นั่งสมาธิโดยไม่มีอาจารย์คอยสอนจะเป็นอันตรายไหมค่ะ

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย Igiko_L, 17 พฤษภาคม 2009.

  1. สกุลตลา

    สกุลตลา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 มกราคม 2009
    โพสต์:
    50
    ค่าพลัง:
    +114
    ขอเป็นกำลังใจให้น้องสอบติดน่ะจ๊ะ ความพยายามอยู่ไหนความสำเร็จอยู่ที่นั่นน่ะ
     
  2. oze

    oze Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    162
    ค่าพลัง:
    +94
    ทำตามที่เราคิด คิดตามที่เราทำ

    คิดดี ทำดี พูดดี

    ชีวิตดีมีสุข

    อนุโมทนาสาธุ
     
  3. pkpnk

    pkpnk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    244
    ค่าพลัง:
    +112
    เมตตามหานิยม<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    นะเมตตา โมกรุณา พุทธาปราณี ธายินดี ยะเอ็นดู นะโมพุทธายะ นะมะอะอุ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    แคล้วคลาด ป้องกันอันตรายทั้งปวง<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ปัญจะมาเร ชิโน นาโถ ปัตโต สัมโพธิ มุตตะมัง จะตุสัจจัง ปะกาเสติ ธัมมะจังกัง ปะวัตตะยิ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุเม ชะยะมังคะลัง<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    หายโรค ป้องกันสารพัดโรค<o:p></o:p>
    นะมะระอะ นะเทเวอะ (๙จบ)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    คาถาเงินล้าน<o:p></o:p>
    สัมปะจิตฉามิ (คาถาสนองกับ)<o:p></o:p>
    นาสังสิโม (คาถาสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ากัสป)<o:p></o:p>
    พรหมา จะ มหาเทวา สัพเพยักขา ปะรายันติ (คาถาปัดอุปสรรค)<o:p></o:p>
    พรหมา จะ มหาเทวา อภิลาพา ภะวันตุเม (คาถาเงินแสน)<o:p></o:p>
    มหาปุญโญ มหาลาโภ ภะวันตุเม (คาถาเงินไม่ขาดสาย)<o:p></o:p>
    มิเตพาหุหะติ (คาถาเงินล้าน)<o:p></o:p>
    พุทธะมะอะอุ นะโมพุทธายะ วิระทะโย วะระโคนายัง <o:p></o:p>
    วิระหิงสา วิระทาสี วะระทาสา วิระอิตถิโย พุทธัสสะ<o:p></o:p>
    มานีนามะ พุทธัสสะ สวาโหม (คาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า)สัมปะติฉามิ เพ็งๆ พาๆ หาๆ ฤาๆ (คาถาเร่งลาภให้ได้เร็วขึ้น)<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    คาถามหาอำนาจ มียศ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    เอวัง ราชะสีโห มะหานาทัง สีหะนาทะกัง<o:p></o:p>
    สีหะนะเม สีวะเตเชนะ นามะ ราชะสีโห<o:p></o:p>
    อิทธิฤทธิ พระพุทธังรักษา สารพัดศัตรู อะปะราชะยัง<o:p></o:p>
    อิทธิฤทธิ พระธัมมังรักษา สารพัดศัตรู อะปะราชะยัง<o:p></o:p>
    อิทธิฤทธิ พระสังฆังรักษา สารพัดศัตรู อะปะราชะยัง<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    คาถามหาพิทักษ์ ค้าขายดี<o:p></o:p>
    จิตติ วิตัง นะกรึง คะรัง (๓จบ) เสกตอนล็อคบ้าน<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    คาถาพญายม วิชาการ<o:p></o:p>
    ปะโตเมตัง ปะระชีวานัง สุขาโตจุติ จิตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    คาถาหลวงปู่ทวด รุ่งโรชน์ สืบสร้างทางสวรรค์ แคล้วคลาดปลอดภัย<o:p></o:p>
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา (๓จบ)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    คาถา อาราธนาบารมี พระพุทธเจ้า ๒๘ พระองค์ <o:p></o:p>
    ตั้งนะโม๓จบ<o:p></o:p>
    ตัณเมสะทิโก มังสุเรโส อะมะนา ปะสุสุปิ อะทะสิติ ปุวิสิเว กุโกกะโค<o:p></o:p>
    นะมามิหัง <o:p></o:p>
     
  4. pkpnk

    pkpnk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    244
    ค่าพลัง:
    +112
    บทสวดชุมนุมเทวดา<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>

    สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง ปะริตตังนุภาโว สะทา รักขะตูติ
    ผะริตวานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตัง ภะณันตุ<o:p></o:p>


    สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน<o:p></o:p>
    ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต<o:p></o:p>

    ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา
    ติฏฐันตา สันติเก ยัง มุนิวะระวะจะนัง สาธะโว เม สุณันตุ<o:p></o:p>
    ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา<o:p></o:p>
    ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา<o:p></o:p>
    ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา<o:p></o:p>

    บูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อภิปูชะยามิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อภิปูชะยามิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อภิปูชะยามิ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    บทกราบพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
    พุทธังภะคะวันตัง อภิวาเทมิ (กราบ)<o:p></o:p>
    สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)<o:p></o:p>
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สังฆัง นะมามิ (กราบ)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    นมัสการพระรัตนตรัย
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (สวด ๓ จบ)<o:p></o:p>
    ขอขมาพระรัตนตรัย
    วันทามิ พุทธัง, สัพพะ เมโทสัง, ขะมะถะเม ภันเต,<o:p></o:p>
    วันทามิ ธัมมัง,สัพพะเมโทสัง, ขะมะถะเม ภันเต,<o:p></o:p>
    วันทามิ สังฆัง, สัพพะ เมโทสัง, ขะมะถะเม ภันเต<o:p></o:p>
    มะยังภันเต วิสุงวิสุง รักขะนะธายะ ติสะระเน นะสะหะ ปัญจะ ศีลานิยาจามะ
    ทุติยัมปิ มะยังภันเต วิสุงวิสุง รักขะนะธายะ ติสะระเน นะสะหะ ปัญจะ ศีลานิยาจามะ
    ตะติยัมปิ มะยังภันเต วิสุงวิสุง รักขะนะธายะ ติสะระเน นะสะหะ ปัญจะ ศีลานิยาจามะ
    คัจฉามิ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    (อาราธนาศีล 5)
    ปาณา ติปาตา เวระมณี สิกขา ปะทังสะมาธิยามิ
    อทินนา ทาณา เวระมณี สิกขา ปะทังสะมาธิยามิ
    กาเม สุมิฉา จารา เวระมณี สิกขา ปะทังสะมาธิยามิ
    มุสา วาทา เวระมณี สิกขา ปะทังสะมาธิยามิ
    สุรา เมระ มัชชะ ปะณา ทัดทานา เวระมณี สิกขา ปะทังสะมาธิยามิ

    อิมินา ปัญจะสิกขา สมาธิยามิ
    อิมินา ปัญจะสิกขา สมาธิยามิ
    อิมินา ปัญจะสิกขา สมาธิยามิ
    ต่อไปก็สวดมนต์บทอื่นๆ ตามต้องการครับ แนะนำครับ ตามแม่ชีใหญ่ท่านว่า หากไม่ต้องการให้ศีลขาด ก็อาราธนา ก่อนนอนครับผม
    (จบ การอาราธนาศีล 5 ด้วยตัวเอง ก่อนสวดมนต์บทอื่นๆ)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    (ถวายพรพระ (อิติปิโสฯ)
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ (พุทธคุณ)<o:p></o:p>
    สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ (อ่านว่า วิญญูฮีติ) (ธรรมคุณ)<o:p></o:p>
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ (สังฆคุณ) <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงฯ)
    พาหุงสะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ <o:p></o:p>

    มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ <o:p></o:p>
    นาฬาคิริง คะชะวะรังอะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ <o:p></o:p>
    อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะ สุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ <o:p></o:p>
    กัตตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ <o:p></o:p>
    สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ <o:p></o:p>
    นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ <o:p></o:p>
    ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง (อ่านว่า พรัมมัง) วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ <o:p></o:p>
    เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โยวาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะ เนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ <o:p></o:p>
    (* ถ้าสวดให้คนอื่น ให้เปลี่ยนจากคำว่า เม เป็น เต) <o:p></o:p>
    ชัยปริตร (มหากาฯ)
    มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เม* ชะยะมังคะลัง ฯ<o:p></o:p>
    ชะยันโตโพธิยา มูเล สักยานัง นันทิ วัฑฒะโน เอวัง อะหัง วิชะโย โหมิ (ถ้าสวดให้คนอื่นเปลี่ยนเป็น ตะวัง วิชะโย โหหิ) ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล<o:p></o:p>
    อะปะราชิตะ ปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะ ติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏ ฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะ (อ่านว่า พรัมมะ) จาริสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธีเต ปะทักขิณา ปะ ทักขิณา นิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ<o:p></o:p>
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะ เทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวัน ตุ เม* ฯ<o:p></o:p>
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะ เทวะตา สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวัน ตุ เม* ฯ<o:p></o:p>
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะ เทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวัน ตุ เม* ฯ<o:p></o:p>
    <TABLE class=MsoNormalTable style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 99%; BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-border-alt: outset #111111 .25pt; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="99%" border=1><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #efefef; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #efefef; BACKGROUND-COLOR: transparent" width="100%"> สวดธัมมะจักร <o:p></o:p>
    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #efefef; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #efefef; BACKGROUND-COLOR: transparent" width="100%">
    ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ยามานัง เทวานัง
    ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะ มะนุสสาเวสุง ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    พรหมะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะกายิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    พรหมะปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะปาริสัชชานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    พรหมะปุโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะปุโร หิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    มะหาพรหมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง มะหาพรหมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    อาภัสสะระ เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    ปะริตตะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ปะริตตะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    สุภะกิณหะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุภะกิณหะกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    อสัญญะสัตตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อสัญญะสัตตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อะวิหานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุทัสสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุทัสสีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    อะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง
    เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสสะมินติ
    <o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <o:p> </o:p>
    พระคาถาชินบัญชร
    ก่อนที่เจริญภาวนาให้ ตั้งนะโม 3 จบ แล้วระลึกถึงเจ้าประคุณสมเด็จด้วยคำว่า<o:p></o:p>
    ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชา ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ<o:p></o:p>
    ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตะวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุง นะราสะภา<o:p></o:p>
    ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา<o:p></o:p>
    สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร<o:p></o:p>
    หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะ ทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก<o:p></o:p>
    ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุลา กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก<o:p></o:p>
    เกเสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโยวะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภีโต มุนิปุงคะโว <o:p></o:p>
    กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร <o:p></o:p>
    ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลีนันทะสีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเฏ ติละกา มะมะ <o:p></o:p>
    เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา <o:p></o:p>
    ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง <o:p></o:p>
    ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะสุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา <o:p></o:p>
    ชินาณาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะลังกะตา วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา <o:p></o:p>
    อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร <o:p></o:p>
    ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮีตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา <o:p></o:p>
    อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโค สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ <o:p></o:p>
    ชินะปัญชะเรติ ฯ <o:p></o:p>
    พระคาถายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก<o:p></o:p>
    1. อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะ สัมปันโน วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา โลกะวิทู วัจจะโส ภะคะวา
    อะระหันตัง สะระณัง คัจฉามิ
    อะระหันตัง สิระสา นะมามิ
    สัมมาสัมพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    สัมมาสัมพุทธัง สิระสา นะมามิ
    วิชชาจะระณะสัมปันนัง สะระณัง คัจฉามิ
    วิชชาจะระณะสัมปันนัง สิระสา นะมามิ
    สุคะตัง สะระณัง คัจฉามิ
    สุคะตัง สิระสา นะมามิ
    โลกะวิทัง สะระณัง คัจฉามิ
    โลกะวิทัง สิระสา นะมามิ<o:p></o:p>


    2. อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะทัมมะสาระถิ วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ วัจจะโส ภะคะวา
    อะนุตตะรัง สะระณัง คัจฉามิ
    อะนุตตะรัง สิระสา นะมามิ
    ปุริสะทัมมะสาระถิ สะระณัง คัจฉามิ
    ปุริสะทัมมะสาระถิ สิระสา นะมามิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง สิระสา นะมามิ
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    พุทธัง สิระสา นะมามิ อิติปิโส ภะคะวา ฯ<o:p></o:p>


    3. อิติปิ โส ภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะ ลักขะณะปาระมิ จะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะ ลักขะณะ ปาระมิ จะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะ ลักขะณะ ปาระมิ จะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะ ลักขะณะ ปาระมิ จะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา วิญญานะขันโธ อะนิจจะ ลักขะณะ ปาระมิ จะ สัมปันโน<o:p></o:p>


    4. อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะวีธาตุสะมาธิ ญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อาโปธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา เตโชธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา วาโยธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อากาสะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา จักกะวาฬะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน<o:p></o:p>


    5. อิติปิ โส ภะคะวา จาตุมมะหาราชิกาธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา ตาวะติงสาธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา ยามาธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา ตุสิตาธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา นิมมานะระตีธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา กามาวะจะระธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา รูปาวะจะระธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อะรูปาวะจะระธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา โลกุตตะระธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน<o:p></o:p>


    6. อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะมะฌานะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา ทุติยะฌานะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา ตะติยะฌานะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    7.อิติปิ โส ภะคะวา จะตุตถะฌานะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะมะฌานะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา วิญญานัญจายะตะนะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน<o:p></o:p>


    8. อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปัตติมัคคะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคามิมัคคะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อานาคามิมัคคะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะมัคคะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปัตติผะละธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคามิผะละธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคามิผะละธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะผะละธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน<o:p></o:p>


