใหม่ 50.- ตอนนี้ 650.- ลองดูครับ เก็บไว้ ของดีนา..
    เปิดกรุ เหรียญฟ้าลั่น "เบญจะมหามงคล" อีกหนึ่งพระเครื่องดีที่หลวงปู่ชา สุภัทโธ ปลุกเสก ให้บูชาครับ
    http://palungjit.org/threads/%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8-%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%8D%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%99-%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%8D%E0%B8%88%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A5-%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%8A%E0%B8%B2-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%97%E0%B9%82%E0%B8%98-%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%81-%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A.189711/

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 31 พฤษภาคม 2009

แชร์หน้านี้

Loading...