    9. กุสะลา ธัมมา อิติปิ โส ภะคะวา อะอา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ชัมภูทีปัญจะ อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นะโม พุทธายะ นะโม ธัมมายะ นะโม สังฆายะ ปัญจะ พุทธา นะมามิหัง อา ปา มะ จุ ปะ ที มะ สัง อัง ขุ สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ อุปะสะชะสะเห ปาสายะโส ฯ
    โส โส สะ สะ อะ อะ อะ อะ นิ เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ ภะ อิสํวาสุ, สุสํวาอิ กุสะลา ธัมมา จิตติวิอัตถิ
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง อะอา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ สาโพธิปัญจะ อิสสะโร ธัมมา
    กุสะลา ธัมมา นันทะวิวังโก อิติ สัมมาสัมพุทโธ สุคะลาโน ยาวะชีวัง พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ<o:p></o:p>


    10. จาตุมมะหาราชิกา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา อิติ วิชชา จะระณะสัมปันโน อุอุ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตาวะติงสา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นันทะปัญจะ สุคะโต โลกะวิทู มะหาเอโอ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ยามา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา พรหมาสัททะ ปัญจะสัตตะ สัตตา ปาระมี อะนุตตะโร ยะมะกะขะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตุสิตา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา ปุยะปะกะ ปุริสะทัมมะสาระถิ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    นิมมานะระตี อิสสะโร กุสะลา ธัมมา เหตุโปวะ สัตถา เทวะมะนุสสานัง ตะถา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี อิสสะโร กุสะลา ธัมมา สังขาระขันโธ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ พุทธะปะผะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    พรหมา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นัตถิปัจจะยา วินะปัญจะ ภะคะวะตา ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ฯ<o:p></o:p>


    11. นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฏัสสะ พุทธิลาโภกะลา กะระกะนา เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ
    นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฏัสสะ วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ วัตติ วัตติ มะยะสุ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ
    อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง พรหมะสาวัง มะหาพรหมะสาวัง จักกะวัตติสาวัง มหาจักกะวัตติสาวัง เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง อิสีสาวัง มะหาอิสีสาวัง มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง สัปปุริสะสาวัง มะหาสัปปุริสะสาวัง พุทธะสาวัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิวิชชาธะรานังสาวัง สัพพะโลกาอิริยานังสาวัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ
    สาวัง คุณัง วะชะ พะลัง เตชัง วิริยัง สิทธิ กัมมัง ธัมมัง สัจจัง นิพพานัง โมกขัง คุยหะกัง ทานัง สีลัง ปัญญา นิกขัง ปุญญัง ภาคะยัง ยะสัง ตัปปัง สุขัง สิริ รูปัง จะตุวีสะติเทสะนัง
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ<o:p></o:p>


    12. นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญานะขันโธ นะโม อิติปิ โส ภะคะวา
    นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญานะขันโธ นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    นะโม สังฆัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญานะขันโธ นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ วาหะปะริตตัง
    นะโม พุทธายะ มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ยาวะตัสสะ หาโยโมนะ อุอะมะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา อุอะมะอะ วันทา นะโม พุทธายะ นะอะกะติ นิสะระณะ อาระปะขุทธัง มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ฯ<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    เจโต สัพพะพะยาปะทะปะริยุฏฐาเนหิ มุจจะตีติ เมตตา จะ เจโตวิมุตติ จาติ เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    เมตตาพรหมวิหาระภาวนา (มหาเมตตาใหญ่)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อารา เมฯ
    ตัตตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะวะโต ปัจจัสโสสุงฯ
    ภะคะวา เอตะทะโวจะ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเส วิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ
    วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ กะตะเม เอกาทะสะ?
    (1) สุขัง สุปะติ (2) สุขัง ปะฏิพุชฌะติ (3) นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ (4) มะนุสสานัง ปิโย โหติ
    (5) อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ (6) เทวะตา รักขันติ (7) นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ (8) ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ
    (9) มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ (10) อะสัมมุฬฬะโห กาลัง กะโรติ (11) อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรหมมะโลกูปะโค โหติฯ
    เมตตายะภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ
    ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏิฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ อิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ
    อัตถิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    อัตถิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    อัตถิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    กะตีหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ?
    กะตีหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ?
    กะตีหาการเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ?
    ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุติฯ
    สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    กะตะเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ?

    (1) สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (2) สัพเพ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (3) สัพเพ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (4) สัพเพ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (5) สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ
    อิเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    กะตะเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ

    (1) สัพเพ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (2) สัพเพ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (3) สัพเพ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (4) สัพเพ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (5) สัพเพ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (6) สัพเพ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (7) สัพเพ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ
    อิเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    กะตะเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ?

    (1) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (2) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (3) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (4) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (5) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (6) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (7) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (8) สัพเพ ทักขะณายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (9) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (10)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (1) สัพเพ ปุรัตถิยายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (2) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (3) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (4) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (5) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (6) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (7) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (8) สัพเพ ทักขินายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (9) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (10)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (1) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (2) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (3) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (4) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (5) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (6) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (7) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (8) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (9) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (10)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (1) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (2) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (3) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (4) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (5) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (6) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (7) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (8) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (9) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (10) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (1) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (2) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (3) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (4) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (5) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (6) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (7) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (8) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (9) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (10) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (1) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (2) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (3) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (4) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (5) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (6) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (7) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (8) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (9) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (10)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (1) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (2) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (3) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (4) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (5) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (6) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (7) สัพเพ อุตตารายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (8) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (9) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (10) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (1) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (2) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (3) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (4) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (5) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (6) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (7) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (8) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (9) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (10) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (1) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (2) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (3) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (4) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (5) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (6) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (7) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (8) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (9) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (10) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (1) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (2) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (3) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (4) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (5) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (6) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (7) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (8) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (9) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (10) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (1) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (2) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (3) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (4) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (5) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (6) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (7) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (8) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (9) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (10) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (1) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (2) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (3) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (4) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (5) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (6) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (7) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (8) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (9) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (10) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติฯ

    อิเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ

    สัพเพสัง สัตตานัง ปีฬะนัง วัชเชตวา
    อะปีฬานะยะ อุปะฆาตัง วัชเชตวา
    อะนุปิฆาเตนะ สันตาปัง วัชเชตวา
    อะสันตาเปนะ ปะริยาทานัง วัชเชตวา
    อะปะริยาทาเนนะ วิเหสัง วัชเชตวา
    อะวิเหสายะ สัพเพ สัตตา อะเวริโน โหนตุ มา เวริโน สุขิโน โหนตุ มา ทุกขิโน สุขิตัตตา โหนตุ มา
    ทุกขิตตาติ อิเมหิ อัฏฐะหากาเรหิ สัพเพ สัตตา เมตตายะตีติ เมตตา ตัง ธัมมัง เจตะยะตีติ

    เมตตา พรหมมะวิหาระภาวะนา นิฏฐิตา.

    <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    คำขอขมาและอธิษฐานจิต

    <o:p></o:p>
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ๓ จบ
    สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทะวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเต<o:p></o:p>

    หากข้าพเจ้า จงใจหรือประมาทพลาดพลั้ง ล่วงเกินบิดา-มารดา ครูบาอาจารย์ พระพุทธ พระธรรม พระอรหันต์ทุกพระองค์ พระอริยสงฆ์เจ้า ตลอดจนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย รวมถึงผู้มีพระคุณ และท่านเจ้ากรรมนายเวร จะด้วยกาย วาจา ใจ ขอได้โปรดอโหสิกรรมแก่ข้าพเจ้าด้วย หากข้าพเจ้ามีเจ้าของในตัวติดตามมา ข้าพเจ้าขออนุญาตมีคู่ มีครอบครัวได้เหมือนคนปกติทั่วไป ขอถอนคำอธิษฐาน คำสาบานที่จะติดตามคู่ในอดีตขอให้ต่างฝ่ายต่างเป็นอิสระ
    ข้าพเจ้าจะประพฤติตนในทางที่ถูก ที่ชอบ ที่ควร ขอบุญบารมีในอดีตกาลที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน จงส่งผลให้ข้าพเจ้าและครอบครัว ตลอดจนบริวารที่เกี่ยวข้อง จงเจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ ลาภ ยศ สรรเสริญ สติปัญญา ปฏิภาณ ธนสารสมบัติ อุปสรรคใด ๆ โรคภัยใด ๆ ขอให้มลายสิ้นไป ขอให้ข้าพเจ้ามีความสว่างทั้งทางโลกและทางธรรม ตั้งแต่บัดนี้จนตราบเข้าสู่นิพพานเทอญ

    ข้าพเจ้าขอถอนคำสัญญา คำสาบาน คำอธิษฐาน ที่ผูกมัดตัวเองและผู้อื่น ขอให้ต่างฝ่ายต่างเป็นอิสระจากสัญญาทั้งปวง (หากข้าพเจ้าหมดอายุแล้ว ข้าพเจ้าขออยู่ต่อเพื่อสร้างบารมี)
    หากมีผู้ใดเคยสร้างเวรสร้างกรรมกับข้าพเจ้า ไม่ว่าจะชาติใดภพใดก็ตาม ข้าพเจ้ายินดีอโหสิกรรมให้ ขอถอนความอาฆาต ความพยาบาท และคำสาปแช่งในทุกชาติ ทุกภพ ขอให้ข้าพเจ้าพ้นจากคำสาปแช่งของปวงชนของเจ้ากรรม ขอให้พ้นจากนรกภูมิ และพบแสงสว่างทั้งทางโลกและทางธรรม<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    คำอธิษฐานอโหสิกรรม<o:p></o:p>
    ข้าพเจ้า.....(บอกชื่อ)...ขออโหสิกรรม กรรมใดที่ทำแก่ผู้ใด ในชาติใดๆ ก็ตาม ขอให้เจ้ากรรมและนายเวร จงอโหสิกรรมให้กับข้าพเจ้า อย่าได้จองเวรจองกรรมต่อไปเลย แม้แต่กรรมที่ใครๆ ได้ทำกับข้าพเจ้าก็ตาม ข้าพเจ้าขออโหสิกรรมให้ทั้งสิ้น และขอยกถวายพระพุทธเจ้าเป็นอภัยทาน เพื่อจะได้ไม่มีเวรกรรมต่อไป ด้วยอานิสงส์แห่งอภัยทานนี้ ขอให้ข้าพเจ้าและครอบครัว บุตรหลาน ตลอดจนวงศาคณาญาติ และผู้มีอุปการคุณของข้าพเจ้า จงมีความสุข ความเจริญ ปฏิบัติแต่สิ่งที่ดี และสิ่งที่ชอบด้วยเทอญ.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    คำขอขมาโทษ (กรรมชั่ว)<o:p></o:p>
    กรรมชั่วอันใดที่ข้าพเจ้า.....(บอกชื่อ)...ทำไว้ ด้วยกาย วาจา ใจ ในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ คุณบิดา มารดา ครูบาอาจารย์ เพราะความไม่รู้ เพราะความหลง เพราะความงมงาย เพราะความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ขอจงโปรดยกโทษ ให้ข้าพเจ้าพ้นจากความทุกข์ยาก ลำบากเข็ญใจ อันตรายทั้งหลาย จงเสื่อมสูญสิ้นไป
    ข้าพเจ้าปรารถนาสิ่งใดที่ดี ขอให้สมปรารถนา นิพพานะ ปัจจะโย โหตุ. (อธิษฐานตามที่ปรารถนา) <o:p></o:p>

    คำแผ่เมตตาให้ตัวเอง<o:p></o:p>
    หัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ
    <o:p></o:p>
    ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข
    ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากความทุกข์
    ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากเวร
    ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากอุปสรรคอันตรายทั้งปวง
    ขอให้ข้าพเจ้าจงมีความสุขกายสุขใจ รักษากายวาจาใจให้พันจากความทุกข์ภัยทั้งปวงเถิด
    <o:p></o:p>

    คำแผ่เมตตา

    สัพเพ สัตตา
    สัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์, เกิด แก่ เจ็บ ตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น,

    อะเวรา โหนตุ,

    ขอจงเป็นสุข ๆ เถิด, อย่าได้มีเวรแก่กัน และกันเลย,

    อัพยาปัชฌา โหนตุ,
    ขอจงเป็นสุข ๆ เถิด, อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกัน และกันเลย,

    อะนีฆา โหนตุ,
    ขอจงเป็นสุข ๆ เถิด, อย่าได้มีความทุกข์กาย ทุกข์ใจเลย,

    สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ,
    จงมีความสุขกายสุขใจ, รักษาตนให้รอดพ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเทอญ ฯ
    .........

    คำอุทิศส่วนกุศล
    ข้าพเจ้าขอตั้งจิตอุทิศผล .....บุญกุศลแผ่ไปให้ไพศาล
    ถึงบิดามารดาครูอาจารย์ .....ทั้งลูกหลานญาติมิตรสนิทกัน
    คนเคยร่วมทำงานการทั้งหลาย .....มีส่วนได้ในกุศลผลของฉัน
    ทั้งเจ้ากรรมนายเวรและเทวัญ .....ขอให้ท่านได้กุศลผลนี้เถิด ฯ สาธุ.
    .........

    คำกรวดน้ำ
    อิทัง เม ญาตินัง โหตุ สุขิตาโหตุ ญาตโย
    (ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า
    ขอให้ญาติทั้งหลายจงมีความสุขกายสุขใจเถิด)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <?xml:namespace prefix = v ns = "urn:schemas-microsoft-com:vml" /><v:shapetype id=_x0000_t75 stroked="f" filled="f" path="m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe" o:preferrelative="t" o:spt="75" coordsize="21600,21600"><v:stroke joinstyle="miter"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn="if lineDrawn pixelLineWidth 0"></v:f><v:f eqn="sum @0 1 0"></v:f><v:f eqn="sum 0 0 @1"></v:f><v:f eqn="prod @2 1 2"></v:f><v:f eqn="prod @3 21600 pixelWidth"></v:f><v:f eqn="prod @3 21600 pixelHeight"></v:f><v:f eqn="sum @0 0 1"></v:f><v:f eqn="prod @6 1 2"></v:f><v:f eqn="prod @7 21600 pixelWidth"></v:f><v:f eqn="sum @8 21600 0"></v:f><v:f eqn="prod @7 21600 pixelHeight"></v:f><v:f eqn="sum @10 21600 0"></v:f></v:formulas><v:path o:connecttype="rect" gradientshapeok="t" o:extrusionok="f"></v:path><o:lock aspectratio="t" v:ext="edit"></o:lock></v:shapetype><v:shape id=Picture_x0020_6 style="VISIBILITY: visible; WIDTH: 0.75pt; HEIGHT: 0.75pt; mso-wrap-style: square" alt="setstats" type="#_x0000_t75" o:spid="_x0000_i1026"><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtmlclip1\01\clip_image001.gif" o:title="setstats"></v:imagedata></v:shape><v:shape id=Picture_x0020_7 style="VISIBILITY: visible; WIDTH: 0.75pt; HEIGHT: 0.75pt; mso-wrap-style: square" alt="1" type="#_x0000_t75" o:spid="_x0000_i1025"><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtmlclip1\01\clip_image002.gif" o:title="1"></v:imagedata></v:shape><o:p></o:p>





    <o:p> </o:p>​
    <o:p> </o:p>​
    <o:p> </o:p>​
    <o:p> </o:p>​
    <o:p> </o:p>​
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
     
  5. pkpnk

    pkpnk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    244
    ค่าพลัง:
    +112
    การตั้งพระพุทธรูปตำรับโบราณ<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    <HR style="COLOR: white" align=center width="100%" noShade SIZE=1>
    <?xml:namespace prefix = v ns = "urn:schemas-microsoft-com:vml" /><v:shapetype id=_x0000_t75 stroked="f" filled="f" path="m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe" o:preferrelative="t" o:spt="75" coordsize="21600,21600"><v:stroke joinstyle="miter"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn="if lineDrawn pixelLineWidth 0"></v:f><v:f eqn="sum @0 1 0"></v:f><v:f eqn="sum 0 0 @1"></v:f><v:f eqn="prod @2 1 2"></v:f><v:f eqn="prod @3 21600 pixelWidth"></v:f><v:f eqn="prod @3 21600 pixelHeight"></v:f><v:f eqn="sum @0 0 1"></v:f><v:f eqn="prod @6 1 2"></v:f><v:f eqn="prod @7 21600 pixelWidth"></v:f><v:f eqn="sum @8 21600 0"></v:f><v:f eqn="prod @7 21600 pixelHeight"></v:f><v:f eqn="sum @10 21600 0"></v:f></v:formulas><v:path o:connecttype="rect" gradientshapeok="t" o:extrusionok="f"></v:path><o:lock aspectratio="t" v:ext="edit"></o:lock></v:shapetype><v:shape id=Picture_x0020_2 style="VISIBILITY: visible; WIDTH: 225pt; HEIGHT: 168.75pt; mso-wrap-style: square" alt="http://images.thaiza.com/33/33_20080830105145..jpg" type="#_x0000_t75" o:spid="_x0000_i1026"><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtmlclip1\01\clip_image001.jpg" o:title="33_20080830105145."></v:imagedata></v:shape><o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    เพื่อให้มีลาภมีผล มีความเจริญรุ่งเรือง โดยให้หลีกเลี่ยงทิศอับมงคลดังนี้

    ๑. ตั้งพระพุทธรูปหันพระพักตร์ไปทางทิศอีสาน หรือทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เรียกว่า ทิศเศรษฐี จะประกอบการค้าใดๆ ก็ร่ำรวยเฟื่องฟู จะประกอบการงานใดๆ ก็ล้วนเจริญรุ่งเรื่อง

    ๒. ตั้งพระพุทธรูปหันพระพักตร์ไปทางทิศบูรพาหรือทิศตะวันออก เรียกว่าทิศราชา จะประกอบการงานใหญ่โตใดๆ ย่อยประสบผลสำเร็จความมุ่งหมาย

    ๓. ตั้งพระพุทธรูปหันพระพักตร์ไปทางทิศอาคเนย์หรือทิศตะวันออกเฉียงใต้ เรียกว่าทิศปฐม จะประกอบการงานใดๆ ไม่ค่อยดี ไม่ค่อยมีลาภผล ชิวิตตกต่ำ แต่พอมีกินมีใช้

    ๔. ตั้งพระพุทธรูปหันพระพักตร์ไปทางทิศทักษิณหรือทิศใต้ เรียกว่าทิศจันฑาล จะประกอบการงานใดๆ ก็ยากลำบากกาย ผลประโยชน์ที่ได้ไม่คุ้มการลงทุนลงแรง

    ๕. ตั้งพระพุทธรูปหันพระพักตร์ไปทางทิศหรดีหรือทิศตะวันตกเฉียงใต้ เรียกว่าทิศวิปฏิสาร จะประกอบการงานใดๆ ก็มักนำความเดือดร้อนมาสู่ครอบครัวและเพื่อนบ้านใกล้เคียง

    ๖. ตั้งพระพุทธรูปหันพระพักตร์ไปทางทิศประจิมหรือทิศตะวันตก เรียกว่าทิศกาฬกิณี จะทำงานใดๆ ก็เกิดลังเลใจ ไม่เป็นมงคล ให้ระวังภัยร้ายแรงด้วยประการต่างๆ

    ๗. ตั้งพระพุทธรูปหันพระพักตร์ไปทางทิศพายัพหรือทิศตะวันตกเฉียงเหนือ เรียกว่าทิศอุทธัจจะ จะทำงานใดๆ ผลงานไม่เป็นที่แน่นอน เรรวนไม่ได้เรื่อง ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน

    ๘. ตั้งพระพุทธรูปหันพระพักตร์ไปทางทิศอุดรหรือทิศเหนือ เรียกว่าทิศมัชฌิมาปฏิปทา จะทำงานใดๆ ผลงานจะอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ไม่ดีไม่ชั่ว ไม่สูงไม่ต่ำ


     
  6. pkpnk

    pkpnk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    244
    ค่าพลัง:
    +112
    <TABLE class=MsoNormalTable style="BORDER-RIGHT: #efefef 1pt solid; BORDER-TOP: #efefef 1pt solid; BACKGROUND: white; BORDER-LEFT: #efefef 1pt solid; WIDTH: 100%; BORDER-BOTTOM: #efefef 1pt solid; mso-border-alt: solid #EFEFEF .75pt; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 4.5pt 4.5pt 4.5pt 4.5pt; mso-cellspacing: 0cm" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=1><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt solid; PADDING-RIGHT: 4.5pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 4.5pt; BACKGROUND: #efebef; PADDING-BOTTOM: 4.5pt; BORDER-LEFT: #efefef; PADDING-TOP: 4.5pt; BORDER-BOTTOM: #efefef; mso-border-right-alt: solid white .75pt" vAlign=top>
    พระโอวาทของท่านอรหันต์จี้กง<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    <HR style="COLOR: white" align=center width="100%" noShade SIZE=1>
    อ่านแล้วเก็บรักษา บุญรักษาเนืองนอง
    รู้แล้วบอกทั่วกัน บุญกุศลเรืองรอง
    1.ชีวิตย่อมเป็นไปตามลิขิต (ละชั่วทำดี)วอนขออะไร
    2.วันนี้ไม่รู้เหตุการณ์ในวันพรุ่งนี้กลุ้มเรื่องอะไร
    3.ไม่เคารพพ่อแม่แต่เคารพพระพุทธองค์เคารพทำไม
    4.พี่น้องคือผู้ที่เกิดตามกันมาทะเลาะกันทำไม
    5.ลูกหลานทุกคนล้วนมีบุญตามลิขิต ห่วงใยทำไม
    6.ชีวิตย่อมมีโอกาสประสบความสำเร็จร้อนใจทำไม
    7.ชีวิตใช่จะพบเห็นรอยยิ้มกันได้ง่าย ทุกข์ใจทำไม
    8.ผ้าขาดปะแล้วกันหนาวได้ อวดโก้ทำไม
    9.อาหารผ่านลิ้นแล้วกลายเป็นอะไรอร่อยไปใย
    10.ตายแล้วบาทเดียวก็เอาไปไม่ได้ขี้เหนียวทำไม
    11.ที่ดินคือสิ่งที่สืบทอดแก่คนรุ่นหลัง โกงกันทำไม
    12.โอกาสจะได้กลายเป็นเสีย โลภมากทำไม
    13.สิ่งศักดิ์สิทธิ์อยู่เหนือศีรษะเพียง 3 ฟุต ข่มเหงกันทำไม
    14.ลาภยศเหมือนดอกไม้ที่บานอยู่ไม่นาน หยิ่งผยองทำไม
    15.ทุกคนย่อมมีลาภยศตามวาสนาที่ลิขิตอิจฉากันทำไม
    16.ชีวิตลำเค็ญเพราะชาติก่อนไม่บำเพ็ญ แค้นใจทำไม (บำเพ็ญไวไว)
    17.นักเล่นการพนันล้วนตกต่ำเล่นการพนันทำไม
    18.ครองเรือนด้วยความประหยัดดีกว่าไปขอพึ่งผู้อื่นสุรุ่ยสุร่ายทำไม
    19.จองเวรจองกรรมเมื่อไรจะจบสิ้น อาฆาตทำไม
    20.ชีวิตเหมือนเกมหมากรุก คิดลึกทำไม
    21.ฉลาดมากเกินจึงเสียรู้ รู้มากทำไม
    22.พูดเท็จทอนบุญจนบุญหมด โกหกทำไม
    23.ดีชั่วย่อมรู้กันทั่วไปในที่สุด โต้เถียงกันทำไม
    24.ใครจะป้องกันมิให้มีเรื่องเกิดขึ้นได้ตลอด หัวเราะเยาะกันทำไม
    25.ฮวงซุ้ยที่ดีอยู่ในจิตไม่ใช่อยู่ที่ภูเขา แสวงหาทำไม
    26.ข่มเหงผู้อื่นคือทุกข์ รู้ให้อภัยคือบุญ ถามโหรเรื่องอะไร
    27.ทุกสิ่งจบสิ้นลงด้วยความตาย วุ่นวายทำไม<o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    <o:p> </o:p>
     
  7. pkpnk

    pkpnk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    244
    ค่าพลัง:
    +112
    <TABLE class=MsoNormalTable style="BACKGROUND: #eaeaea; WIDTH: 100%; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR style="HEIGHT: 18pt; mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #efefef; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #efefef; HEIGHT: 18pt; BACKGROUND-COLOR: transparent"></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p> </o:p>
    <TABLE class=MsoNormalTable style="WIDTH: 80%; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="80%" border=0><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #efefef; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #efefef; BACKGROUND-COLOR: transparent" width="100%">
    ความต้องการของอารมณ์ เรียกว่า อุดมคติ หรือแบบที่ผู้ใหญ่โบราณสักหน่อยเรียกว่า อัชฌาสัย หรืออุดมคติ อัชฌาสัยในการปฏิบัติมี ๔ อย่างด้วยกัน ตามแบบของคัมภีร์วิสุทธิมัคค์ ทั้งนี้การปฏิบัติทั้ง อย่างนี้ก็ขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละคนว่าจะชอบปฏิบัติในอย่างไหน ซึ่งการปฏิบัตินั้นองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้เน้นเพียงแบบเดียว ขึ้นอยู่ กับตามความต้องการของแต่ละคนจะต้องการปฏิบัติแบบไหน เพราะคนทุกคนไม่ได้เกิดมาเหมือนกันหมด ดังนั้นจึงมีลักษณะนิสัยที่มีความต้องการปฏิบัติแตกต่างกันไป ( อรหันต์มี 4 อย่างคือ ) <o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <o:p> </o:p>
    <TABLE class=MsoNormalTable style="BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 5.25pt 5.25pt 5.25pt 5.25pt" cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #efefef; PADDING-RIGHT: 5.25pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.25pt; PADDING-BOTTOM: 5.25pt; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 178%; PADDING-TOP: 5.25pt; BORDER-BOTTOM: #efefef; BACKGROUND-COLOR: transparent" width="178%"><TABLE class=MsoNormalTable style="BACKGROUND: #ebebeb; WIDTH: 100%; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR style="HEIGHT: 18.75pt; mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #efefef; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #efefef; HEIGHT: 18.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent">
    ๑. อัชฌาสัยสุกขวิปัสสโก<o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE> บางคนชอบแบบสุกเอาเผากิน เรื่องความละเอียดเรียบร้อย การรู้เล็กรู้น้อยแสดงฤทธิ์ อวดเดช
    เดชาอะไรนั้น ไม่มีความต้องการ หวังอย่างเดียวคือความบรรลุผล ท่านประเภทนี้พระพุทธเจ้ามีแบบ
    ปฏิบัติไว้ให้เรียกว่า สุกขวิปัสสโก คือปฏิบัติแบบสบาย เริ่มด้วยการรักษาศีลให้บริสุทธิ์ เรื่องศีลนี้
    นักปฏิบัติต้องสนใจเป็นพิเศษ ถ้าหวังผลในการปฏิบัติแล้ว อย่าให้ศีลบกพร่องเป็นอันขาด แม้แต่
    ด่างพร้อยก็อย่าให้มี ถ้าท่านเห็นว่าศีลเป็นของเล็กน้อย ปฏิบัติยังขาด เกิน แล้ว ท่านไม่มีหวังใน
    มรรคผลแน่นอน เมื่อมีศีลครบถ้วนบริสุทธิ์ผุดผ่องดีแล้ว ท่านก็ให้เจริญสมาธิ ตอนสมาธินี้ ท่านฝ่าย
    สุกขวิปัสสโกท่านไม่เอาดีทางฌานสมาบัติ พอมีสมาธิเล็กน้อยก็เจริญวิปัสสนาญาณควบกันไปเลย
    คุมสมาธิบ้าง เจริญวิปัสสนาบ้าง พอสมาธิที่รวบรวมได้ทีละเล็กละน้อย เมื่อสมาธิเข้าถึงปฐมฌาน
    วิปัสสนาก็มีกำลังตัดกิเลสได้ จะได้มรรคผลก็ตอนที่สมาธิเข้าถึงปฐมฌาน หากสมาธิยังไม่ถึงปฐมฌาน
    เพียงใด จะได้มรรคผลไม่ได้ นี้เป็นกฎตายตัว เพราะมรรคผลต้องมีฌานเป็นเครื่องรู้ ฌานนี้จะบังเกิด
    ขึ้นเมื่อจิตเข้าสู่อุปจารสมาธิ คือเกือบถึงปฐมฌาน ห่างกันระหว่างปฐมฌานกับอุปจารฌานนั้น เพียง
    เส้นผมเดียวเท่านั้น จิตเมื่อตั้งมั่นในอุปจารสมาธิแล้ว ก็จะเกิดทิพยจักษุฌาน คือเห็นสิ่งที่เป็นทิพย์
    และได้ยินเสียงที่เป็นทิพย์ได้ เพราะตามธรรมดาจิตนั้นเป็นทิพย์อยู่แล้ว ที่ต้องมาชำระกันใหม่ด้วยการ
    ฝึกสมาธิ ก็เพราะจิตถูกนิวรณ์ คืออกุศลหุ้มห่อไว้ ได้แก่ความโลภอยากได้ไม่มีขอบเขต ความผูกโกรธ
    คือพยาบาทจองล้างจองผลาญ ความง่วงเมื่อขณะปฏิบัติทำสมาธิ ความฟุ้งซ่านของอารมณ์ในขณะฝึก
    สมาธิ ความสงสัยในผลปฏิบัติโดยคิดว่าจะได้หรือ จะสำเร็จหรือ ทำอย่างนี้จะสำเร็จได้อย่างไร ความ
    สงสัย ไม่แน่ใจอย่างนี้ เป็นนิวรณ์กั้นฌานไม่ให้เกิด รวมความแล้ว ทั้งห้าอย่างนี้นั่นแหละ แม้เพียง
    อย่างเดียว ถ้าอารมณ์ของจิตยังข้องอยู่ฌานจะไม่เกิด จะคอยกีดกันไม่ให้จิตผ่องใส มีอารมณ์เป็นทิพย์
    ตามสภาพปกติได้ จิตเมื่อถูกอกุศลห้าอย่างนี้หุ้มห่อก็มีอารมณ์มืดมนท์รู้สิ่งที่เป็นทิพย์ไม่ได้เพราะ
    อำนาจอกุศลคือนิวรณ์ห้านี้จะพ้นจากจิตไปได้ก็ต่อเมื่อจิตทรงอารมณ์ของฌานไว้ได้เท่านั้น ถ้าจิตทรง
    อารมณ์ปฐมญานไม่ได้ จิตก็ต้องตกเป็นทาสของ นิวรณ์
    อารมณ์ปฐมฌานนั้นมี ๕ เหมือนกัน คือ
    ๑. วิตก คำนึงถึงองค์กรรมฐานที่ฝึกตลอดเวลา
    ๒. วิจาร ใคร่ครวญกำหนดรู้ตามในองค์กรรมฐานนั้น ไม่ให้บกพร่องตรวจตราพิจารณาให้
    ครบถ้วนอยู่เสมอๆ
    ๓. ปีติ มีความเอิบอิ่มรื่นเริงหรรษา ไม่อิ่มไม่เบื่อในการปฏิบัติพระกรรมฐาน
    ๔. สุข เกิดความ สุขสันต์หรรษาทางกายอย่างไม่เคยปรากฏมาในกาลก่อนมีความสุขสดชื่น
    บอกไม่ถูก
    ๕. เอกัคคตารมณ์ มีอารมณ์มั่นคงในองค์กรรมฐาน จิตกำหนดตั้งมั่นไม่คลาดจากองค์
    กรรมฐานนั้นๆ

    ทั้งห้าอย่างนี้เป็นอารมณ์ของปฐมฌาน เมื่อเข้าถึงตอนนี้จิตก็เป็นทิพย์มาก สามารถกำหนดจิตรู้
    ในสิ่งที่เป็นทิพย์ได ้ก็ผลของวิปัสสนา คือมรรคผลนั้น การที่จะบรรลุถึงได้ต้องอาศัยทิพยจักษุญาณ
    เป็นเครื่องชี้ ตามที่ท่านกล่าวไว้ว่าเมื่อภิกษุบรรลุแล้วก็มีญาณบอกว่ารู้แล้ว ที่พระพุทธเจ้าตรัสอย่างนี้
    ก็ทรงหมายเอาญาณที่เป็นทิพยจักษุญาณนี้ถ้าบรรลุอรหัตตผลแล้ว ท่านเรียกว่า วิมุตติญาณทัสสนวิสุทธิ
    วิมุตติแปลว่า หลุดพ้น ญาณ แปลว่า รู้ ทัสสนะ แปลว่า เห็น วิสุทธิ แปลว่า หมดจดอย่างวิเศษ คือ หมด
    ไม่เหลือ หรือสะอาดที่สุด ไม่มีอะไรสกปรก (บอกไว้เพื่อรู้)

    ฉะนั้น ท่านสุกขวิปัสสโก ถึงแม้ท่านจะรีบปฏิบัติแบบรวบรัดอย่างไรก็ตาม ท่านก็ต้องอาศัยฌาน
    ในสมถะจนได้ แต่ได้เพียงฌานเด็กๆ คือปฐมฌาน เป็นฌานกระจุ๋มกระจิ๋มเอาดีเอาเด่นในเรื่องฌาน
    ไม่แน่นอนนัก กล่าวโดยย่อ ก็คือ
    ๑. ท่านรักษาศีลบริสุทธิ์ ชนิดไม่ทำเอง ไม่ใช้ให้คนอื่นทำ และไม่ยินดีในเมื่อคนอื่นทำบาป
    ๒. ท่านเจริญสมาธิควบกับวิปัสสนา จนสมาธิรวมตัวถึงปฐมฌานแล้ว ท่านจึงจะได้
    สำเร็จมรรคผล
    ท่านสุกขวิปัสสโก มีกฏปฏิบัติเพียงเท่านี้ ท่านจึงเรียกว่า สุกขวิปัสสโก แปลว่า บรรลุแบบ
    ง่ายๆ ท่านไม่มีฌานสูง ท่านไม่มีญาณพิเศษอย่างท่านวิชชาสาม ท่านไม่มีฤทธิ์ ท่านไม่มีความรู้พิเศษ
    อะไรทั้งสิ้น เป็นพระอรหันต์ประเภทรู้รักษาตัวรอดเป็นยอดดี ไม่มีคุณพิเศษอื่นนอกจากบรรลุมรรคผล<o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    <o:p> </o:p>
     
  8. pkpnk

    pkpnk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    244
    ค่าพลัง:
    +112
    <TABLE class=MsoNormalTable style="BACKGROUND: #eaeaea; WIDTH: 100%; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR style="HEIGHT: 18pt; mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #efefef; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #efefef; HEIGHT: 18pt; BACKGROUND-COLOR: transparent"></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p> </o:p>
    <TABLE class=MsoNormalTable style="BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 5.25pt 5.25pt 5.25pt 5.25pt" cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #efefef; PADDING-RIGHT: 5.25pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.25pt; PADDING-BOTTOM: 5.25pt; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 5.25pt; BORDER-BOTTOM: #efefef; BACKGROUND-COLOR: transparent" width="100%"><TABLE class=MsoNormalTable style="BACKGROUND: #ebebeb; WIDTH: 99%; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-yfti-tbllook: 1184" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="99%" border=0><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #efefef; PADDING-RIGHT: 0.75pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 0.75pt; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; BORDER-LEFT: #efefef; PADDING-TOP: 0.75pt; BORDER-BOTTOM: #efefef; BACKGROUND-COLOR: transparent">
    ๒. อัชฌาสัยเตวิชโช<o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อัชฌาสัยเตวิชโช หมายถึงท่านที่มีอุดมคติในด้านวิชชาสาม คือทรงคุณสามประการ ใน
    ส่วนแห่งการปฏิบัติ ได้แก่คุณธรรมดังต่อไปนี้
    ๑. ปุเพนิวาสานุสสติญาณ การระลึกชาติที่แล้วๆ มาได้
    ๒. จุตูปปาตญาณ รู้ว่าสัตว์ที่ตายไปแล้ว และเกิดมานี้ ตายแล้วไปไหน ก่อนเกิดมาจากไหน
    ๓. อาสวักขยญาณ รู้จักทำอาสวกิเลสให้สิ้นไป
    เมื่อพิจารณาตามคุณพิเศษสามประการนี้แล้ว แสดงให้เห็นว่าท่านที่มีอุดมคติในด้าน
    เตวิชโชนี้ ท่านเป็นคนอยากรู้อยากเห็น เมื่อพบเห็นอะไรเข้าก็เป็นเหตุให้คิดนึกถึงสมุฏฐานที่เกิด
    ว่าสิ่งนั้นสิ่งนี้เกิดมาจากอะไร เดิมก่อนจะเป็นอย่างนั้น เป็นอะไรมาก่อน เช่นเห็นของที่มีวัตถุปกปิด
    ก็อยากจะแก้วัตถุที่ปกปิดนั้นออก เพื่อสำรวจตรวจดูของภายใน เห็นของภายในว่าเป็นอะไรแล้ว ก็
    อยากจะรู้ต่อไปว่า ภายในของนั้นมีอะไรบ้าง ทำด้วยอะไร เมื่อรู้แล้วก็อยากรู้ต่อไปว่า สิ่งนั้น เกิดมา
    ได้อย่างไร อย่างนี้เป็นต้น
    ท่านประเภทเตวิชโชนี้ จะให้ท่านทำตนเป็นคนหวังผลอย่างเดียว โดยไม่ให้พิสูจน์ค้นคว้า
    เลยนั้น ท่านประเภทนี้ทนไม่ไหว เพราะอัชฌาสัยไม่ชอบประเภทคลุมหน้าเดินโดยที่ไม่ได้พิสูจน์ต้นทาง
    ปลายทางเสียก่อน ถ้าต้องทำแบบคลุมหน้าเดินอย่างท่านสุกขวิปัสสโกแล้วท่านก็ทนไม่ไหว รำคาญใจ
    หยุดเอาเฉย คนประเภทนี้เคยพบมาในขณะสอนสมณธรรมมีจำนวนมาก ประเภทเตวิชโชนั้น ส่วน
    ใหญ่มักชอบรู้ชอบเห็นพอให้วิปัสสนาล้วนเธอเข้า เธอก็บ่นอู้อี้ว่าไม่รู้ไม่เห็นอะไรเลย ต่อเมื่อให้
    กรรมฐานประเภททิพยจักษุญาณ หรือมโนมยิทธิ เธอก็พอใจ ทำได้อย่างไม่เห็นแก่เหน็ดเหนื่อย จะ
    ยากลำบากก็ทนทำจนสำเร็จผล ทางที่ได้พิสูจน์มาเป็นอย่างนี้ <o:p></o:p>
    แนวปฏิบัติสำหรับเตวิชโช
    ทราบแล้วว่า เตวิชโชมีอะไรบ้าง ขอนำแนวปฏิบัติมาเขียนไว้ เพื่อรู้แนวทาง หากท่านผู้อ่าน
    ประสงค์จะรู้หรือจะนำไปปฏิบัติก็จะสะดวกในการค้นคว้า เตวิชโชหรือท่านผู้ทรงวิชชาสาม มีปฏิปทา
    ในการปฏิบัติดังต่อไปนี้
    ๑. การรักษาศีลให้สะอาดหมดจด ยอมตัวตายดีกว่าศีลขาด
    ๒. ฝึกสมาธิในกรรมฐานที่มีอภิญญาเป็นบาท คือกสิณกองใดกองหนึ่งที่เป็นสมุฏฐาน
    ให้เกิดทิพยจักษุญาณ กสิณที่เป็นสมุฏฐานให้เกิดทิพยจักษุญาณนั้นมีอยู่สามกองด้วยกัน คือ
    ๑. เตโชกสิณ เพ่งไฟ
    ๒. อาโลกกสิณ เพ่งแสงสว่าง
    ๓. โอทาตกสิณ เพ่งสีขาว
    กสิณทั้งสามอย่างนี้ อย่างใดก็ตาม เป็นพื้นฐานให้ได้ทิพยจักษุญาณทั้งสิ้น แต่ตามนัย
    วิสุทธิมรรคท่านกล่าวว่า ในบรรดากสิณทั้งสามอย่างนี้ อาโลกกสิณเป็นกสิณสร้างทิพยจักษุญาณ
    โดยตรง ท่านว่าเจริญอาโลกกสินั่นแหละเป็นการดี
    วิธีเจริญอาโลกกสิณเพื่อทิพยจักษุญาณ การสร้างทิพยจักษุญาณด้วยการเจริญ
    อาโลกกสิณนั้น ท่านให้ปฏิบัติดังนี้ ท่านให้เพ่งแสงสว่างที่ลอดมาทางช่องฝาหรือหลังคาให้กำหนด
    จิตจดจำภาพแสงสว่างนั้นไว้ให้จำได้ดี แล้วหลับตากำหนดนึกถึงภาพแสงสว่างที่มองเห็นนั้น ภาวนา
    ในใจ พร้อมทั้งกำหนดนึกถึงภาพนั้นไปด้วย ภาวนาว่า "อาโลกกสิณัง" แปลว่า แสงสว่างกำหนด
    นึกไป ภาวนาไป ถ้าภาพแสงสว่างนั้นเลอะเลือนจากไป ก็ลืมตาดูใหม่ ทำอย่างนี้เรื่อยไป จนภาพนั้น
    ติดตา ติดใจ นึกคิดขึ้นมาเมื่อไร ภาพนั้นก็ปรากฏแก่ใจตลอดเวลา ในขณะที่กำหนดจิตคิดเห็นภาพนั้น
    ระวังอารมณ์จิตจะซ่านออกภายนอก และเมื่อจิตเริ่มมีสมาธิ ภาพอื่นมักเกิดขึ้นมาสอดแทรกภาพกสิณ
    เมื่อปรากฏว่ามีภาพอื่นสอดแทรกเข้ามาจงตัดทิ้งเสีย โดยไม่ยอมรับรู้รับทราบ กำหนดภาพเฉพาะ
    ภาพกสิณอย่างเดียว ภาพแทรกเมื่อเราไม่สนใจไยดีไม่ช้าก็ไม่มารบกวนอีก เมื่อภาพนั้นติดตาติดใจ
    จนเห็นได้ทุกขณะจิตที่ปรารถนาจะเห็นได้แล้ว และเป็นภาพหนาใหญ่จะกำหนดจิตให้ภาพนั้นเล็ก ใหญ่
    ได้ตามความประสงค์ ให้สูงต่ำก็ได้ตามใจนึก เมื่อเป็นได้อย่างนั้นก็อย่าเพิ่งคิดว่าได้แล้ว ถึงแล้ว
    จงกำหนดจิตจดจำไว้ตลอดวันตลอดเวลา อย่าให้ภาพแสงสว่างนั้นคลาดจากจิต จงเป็นคนมีเวลา คืออย่า
    คิดว่าเวลานั้นเถอะเวลานี้เถอะจึงค่อยกำหนด การเป็นคนไม่มีเวลา เพราะหาเวลาเหมาะไม่ได้นั้น
    ท่านว่าเป็นอภัพพบุคคลสำหรับการฝึกญาณ คือเป็นคนหาความเจริญไม่ได้ ไม่มีทางสำหรับมรรคผล
    เท่าที่ตนปรารถนานั่นเอง ต้องมีจิตคิดนึกถึงภาพกสิณตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ ไม่ยอมให้ภาพนั้นคลาด
    จากจิต ไม่ว่า กิน นอน นั่ง เดิน ยืน หรือทำกิจการงาน ต่อไปไม่ช้าภาพกสิณก็จะค่อยคลายจากสีเดิม
    เปลี่ยนเป็นสีใสประกายพรึกน้อยๆ และค่อย ทวีความสดใสประกายมากขึ้น ในที่สุดก็จะปรากฏเป็น
    สีประกายสวยสดงดงาม คล้ายดาวประกายพรึกดวงใหญ่ ตอนนี้ก็กำหนดใจให้ภาพนั้นเล็ก โต สูง ต่ำ
    ตามความต้องการ การกำหนดภาพเล็ก โต สูง ต่ำและเคลื่อนที่ไปมาอย่างนี้ จงพยายามทำให้คล่อง
    จะเป็นประโยชน์ตอนฝึกมโนมยิทธิ คือ ถอดจิตออกท่องเที่ยวมาก เมื่อภาพปรากฏประจำจิตไม่คลาด
    เลื่อนได้รวดเร็ว เล็กใหญ่ได้ตามประสงค์คล่องแคล่วว่องไวดีแล้ว ก็เริ่มฝึกทิพยจักษุญาณได้แล้ว
    เมื่อฝึกถึงตอนนี้ มีประโยชน์ในการฝึกทิพยจักษุญาณ และฝึกมโนมยิทธิ คือถอดจิตออกท่องเที่ยว
    และมีผลในญาณต่างๆ ที่เป็นบริวารของทิพยจักษุญาณทั้งหมด เช่น
    ๑. ได้จุตูปปาตญาณ รู้ว่าสัตว์ที่ตายไปแล้วไปเกิด ณ ที่ใด ที่มาเกิดนี้มาจากไหน
    ๒. เจโตปริยญาณ รู้อารมณ์จิตของคนและสัตว์
    ๓. ปุเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติที่เกิดมาแล้วในกาลก่อนได้
    ๔. อตีตังสญาณ รู้เหตุการณ์ในอดีตได้
    ๕. อนาคตังสญาณ รู้เหตุการณ์ในกาลข้างหน้าต่อไปได้
    ๖. ปัจจุปปันนังสญาณ รู้เหตุปัจจุบันว่า ขณะนี้อะไรเป็นอะไรได้
    ๗. ยถากัมมุตาญาณ รู้ผลกรรมของสัตว์ บุคคล เทวดา และพรหมได้ว่าเขามีสุขมีทุกข์
    เพราะผลกรรมอะไรเป็นเหตุ
    การฝึกกสิณจนถึงระดับดีมีผลมากอย่างนี้ ขอนักปฏิบัติจงอย่าท้อถอย สำหรับวันเวลาหรือ
    ไม่นานตามที่ท่านคิดหรอก จงอย่าเข้าใจว่าต้องใช้เวลาแรมปี คนว่าง่ายสอนง่ายปฏิบัติตามนัยพระพุทธ-
    เจ้า สั่งสอนแล้ว ไม่นานเลย นับแต่อย่างเลวจัดๆ ก็สามเดือน เป็นอย่างเลวมาก อย่างดีมากไม่เกิน
    เจ็ดวันเป็นอย่างช้า ทั้งนี้ อาจจะเป็นเพราะท่านผู้นั้นเคยได้ทิพยจักษุญาณมาในชาติก่อนๆ ก็ได้เพราะ
    ท่านกล่าวไว้ในวิสุทธิมรรรคว่า "ท่านที่เคยได้ทิพยจักษุญาณมาในชาติก่อนๆ แล้วนั้น พอเห็นแสงสว่าง
    จากช่องฝาหรือหลังคา ก็ได้ทิพยจักษุญาณทันที" เคยพบมาหลายคนเหมือนกัน แม้แต่มโนมยิทธิซึ่ง
    เป็นของยากกว่าหลายร้อยรายที่พอฝึกเดี๋ยวนั้น ไม่ทันถึงชั่วโมงเธอก็ได้เลย ทำเอาครูอายเสียเกือบแย่
    เพราะครูเองก็ย่ำต๊อกมาแรมเดือน แรมปี กว่าจะพบดีเอาความรู้นี้มาสอนได้ก็ต้องบุกป่าบุกโคลน
    ขึ้นเขาลำเนาไม้เสียเกือบแย่ แต่ศิษย์คว้าปับได้บุปอย่างนี้ ครูจะไม่อาย แล้วจะไปรออายกันเมื่อไร แต่ก็
    ภูมิใจอยู่นิดหนึ่งว่า ถึงแม้ครูจะทึบ ก็ยังมีโอกาสมีศิษย์ฉลาดพออวดกับเขาได้
    กำหนดภาพถอนภาพ เมื่อรู้อานิสงส์อาโลกกสิณแล้ว ก็จะได้แนะวิธีใช้ฌานจากฌานใน
    กสิณต่อไป การเห็นภาพเป็นประกายและรักษาภาพไว้ได้นั้นเป็นฌานต้องการจะดูนรกสวรรค์ พรหมโลก
    หรืออะไรที่ไหน จงทำดังนี้ กำหนดจิตจับภาพกสิณตามที่กล่าวมาแล้วให้มั่นคง ถ้าอยากดูนรก ก็กำหนด
    จิตลงต่ำแล้วอธิฐานว่าขอภาพนี้จงหายไป ภาพนรกจงปรากฏขึ้นมาแทน เท่านี้ภาพนรกก็จะปรากฏ
    อยากดูสวรรค์กำหนดจิตให้สูงขึ้น แล้วคิดว่า ขอภาพกสิณจงหายไป ภาพสวรรค์จงปรากฏแทน ภาพ
    พรหม หรืออย่างอื่นก็ทำเหมือนกัน ถ้าฝึกกสิณคล่องแล้วไม่มีอะไรอธิบายอีก เพราะภาพอื่นที่จะเห็น
    ก็เพราะเห็นภาพกสิณก่อน แล้วกำหนดจิตให้ภาพกสิณหายไป เอาภาพใหม่มาแทน การเห็นก็เห็น
    ทางใจเช่นเดียวกับภาพกสิณ แต่ชำนาญแล้วก็เห็นชัดเหมือนเห็นด้วยตา เล่นให้คล่อง จนพอคิดว่าจะรู้
    ก็รู้ได้ทันทีทันใด ไม่ว่าตื่นนอนใหม่ กำลังง่วงจะนอน ร้อน หนาว ปวด เมื่อย หิว เจ็บไข้ได้ป่วยทำได้
    ทุกเวลาอย่างนี้ก็ชื่อว่าท่านได้กสิณกองนี้แล้วและได้ทิพยจักษุญาณแล้ว เมื่อได้ทิพยจักษุญาณเสียอย่าง-
    เดียว ญาณต่าง ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ก็ไม่มีอะไรจะต้องทำ ได้ไปพร้อมๆ กัน เว้นไว้แต่ปุพเพนิวา-
    สานุสสติญาณ ท่านว่าต้องมีแบบฝึกต่างหาก แต่ตามผลปฏิบัติพอได้ทิพยจักษุญาณเต็มขนาดแล้ว ก็เห็น
    ระลึกชาติได้กันเป็นแถว ใครจะระลึกได้มาก ได้น้อยเป็นเรื่องของความขยันและขี้เกียจ ใครขยันมาก
    ก็ระลึกได้มาก ขยันน้อยก็ระลึกได้น้อย ขยันมากคล่องมาก ขยันน้อยคล่องน้อย ไหน ๆ ก็พูดมาถึง
    ปุพเพนิวาสานุสสติญาณแล้ว ขอนำวิธีฝึกปุพเพนิวาสานุสสติญาณมากล่าวต่อกันไว้เสียเลย
    ฝึกปุพเพนิวาสานุสสติญาณ การเจริญปุพเพนิวาสานุสสติญาณ คือฝึกวิชาการระลึก
    ชาตินั้น ท่านให้ทำดังต่อไปนี้ ท่านให้เข้าฌาน ๔ ในกสิณอย่างใดอย่างหนึ่ง ต้องเป็นฌานในกสิณ
    อย่างอื่นไม่ได้ นี่ว่าเฉพาะคนเริ่มฝึกใหม่ ไม่เคยได้ปุพเพนิวาสานุสสติญาณมาในชาติก่อนๆ เมื่อเข้า
    ฌาน ๔ แล้ว ออกจากฌาน ๔ มาพักอารมณ์อยู่เพียงอุปจารฌาน เรื่องฌานและอุปจารฌานนี้ขอให้
    ทำความเข้าใจเอาตอนที่ว่าด้วยฌานจะเขียนต่อไปข้างหน้า หากประสงค์จะทราบก็ขอให้เปิดต่อไป
    ในข้อที่ว่าด้วยฌาน เมื่อพักจิตอยู่เพียงอุปจารฌานแล้ว ก็ค่อย คิดย้อนถอยหลังถึงเหตุการณ์
    ที่ล่วงมาแล้วในอดีตตั้งแต่เมื่อตอนสายของวัน ถอยไปตามลำดับถึงวันก่อนๆ เดือนก่อนๆ ปีก่อนๆ
    และชาติก่อนๆ ตามลำดับ ถ้าจิตฟุ้งซ่านก็พักคิดเข้าฌานใหม่ พอจิตสบายก็ถอยออกมา แล้วถอย
    ไปตามที่กล่าวแล้ว ไม่นานก็จะค่อยๆ รู้ค่อยๆ เห็น การรู้การเห็นเป็นการรู้เห็นด้วยกำลังฌาน
    อันปรากฏเป็นรูปของฌาน คือ รู้เห็นทางใจอย่างเดียวกับทิพยจักษุญาณเห็นคล้ายดูภาพยนต์
    เห็นภาพพร้อมกับรู้เรื่องราวต่างๆ พร้อมกันไป รู้ชื่อ รู้อาการ รู้ความเป็นมาทุกอย่าง เป็นการสร้าง
    ความเพลิดเพลินแก่นักปฏิบัติ ทำให้เกิดความรื่นเริงหรรษา มีความสบายใจเป็นพิเศษ ดีกว่ามั่วสุม
    กับคนมากที่เต็มไปด้วยกิเลสและตัณหา มีประโยชน์ในการเจริญวิปัสสนาญาณมาก เพราะรู้แจ้ง
    เห็นจริงว่า การเกิดแล้วตาย ตายแล้วเกิด หาที่สุดมิได้นี้เป็นความจริง การเกิดแต่ละครั้งก็เต็มไปด้วย
    ความทุกข์ทุรนทุรายไม่มีอะไรเป็นสุข บางคราวเกิดในตระกูลยากจน บางคราวเกิดในตระกูลเศรษฐี
    บางคราวเกิดในตระกูลกษัตริย์ ทรงอำนาจวาสนา บางคราวเป็นเทวดา บางคราวเป็นพรหม บางคราว
    เป็นสัตว์นรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย สัตว์เดียรัจฉาน รวมความว่าเราเป็นมาแล้วทุกอย่าง ไม่ว่าเกิด
    เป็นอะไรก็เต็มไปด้วยความทุกข์ หาการพ้นทุกข์เพราะการเกิดไม่ได้เลย เมื่อเห็นทุกข์ในการเกิด
    ก็เป็นการเห็นอริยสัจ ๔ จัดว่าเป็นองค์วิปัสสนาญาณ อันดับสูง การเห็นด้วยปัญญาญาณจัดเข้าใน
    ประเภทรู้แจ้งเห็นจริง ไม่ใช่เห็นแบบวิปัสสนึก คือ การคาดคะเนเดาเอาเอง เดาผิดบ้างถูกบ้างตาม
    อารมณ์คิดได้บ้าง หลง ๆ ลืมๆ บ้าง เป็นวิปัสสนึกที่ให้ผลช้าอาจจะเข้าใจในอริยสัจได้แต่ก็นานมาก
    และทุลักทุเลเกินสมควร ที่เหลวเสียนั่นแหละมาก ส่วนที่ได้เป็นมรรคผลมีจำนวนน้อยเต็มทน
    ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ผ่อนคลายมานะ นอกจากจะทราบประวัติของตนเองในอดีต-
    ชาติแล้ว ยังช่วยทำให้มีปัญญาญาณรู้แจ้งเห็นจริงในอริยสัจได้โดยง่าย ยิ่งกว่านั้นยังคลายมานะ ความ
    ถือตนถือตัว อันเป็นกิเลสตัวสำคัญ ที่แม้พระอนาคามีก็ยังตัดไม่ได้ จะตัดได้ก็ต่อเมื่อถึงอรหัตตผล
    นั่นแหละ แต่เมื่อท่านได้ญาณนี้แล้ว ถ้าท่านคิดรังเกียจใคร คนหรือสัตว์ รังเกียจในความโสโครก หรือ
    ฐานะ ชาติตระกูล ท่านก็ถอยหลังชาติเข้าไปหาว่า ชาติใด เราเคยเป็นอย่างนี้บ้าง ท่านจะพบว่าท่านเอง
    เคยครองตำแหน่งนี้มาก่อน เมื่อพบแล้ว จงเตือนใจตนเองว่า เมื่อเราเป็นอย่างเขามาก่อน เขากับเราก็มี
    สภาพเสมอกัน เราเป็นอย่างนั้นมาก่อน เขากับเรามีสภาพเสมอกัน เราเป็นอย่างนั้นมาก่อนเขา
    ก็ชื่อว่าเราเป็นต้นตระกูล สภาพการณ์อย่างนั้น ที่เขาเป็นอย่างนั้น เพราะเขารับมรดกตกทอดมาจากเรา
    เราจะมารังเกียจทายาทของเราด้วยเรื่องอะไร ถ้าเรารังเกียจทายาท ก็ควรจะรังเกียจตัวเองให้มากกว่า
    เพราะทราบแล้วว่าเป็นอย่างนั้นไม่ดี เป็นที่น่ารังเกียจ เราทำไมจึงไม่ทำลายกรรมนั้นเสีย กลับปล่อยให้
    เป็นมรดกตกทอดมาให้บรรดาอนุชนรุ่นหลังต้องรับกรรมต่อ ๆ กันมา เป็นความชั่วร้ายเลวทรามของ
    เราต่างหาก ไม่ใช่เขาเลว คิดตัดใจว่า เราจะไม่ถือเพศ ชาติตระกูล ฐานะเป็นสำคัญ ใครเป็นอย่างไร
    ก็มีสภาพเสมอกันโดยเกิดแล้วตายเหมือนกันหมด ฐานะความเป็นอยู่ ชาติ ตระกูล ในปัจจุบัน เป็น
    เสมือนความฝันเลื่อนลอย ไม่มีอะไรเป็นของจริง ในที่สุดก็ต้องตกเป็นเหยื่อของมัจจุราชทั้งสิ้น คิดตัด
    อย่างนี้ จะบรรเทามานะ ความถือทะนงตัวเสียได้ ความสุขสงบใจก็จะมีตลอดวันคืน จะก้าวสู่อรหัตตผล
    ได้อย่างไม่ยากนัก
    <o:p></o:p>
    มโนมยิทธิ มโนมยิทธิแปลว่ามีฤทธิ์ทางใจ ในที่นี้ท่านหมายเอาการถอดจิตออกจากร่าง
    แล้วท่องเที่ยวไปในภพต่างๆ ความจริงมโนมยิทธินี้ ท่านจัดไว้ในส่วนอภิญญา แต่เพราะท่านที่ทรง
    วิชชาสาม ก็สามารถจะทำได้ จึงขอนำมากล่าวไว้ในวิชชาสาม
    เมื่อท่านทรงฌาน ได้ในกสิณอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ก็เป็นอันว่าท่านมีสิทธิ์ที่จะทรงมโน-
    มยิทธิได้ เช่นเดียวกับได้ทิพยจักษุญาณแล้ว ก็มีสิทธิ์ได้ญาณอีกเจ็ดอย่าง ได้ตามที่กล่าวมาแล้วในข้อ
    ว่าด้วยทิพยจักษุญาณท่านประสงค์จะท่องเที่ยวไปในสถานที่ต่างๆ จะเป็นภพใดก็ตาม นรก สวรรค์
    พรหม นิพพาน ดินแดนในมนุษยโลกทุกหนทุกแห่ง ดาวพระอังคาร พระจันทร์ พระศุกร์ ไม่ว่าบ้านใคร
    เมืองใคร เมืองฝรั่ง เมืองแขก เมืองเจ็ก เมืองญวน ท่านไปได้ทุกหนทุกแห่ง โดยไม่ต้องเสียเวลา
    รอคอยใคร ไม่ต้องยืมจมูกคนขับเคลื่อน หรือเจ้านายเหนือหัวคนใด ที่จะคอยกำหนดเวลาออกเวลาถึงให้
    ไม่ต้องเสียค่าพาหนะมากมายอะไร เพียงกินข้าวเสียให้อิ่ม เพียงอิ่มเดียว ซื้อตั๋วด้วยธูปสามดอก เทียน
    หนึ่งเล่ม ดอกไม้สามดอก ถ้าหาได้ หากหาไม่ได้ท่านก็ให้ไปฟรี ไม่ต้องเสียอะไร เพราะท่านเอา
    เฉพาะที่หาได้ ถ้าหาไม่ได้ ท่านอนุญาตใช้เวลาไม่ถึงนาทีก็ไปถึงจุดหมายปลายทางได้ จะเข้าบ้าน
    สถานทำงาน ห้องนอนใครก็ตาม เข้าได้ตามความประสงค์ ไม่ต้องขออนุญาตเจ้าของบ้าน สำรวจ
    ความลับได้ดีมากใครทำอะไร ซุกซ่อนอะไรไว้ที่ไหนมีเมียน้อยเมียเก็บไว้ที่ไหน ก็สำรวจได้หมด
    ไม่มีทางปกปิด วิธีทำเพื่อไปทำอย่างนี้
    ท่านให้เข้าฌาน ทำจิตให้โปร่งสว่างไสวดีแล้ว กำหนดจิตว่า ขอร่างกายนี้จงเป็นโพรง
    ก็จะเห็นว่าร่างกายเป็นโพรงใหญ่ ต่อแต่นั้นกำหนดจิตว่า ขอร่างอีกร่างหนึ่งจงปรากฏขึ้นภายในกายนี้
    กายอีกกายหนึ่งก็จะปรากฏขึ้น ต่อไปก็ค่อยบังคับกายนั้น ให้เคลื่อนไปตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย แม้
    กระทั่งตับไตไส้ปอดลำไส้ทุกส่วน เส้นเลือดทุกเส้น ประสาททุกส่วน บังคับให้กายนั้นเดินไปตรวจ
    ให้ถ้วนทั้งร่างกายจะเห็นว่าแม้เส้นเลือดฝอยเส้นเล็กๆ ร่างนั้นก็เดินไปได้อย่างสบาย จะเห็น
    เส้นเลือดนั้นเป็นเสมือนถนนสายใหญ่ เดินได้สะดวก เห็นร่างกายนี้เป็นโพรงใหญ่คล้ายเรือหรือถ้ำ
    ขนาดใหญ่เมื่อท่องเที่ยวในร่างกายจนชำนาญแล้ว ขณะท่องเที่ยวในร่างกาย อย่าหาความชำนาญ
    อย่างเดียว ควรหาความรู้ไปด้วย รู้สภาพของอวัยวะ และรู้สภาพความสกปรกโสมมในร่างกาย จดจำ
    สภาพเมื่อปกติไว้ พอป่วยไข้ไม่สบายตรวจร่างกายภายในได้ว่า มีอะไรชำรุดหรือผิดปกติบ้าง เห็นแจ้ง
    เห็นชัด เป็นแผลหรือชอกช้ำ รู้ชัดเจนไม่แพ้เอ็กซเรย์เลยมีประโยชน์ในทางตรวจร่างกายด้วย เมื่อ
    ชำนาญการตรวจแล้ว ก็กำหนดจิตว่าจะไปที่ใด กำหนดจิตว่าเราจะไปที่นั้น พุ่งกายออกไปก็จะถึงถิ่นที่
    ประสงค์ทันที ใช้เวลาไม่ถึงครึ่งวินาที เมื่อถึงแล้ว จิตจะบอกเองว่าสถานที่นั้นเป็นเมืองอะไร ใครบ้าง
    ที่พบ ไม่ต้องมีคนบอก เพราะสภาพของจิตที่เป็นทิพย์ กิเลสไม่ได้หุ้มห่อไป จึงรู้อะไรได้ตามความเป็น
    จริงเสมอ โดยไม่ต้องอาศัยใครบอก
    มโนมยิทธินี้ ควรสนใจทำให้คล่อง เพียงกำหนดจิตคิดว่า เราจะไปละ เพียงเท่านี้ก็ไปได้
    ทันที ทำได้ทุกขณะ เวลาเดิน ยืน นอน นั่งในท่าปกติ ทำงาน กำลังพูด รับประทานอาหาร เวลา
    ที่ควรฝึกให้ชำนาญมากก็คือ เวลาป่วย ขณะที่ร่างกายมีทุกขเวทนามาก ตอนนั้นสำคัญมาก ยกจิต
    ออกไปเสีย ปล่อยไว้แต่ร่างกายเวทนาจะได้ไม่รบกวน ที่ใดเป็นแดนใหม่ สวรรค์ หรือพรหม ไปอยู่
    ประจำที่นั้นยามปกติควรไปอยู่พักอารมณ์เป็นประจำ ยามป่วยไปอยู่เป็นปกติ หมายความว่า บอกกับ
    คนพยาบาลว่าเวลาเท่านั้นถึงเท่านั้น ฉันจะพักผ่อน อย่าให้ใครมากวน แล้วก็เข้าฌาน ไปสถาน
    ที่อยู่ตามกำลังกุศลที่ทำไว้ ถ้าได้วิมุตติญาณทัสสนะก็ไปนิพพานเลย นิพพานอยู่ที่ไหน ท่านที่ถึง
    วิมุตติญาณทัสสนะเท่านั้นที่จะบอกได้ ท่านที่ยังไม่ถึงงงไปพลางก่อน ขืนบอกไปท่านก็ไม่เชื่อไม่บอก
    ดีกว่า เอาไว้รู้เองเมื่อท่านถึง ผู้เขียนก็งงเหมือนกัน ท่านว่ามาอย่างนี้ ก็เขียนตามท่านไป เมื่อได้แล้ว
    ถึงแล้วก็รู้เอง ผู้เขียนเองก็เหมือนกัน เขียนไปเขียนมาก็ชักอยากรู้นักว่านิพพานอยู่ที่ไหน ประโยชน์
    ของมโนมยิทธิได้กล่าวมาโดยย่อ พอสมควรแล้ว มโนมยิทธิ ตามที่กล่าวมานี้เป็นแบบที่ใช้กันทั่วไป
    มีอีกแบบหนึ่ง เรียนมาจากท่านอาจารย์สุข บ้านคลองแพงพวย อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี
    ของท่านแปลกได้ผลเร็วเกินคาด แบบปกติที่กล่าวมาแล้วนั้น กว่าจะชำนาญในกสิณก็เหงือกบวม
    มีมากรายที่ไม่ได้ปล่อยล่องลอยไปเลยคือเลิกเลยมีมาก บางรายทำไม่สำเร็จ เลยกลายเป็นศัตรู
    พระศาสนาไป ไม่เชื่อผลปฏิบัติแถมค้านเอาเสียอีกด้วย น่าสงสารท่านเหล่านั้นแต่ก็ไม่รู้จะช่วยอย่างไร
    ได้ พอได้ของท่านอาจารย์สุขมา ก็รู้สึกว่ามโนมยิทธิเป็นของง่ายมาก หลายรายพอเริ่มฝึกก็ท่องเที่ยว
    ได้เลย ไม่ข้ามวัน ที่ช้าหน่อยก็ไม่กี่วัน แต่ที่ไม่ได้เลยก็มี เป็นเพราะอะไร ไม่ขอวิจารณ์ บอกไว้แต่
    เพียงว่า ถ้ารู้จักคุมอารมณ์แล้วไม่นานเลยไปได้และแจ่มใสดีกว่าวิธีปกติธรรมดา แบบของท่านมีดังนี้
    ใครอยากได้ก็ขอมอบให้เลย ใกล้ตายแล้วไม่หวง<o:p></o:p>
    มโนมยิทธิ แบบอาจารย์สุข แบบนี้ใครเป็นคนคิดไม่ทราบ ท่านอาจารย์ก็บอกว่า เรียน
    ต่อกันมาหลายรุ่นแล้ว เดิมเป็นใครคิดไม่ทราบ แบบของท่านมีดังนี้
    ๑.ในระยะต้น ท่านเขียนหนังสือลงบนกระดาษที่พับเป็นสามเหลี่ยมเขียนว่า "นะมะพะทะ" สอน
    คาถาภาวนา ให้ศิษย์ภาวนาว่า "นะมะพะทะ" เหมือนหนังสือที่เขียนบนกระดาษ แล้วให้ศิษย์เอากระดาษ
    ปิดหน้า จุดธูปสามดอก เสียบลงบนกระดาษ ศิษย์ภาวนาว่า นะมะพะทะ ตลอดไป จนกว่าจะมีอาการ
    สั่น อาจารย์หยิบกระดาษออก ถามศิษย์ว่าสว่างไหม ? ถ้าศิษย์บอกว่ามืด ท่านก็เอากระดาษสะอาดมา
    จุดไฟ แกว่งที่หน้าศิษย์ใช้คาถาว่า "นะโมพุทธายะ ขอแสงสว่างจงปรากฏแก่ศิษย์" ท่านแกว่งไฟ
    ประเดี๋ยวเดียวศิษย์ก็บอกว่าสว่าง ท่านถามว่า จะไปสวรรค์หรือนรก ศิษย์บอกตามความพอใจ สวรรค์
    หรือนรกก็ได้ตามต้องการ ท่านบอกว่าไปได้ เท่านั้นศิษย์ก็ไปได้ตามประสงค์ไปถึงไหนถามได้ บอกมา
    เรื่อยๆว่า ถึงไหน พบใคร มีรูปร่างอย่างไร แต่ห้ามถูกตัว ลองไปสอบดูแล้ว เห็นเป็นของจริง ให้ไป
    บ้านเมืองไหน ประเทศไหนก็ได้บอกได้ถูกหมด แม้แต่สถานที่เธอไม่เคยไป เมื่อไปถึงแล้ว ถามว่า
    มีอะไรบ้างเธอตอบถูกหมด บอกให้ไปต่างประเทศที่เคยรู้จัก เธอไปถึงแล้วก็บอกถูก เป็นของแปลก
    มาก ได้ขอเรียนมาสอนศิษย์ได้ผลเกินคาด เป็นของเจริญศรัทธาดี และส่งเสริมศรัทธาผู้นั่งรับฟังด้วย
    ตอนแรกจะมีอาการสั่น และออกท่าทางเมื่อจิตตกไป แต่พอสมาธิเข้าจุดอิ่มก็นั่งเงียบสงัดแบบธรรมดา
    แต่แจ่มใสมาก รวดเร็วกว่าแบบธรรมดามาก
    ๒. กระดาษปิดหน้า ถ้าศิษย์คนใดท่องเที่ยวได้แล้ว ต่อไปไม่ต้องปิดอีก ใช้เฉพาะเวลา
    ที่ยังไปไม่ได้เท่านั้น
    ๓. เครื่องบูชาครูมี ดอกไม้สามดอก เอาสามสี เทียนหนักบาท ๑ เล่ม ธูปสามดอก เงิน ๑ สลึง
    สามอย่างนี้ขาดไม่ได้ เงินต้องซื้อของถวายพระ เอาใช้เองไม่ได้
    ๔. ก่อนที่ศิษย์จะเริ่มภาวนา ครูต้องทำน้ำมนต์ก่อน น้ำมนต์ทำด้วย อิติปิโส ฯลฯ ทั้งบท
    พรมศิษย์เมื่อเริ่มทำ และตอนเลิกทำ ท่านว่ากันอารมณ์ฟั่นเฟือนดีมาก
    คนที่ทำเป็นใครก็ได้ บางรายเป็นคนทำงานหนัก พอทิ้งจอบเสียมก็มาทำเลยเห็นท่องเที่ยว
    กันได้ไปเป็นคณะก็ได้ เหมือนเที่ยวธรรมดา ออกมาแล้วพูดเหมือนกันหมด น่าแปลก และน่าดีใจ
    ที่สมัยนี้ยังมีท่านผู้ทรงมโนมยิทธิอภิญญาอยู่ คิดว่าจะสูญไปเสียหมดแล้ว
    <o:p></o:p>
    วิธีใช้ญาณต่างๆ เมื่อเจริญฌานในกสิณจนถึงอุปจารฌานแล้ว ก็เริ่มสร้างทิพยจักษุญาณ
    ได้ เพราะทิพยจักษุญาณนั้น เริ่มมีผลตั้งแต่จิตเข้าสู่อุปจารฌาน มีผลในการรู้บ้างพอสมควรเช่นรู้สวรรค์
    นรก และเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้บ้าง ไม่ถึงกับรู้ตายรู้เกิด คือตายแล้วไปเกิดที่ใด ผู้ที่มาเกิดนั้นมาจากไหน
    รู้เหตุการณ์เพียงผิวเผินกว่านั้น เช่นรู้โรคว่าเป็นโรคอะไร หายได้ด้วยวิธีใด คนนี้จะมีเคราะห์ดีเคราะห์ -
    ร้าย ประการใด รู้เหตุในอดีตและอนาคตได้บ้างพอสมควร รู้สวรรค์ นรก ได้บ้าง แต่ไม่แจ่มใสนัก พูดจา
    กับเทวดาและพรหมได้บ้างคำสองคำ ภาพเทวดาและพรหมก็หายไป ภาพที่เห็นก็ไม่เห็นนาน ประเดี๋ยว
    ก็หายไป จะเอาเรื่องราวที่เป็นการเป็นงานที่ต้องใช้เวลานาน ๆ ก็ต้องกำหนดจิตกันบ่อยครั้ง ทั้งนี้เพราะ
    สมาธิเพียงอุปจารสมาธิ ยังเป็นสมาธิที่ทรงกำลังให้สงบอยู่ได้ไม่นาน ถ้าจะเปรียบ ก็คงเหมือนเด็ก
    เพิ่งสอนเดิน ยืนไม่ได้นาน ยืนเดินได้ชั่วขณะก็ล้มต้องลุกๆ เดินๆ อยู่อย่างนั้น กว่าจะเดินถึงที่หมาย
    ก็ต้องล้มลุกบ่อยๆ ทิพยจักษุญาณระดับอุปจารฌานก็เหมือนอย่างนั้น การเห็นก็ไม่ชัดเจนแจ่มใส
    ยังเห็นไม่เต็มตัว เห็นบนไม่เห็นล่าง เห็นหน้าไม่เห็นขา อย่างนี้เป็นต้น ต่อเมื่อได้สมาธิที่ค่อยๆ
    ฝึกฝนไปนั้นเข้าถึงฌาน ๔ และเข้าฌานออกฌานชำนิชำนาญดีแล้ว ความตั้งมั่นมีมาก ดำรงอยู่
    ได้นานตามความต้องการ ทิพยจักษุญาณก็มีสภาพเข้าเกณฑ์สมบูรณ์ใช้งานได้สะดวก เห็นภาพเต็ม
    พูดกันได้ตลอดเรื่อง รู้ละเอียดจนถึงผลของการตายการเกิด รู้เหตุรู้ผลครบถ้วน ตอนชำนาญใน
    ฌาน ๔ นี้ ท่านเรียกว่า จุตูปปาตญาณ ความจริงก็ทิพยจักษุญาณนั่นเอง แต่เป็นทิพยจักษุญาณ
    ที่มีฌานเต็มขั้น ทิพยจักษุญาณ ขั้นฌานโลกีย์นี้ แม้จะเป็นญาณที่มีฌานเต็มขั้นก็ตาม การรู้การเห็น
    จะให้ชัดเจนแจ่มใสคล้ายกลางวันนั้นไม่ได้ อย่างดีก็มองเห็นได้มัวๆ คล้ายเห็นภาพเวลาพระอาทิตย์
    ลับแล้วเป็นเวลาใกล้ค่ำ เห็นภาพดำๆ พอรู้ได้ว่าอะไรเป็นอะไร จะเห็นชัดเจนตามสมควรได้ต่อเมื่อ
    เข้าถึงความเป็นพระอรหันต์ ท่านเปรียบการเห็นด้วยอำนาจทิพยจักษุญาณนั้นไว้ดังนี้
    ๑. พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เห็นได้คล้ายดูภาพในเวลากลางวัน ที่มีอากาศแจ่มใส
    ๒. พระปัจเจกพุทธเจ้า เห็นได้คล้ายกลางคืน ที่มีพระจันทร์เต็มดวง ไม่มีเมฆหมอกปิดบัง
    ๓. พระอัครสาวกซ้ายขวา เห็นได้คล้ายคนจุดคบเพลิง
    ๔. พระสาวกปกติ เห็นได้คล้ายตนจุดประทีป คือตะเกียงดวงใหญ่ที่มีแสงน้อยกว่าคบเพลิง
    ๕. พระอริยะเบื้องต่ำกว่าพระอรหันต์ มีการเห็นได้คล้ายแสงสว่างจากแสงเทียน
    ๖. ท่านที่ได้ฌานโลกีย์ เห็นได้คล้ายแสงสลัวในเวลาพระอาทิตย์ลับขอบฟ้า
    ระดับการเห็นไม่สม่ำเสมอกันอย่างนี้ เพราะอาศัยความหมดจดและกำลังบารมีไม่เสมอกัน
    นำมากล่าวไว้เพื่อทราบ เมื่อท่านได้และถึงแล้วจะได้ไม่สงสัย มีนักปฏิบัติส่วนใหญ่ที่ทำได้แล้ว และเกิด
    เห็นไม่ชัดได้มาถามบ่อยๆ จึงเขียนไว้เพื่อรู้
    การใช้ญาณ ได้กล่าวแล้วว่า ญาณต่างๆ มีความสว่างตามกำลังของฌานหรือสมาธิ ฉะนั้น
    เมื่อจะใช้ญาณให้เป็นประโยชน์ ก่อนอื่นถ้าได้ทิพยจักษุญาณเบื้องต้นก็ต้องเพ่งรูปกสิณตามกำลัง
    ของสมาธิก่อน เพราะเห็นภาพกสิณชัดเจนเท่าใด ภาพที่ต้องการจะเห็นก็เห็นได้เท่าภาพกสิณที่เห็น
    เมื่อเพ่งภาพกสิณจนเป็นที่พอใจแล้วจึงอธิษฐานให้ภาพกสิณหายไป ขอภาพที่ต้องการจงปรากฏแทน
    ภาพที่ต้องการก็จะปรากฏแทนเห็นได้เท่าภาพกสิณ<o:p></o:p>
    ได้ฌาน
    การใช้ญาณเมื่อชำนาญในฌาน ๔ แล้ว ท่านให้เข้าฌาน ให้เต็มขนาดของฌานก่อน
    จนจิตสงัดเป็นอุเบกขาดีแล้ว ค่อยๆ คลายจิตออกมาสู่อุปจารสมาธิ แล้วกำหนดจิตอธิษฐานว่า ขอภาพที่
    ต้องการจงปรากฏ แล้วเข้าฌาน ใหม่ ออกจากฌาน ๔ กำหนดรู้ ภาพที่ต้องการจะปรากฏแก่จิต
    คล้ายดูภาพยนต์ พร้อมทั้งรู้เรื่องไปตลอดจะใช้ญาณอะไรก็ตาม ทำเหมือนกันหมดทุกญาณ จงพยายาม
    ฝึกฝนให้คล่องแคล่วว่องไว ต้องการเมื่อไรรู้ได้ทันที การรู้จะคล่องหรือฝืดขึ้นอยู่กับฌาน ถ้าเข้าฌาน
    ออกฌานคล่องการกำหนดก็รู้ก็คล่อง ทั้งนี้ต้องหมั่นฝึกหมั่นเล่นทุกวันวันละหลายๆ ครั้ง เล่นทั้งวัน
    ทั้งคืนยิ่งดี ความเพลิดเพลินจะเกิดมีขึ้นแก่อารมณ์ ความรู้ความฉลาดจะปรากฏ ปัญญารู้แจ้งเห็นจริง
    ในส่วนแห่งวิปัสสนาญาณจะเกิดขึ้นอย่างง่ายดาย นิพพิทาญาณ ความเบื่อหน่ายในการเกิดจะปรากฏ
    แก่จิตอย่างถอนไม่ออก ความตั้งมั่นในอันที่จะไปสู่พระนิพพานจะเกิดแก่จิตอย่างชนิดไม่ต้องระวังว่า
    จิตจะคลายจากพระนิพพาน ผลของญาณแต่ละญาณที่จัดว่าเป็นคุณส่งเสริมให้เกิดปัญญาญาณนั้น
    จะนำมากล่าวไว้โดยย่อพอเป็นแนวคิด <o:p></o:p>
    ๑. จุตูปปาตญาณ
    ญาณนี้ เมื่อเล่นบ่อยๆ ดูว่าสัตว์ที่เกิดมานี้มาจากไหน สัตว์ที่ตายไปแล้วไปเกิดที่ไหน
    รู้แล้วอาศัยยถากัมมุตาญาณสนับสนุนให้รู้ผลของกรรม ญาณนั้นใช้ในคราวเดียวกันได้คราวละหลายๆ
    ญาณ เพราะก็เป็นผลของทิพยจักษุญาณเหมือนกัน เมื่อรู้ว่าบางรายมาจากเทวดาบ้าง มาจากพรหม
    บ้าง มาจากอบายภูมิ มีนรก เปรต อสุรกาย สัตว์เดียรัจฉานบ้าง สัตว์ที่ไปเกิดก็ทราบว่า ไปเกิดในแดน
    มนุษย์บ้าง สวรรค์บ้าง พรหมบ้าง และเกิดในอบายภูมิบ้าง คนรวยเกิดเป็นคนจน คนจนเกิดเป็นมหา-
    เศรษฐี สัตว์เกิดเป็นมนุษย์เพราะผลของกรรมดีและกรรมชั่วที่สั่งสมไว้ เมื่อรู้เห็นความวนเวียนใน
    ความตายความเกิดที่เอาอะไรคงที่ไม่ได้อย่างนี้ มองเห็นโทษของสัตว์ที่เกิดในอบายภูมิ เห็นความสุข
    ในสวรรค์และพรหม และเห็นความไม่แน่นอนในการเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม ที่ต้องจุติคือตายจาก
    สภาพเดิมที่แสนสุข มาเกิดในมนุษย์หรืออบายภูมิ อันเป็นดินแดนที่เต็มไปด้วยความทุกข์เพราะความ
    ไม่แน่นอนผลักดัน เป็นผลของอนัตตาที่เป็นกฎประจำโลกไม่มีใครจะทัดทานห้ามปรามได้ มองดูการ
    วนเวียนในการตายและเกิดไม่มีอะไรสิ้นสุด ในที่สุดก็มองเห็นทุกข์เป็นการเห็นอริยสัจ มีความเบื่อหน่าย
    ในการเกิด เป็นนิพพิทาญาณในวิปัสสนาญาณ เป็นปัญญาที่เกิดจากญาณในสมถะคือจุตูปปาตญาณ
    ญาณนี้ได้สร้างปัญญาในวิปัสสนาญาณให้เกิดขึ้นเพราะผลของสมถะ คือ จุตูปปาตญาณ เพราะเหตุที่
    ่สาวหาต้นสายปลายเหตุจากการเกิดและการตายในที่สุดก็เกิดการเบื่อหน่ายดังว่ามาแล้ว ถ้าปฏิบัติ
    ถึงแล้ว จงแสวงหาความรู้จากความเกิดและความตายของตนเองและสัตว์โลกทั้งมวล ทุกวันทุกเวลา
    จะเป็นครูสอนตนเองได้ดีที่สุด ผลดีจะมีเพียงใด ท่านจะทราบเองเมื่อปฏิบัติถึงแล้ว <o:p></o:p>
    ๒. เจโตปริยญาณและประโยชน์
    เจโตปริยญาณ แปลว่ารู้ใจคน คือรู้อารมณ์จิตใจคนและสัตว์ ว่าขณะนี้เขามีอารมณ์จิต
    เป็นอย่างไร มีความสุขหรือทุกข์ หรือมีอารมณ์ผ่องใส เพราะไม่มีอะไรมารบกวนจิตใจให้ขุ่นมัว
    ที่เรียกว่าอุเบกขารมณ์ คืออารมณ์เฉยๆ ไม่มีสุขและทุกข์เจือปน รู้จิตของผู้นั้น แม้แต่จิตของเราเอง
    ว่า มีกิเลสอะไรเป็นกิเลสนำ คือมีอะไรกล้าในขณะนี้จิตของผู้นั้นเป็นจิตประกอบด้วยกุศลหรืออกุศล
    เป็นจิตของท่านผู้ทรงฌาน หรือเป็นจิตประกอบด้วยนิวรณ์รบกวน เป็นพระอริยะชั้นใด การจะรู้จิตของ
    ท่านผู้ใดว่ามีอารมณ์จิตของผู้ทรงฌาน หรือเป็นพระอริยะอันดับใดนั้น เราเองต้องเป็นผู้ทรงฌานระดับ
    เดียวกันหรือสูงกว่าการจะรู้ว่าท่านผู้นั้นเป็นพระอริยเจ้าหรือไม่และระดับใด เราก็ต้องเป็นพระอริยะด้วย
    และมีระดับเท่า หรือสูงกว่า ท่านที่มีฌานต่ำกว่าจะรู้ระดับฌานของท่านผู้ได้ฌานสูงกว่าไม่ได้ ท่านที่
    ไม่ได้ทรงความเป็นอริยะ จะรู้คุณสมบัติทางจิตของพระอริยะไม่ได้ ท่านที่เป็นพระอริยะต่ำกว่า จะรู้
    ความเป็นพระอริยะสูงกว่าไม่ได้ กฎนี้เป็นกฎตายตัวควรจดจำไว้อย่าพยากรณ์บุคคลผู้ทรงคุณสูงกว่า
    ถ้าไม่ได้อะไรเลยก็จงอย่ากล้าพยากรณ์ผู้อื่น เพราะพยากรณ์พลาดจากความเป็นจริง มีโทษหนักในทาง
    ปฏิบัติ เพราะเราจะกลายเป็นโมฆโยคีไป คือประกอบความเพียรด้วยการไร้ผล ในฐานะที่อาจเอื้อม
    ยกตนเหมือนพระอริยะ เป็นกรรมหนักมาก ควรละเว้นเด็ดขาด<o:p></o:p>
    สีของจิต
    สีของจิตนี้ ในที่บางแห่งท่านเรียกว่า "น้ำเลี้ยงของจิต" ปรากฏเป็นสีออกมาโดยอาศัยอารมณ์
    ของจิตเป็นตัวเหตุ สีนั้นบอกถึงจิตเป็นสุข เป็นทุกข์ อารมณ์ขัดข้องขุ่นมัว หรือผ่องใส ท่านโบราณาจารย์
    ท่านกล่าวไว้ดังนี้
    ๑. จิตที่มีความยินดีด้วยการหวังผลอย่างใดอย่างหนึ่ง กระแสจิตมีสีแดงปรากฏ
    ๒. จิตที่มีอารมณ์โกรธ หรือมีความอาฆาตจองล้างจองผลาญ กระแสจิตมีสีดำ
    ๓. จิตที่มีความผูกพันด้วยความลุ่มหลง เสียดายห่วงใยในทรัพย์สิน และสิ่งที่มีชีวิต กระแสจิต
    มีสีคล้ายน้ำล้างเนื้อ
    ๔. จิตที่มีกังวล ตัดสินใจอะไรไม่ได้เด็ดขาด มีความวิตกกังวลอยู่เสมอ กระแสจิตมีสีเหมือน
    น้ำต้มถั่วหรือน้ำซาวข้าว
    ๕. จิตที่มีอารมณ์น้อมไปในความเชื่อง่าย ใครแนะนำอะไรก็เชื่อ โดยไม่ใคร่จะตริตรอง
    ทบทวนหาเหตุผลว่าควรหรือไม่เพียงใด คนประเภทนี้เป็นประเภทที่ถูกต้มถูกตุ๋นเสมอๆ จิตของคน
    ประเภทนี้กระแสมีสีเหมือนดอกกรรณิการ์ คือ สีขาว
    ๖. คนที่มีความเฉลียวฉลาด รู้เท่าทันเหตุการณ์เสมอ เข้าใจอะไรก็ง่าย เล่าเรียนก็เก่ง
    จดจำได้ดี ปฏิภาณ ไหวพริบก็ว่องไว คนประเภทนี้ กระแสจิตมีสีผ่องใสคล้ายแก้วประกายพรึกหรือ
    ในบางแห่งท่านว่า คล้ายน้ำที่ปรากฏกลิ้งอยู่ในใบบัว คือมีสีใสคล้ายเพชร <o:p></o:p>
    สีของจิตโดยย่อ
    เพื่อประโยชน์ในการสังเกตง่ายๆ แบ่งสีของจิตออกเป็นสามอย่าง คือ
    ๑. จิตมีความดีใจ เพราะผลอย่างใดอย่างหนึ่ง กระแสจิตมีสีแดง
    ๒. จิตมีทุกข์เพราะความปรารถนาไม่สมหวัง กระแสจิตมีสีดำ
    ๓. จิตบริสุทธิ์ผ่องใสไม่มีกังวล คือสุขไม่กวน ทุกข์ไม่เบียดเบียน จิตมีสีผ่องใส<o:p></o:p>
    กายในกาย เมื่อรู้ลักษณะของจิตแล้ว ก็ควรรู้ลักษณะของกายในไว้เสียด้วยในมหาสติปัฏ-
    ฐานสูตร พระพุทธเจ้าตรัสถึงกายในกายไว้ สำหรับนักปฏิบัติขั้นต้นก็ถือเอาอวัยวะภายใน เป็นกายในกาย
    ส่วนท่านที่ได้จุตูปปาตญาณแล้ว ก็ถือเอากายที่ซ้อนกายอยู่นี้เป็นกายในกาย กายในกายนี้มีไดอย่างไร
    ขอตอบว่า เป็นกายประเภทอทิสมานกายคือดูด้วยตาเนื้อไม่เห็น ต้องดูด้วยญาณจึงเห็น ตามปกติกาย
    ในกายหรือกายซ้อนกายนี้ก็ปรากฏตัวให้เจ้าของกายรู้อยู่เสมอในเวลาหลับ ในขณะหลับนั้น ฝันว่าไปไหน
    ทำอะไรที่อื่นจากสถานที่เรานอนอยู่ ตอนนั้นเราว่าเราไป และทำอะไรต่ออะไรอยู่ความจริงเรานอนและ
    เมื่อไปก็ไปจริงจำเรื่องราวที่ไปทำได้ บางคราวฝันว่าหนีอะไรมา พอตื่นขึ้นก็เหนื่อยเกือบตาย กายนั้น
    แหละ ที่เป็นกายซ้อนกาย หรือกายในกาย ตามที่ท่านกล่าวไว้ในมหาสติปัฏฐาน ตามที่นักเจโตปริยญาณ
    ต้องการรู้ กายในกายนี้แบ่งออกเป็น ๕ ขั้น คือ <o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    ๑. กายอบายภูมิ มีรูปร่างลักษณะ คล้ายกับคนขอทานที่มีแต่กายเศร้าหมองอิดโรยหน้าตา
    ซูบซีดไม่ผ่องใส พวกนี้ตายแล้วไปอบายภูมิ
    ๒. กายมนุษย์ มีรูปร่างลักษณะค่อนข้างผ่องใส เป็นมนุษย์เต็มอัตรา กายมนุษย์นี้ต่างกันบ้าง
    ที่ มีส่วนสัดผิวพรรณ ขาวดำ สวยสดงดงามไม่เสมอกัน แต่ลักษณะก็บอกความเป็นมนุษย์ชัดเจน พวกนี้
    ตายแล้วไปเกิดเป็นมนุษย์อีก
    ๓. กายทิพย์ คือกายเทวดาชั้นกามาวจร มีลักษณะผ่องใส ละเอียดอ่อน ถ้าเป็นเทพชั้นอากาศ
    เทวดา หรือรุกขเทวดาขึ้นไป ก็จะเห็นสวมมงกุฎแพรวพราว เครื่องประดับสวยสดงดงามมาก ท่านพวกนี้
    ตายแล้วไปเกิดเป็นเทวดาชั้นกามาวจรสวรรค์
    ๔. กายพรหม มีลักษณะคล้ายเทวดา แต่ผิวกายละเอียดกว่า ใสคล้ายแก้ว มีเครื่องประดับ
    สีทองล้วน แลดูเหลืองแพรวพราวไปหมด ตลอดจนมงกุฎที่สวมใส่ ท่านพวกนี้ตายไปแล้ว ไปเกิดเป็น
    พรหม
    ๕. กายแก้ว หรือกายธรรม ที่เรียกว่าธรรมกายก็เรียก กายของท่านประเภทนี้ เป็นกายของ
    พระอรหันต์ จะเห็นเป็นประกายพรึกทั้งองค์ ใสสะอาดยิ่งกว่ากายพรหมและเป็นประกายทั้งองค์ ท่าน
    พวกนี้ตายแล้วไปนิพพาน การที่จะรู้กายพระอรหันต์ได้ต้องเป็นพระอรหันต์เองด้วย มิฉะนั้นจะดูท่าน
    ไม่รู้เลย
    ตามที่กล่าวมา ตั้งแต่ข้อหนึ่งถึงข้อสี่นั้น กล่าวว่า ท่านพวกนั้นตายแล้วไปเกิดที่นั้นๆ หมายถึง
    ว่าท่านพวกนั้นไม่สร้างกรรมดีหรือกรรมชั่วที่มีกำลังแรงกว่าที่เห็น พวกไปสร้างกรรมดีหรือกรรมชั่ว
    ที่แรงกว่า ก็ย่อมไปเสวยผลตามกรรมที่ให้ผลแรงกว่า
    เจโตปริยญาณมีผลตามที่กล่าวมาแล้ว การรู้อารมณ์จิตนั้นมีประโยชน์มาก โดยเฉพาะก็คือ
    การรู้อารมณ์จิตของตนเองนั่นแหละสำคัญมาก จะได้คอยสกัดกั้นอารมณ์ชั่วร้ายที่เป็นกิเลสและอุปกิเลส
    ไม่ให้มาพัวพันกับจิต ด้วยการคอยตรวจสอบกระแสจิตดูว่าขณะนี้จิตเราจะมีสีอะไร ควรรังเกียจสีทุก
    ประเภท อย่าให้สีทุกอย่างแม้แต่นิดหนึ่งปรากฏแก่จิต เพราะสีทุกอย่างที่ปรากฏนั้น เป็นอาการของ
    กิเลสทั้งสิ้น สีที่ต้องการและสนใจเป็นพิเศษก็คือ สีใสคล้ายแก้ว ควรแสวงหาให้มีประจำจิตเป็นอันดับแรก
    ต้องเป็นแก้วทั้งแท่ง อย่าให้มีแกนที่เป็นสีปนแม้แต่นิดหนึ่ง สีที่เป็นแก้วนี้ เป็นอาการของจิตที่ทรง
    ฌาน ๔ ท่านผู้ทรงฌานหนึ่ง หรือที่เรียกว่า ปฐมฌานจะมีกระแสจิตเหมือนเนื้อที่ถูกแก้วบางๆ เคลือบไว้
    ภายนอก ท่านที่ทรงฌานสอง หรือที่เรียกว่าทุติยฌานมีเสมือนแก้วเคลือบหนาลงไปครึ่งหนึ่ง ท่านที่ทรง
    ฌานสาม หรือที่เรียกว่าตติยฌาน มีภาพเหมือนแก้วเคลือบหนามาก เห็นแกนในสั้นไม่เต็มดวง และเป็น
    แกนนิดหน่อย ท่านที่ทรงฌานสี่ หรือที่เรียกว่า จตุตถฌาน กระแสจิตจะดูเป็นแก้วทั้งดวง เป็นเสมือน
    ก้อนแก้วลอยอยู่ในอก

    จิตของพระอริยะ

    ๑. ท่านที่มีอารมณ์วิปัสสนาญาณเล็กน้อย เรียกว่าได้เจริญวิปัสสนาญาณพอมีผลบ้าง จะเห็น
    จิตเริ่มมีประกายออกเล็กน้อย เป็นลักษณะบอกชัดว่า ท่านผู้นั้นได้เจริญวิปัสสนาญาณได้ผลบ้างแล้ว
    ๒. พระโสดาบัน กระแสจิตจะเกิดเป็นประกายคลุมจิตเข้ามา ประมาณหนึ่งในสี่
    ๓. พระสกิทาคามี กระแสจิตจะมีประกายออกประมาณครึ่งหนึ่ง
    ๔. พระอนาคามี กระแสจิตจะเป็นประกายเกือบหมดดวง จะเหลือส่วนที่ไม่เป็นประกาย
    นิดหน่อย
    ๕. ท่านได้บรรลุอรหันต์กระแสจิตจะเป็นประกายหมดทั้งดวง คล้ายดาวประกายพรึกลอยอยู่
    ในอก กระแสจิตที่เป็นประกายทั้งดวงนี้ ควรเป็นกระแสจิตที่นักปฏิบัติสนใจและพยายามแสวงหามา
    ให้ได้ ถึงแม้ว่าจะต้องเสียชีวิต เพราะได้มาซึ่งกระแสจิตผ่องใสเป็นประกายแล้ว ก็ควรเอาชีวิตเข้าแลก
    ประกายจิตไว้ เพราะถ้าได้จิตเป็นประกายก็จะหมดทุกข์สิ้นกรรมกันเสียที มีพระนิพพานเป็นที่ไป จะพบ
    แต่สุขอย่างประเสริฐ ไม่มีทุกข์ภัยเจือปนเลย
    ท่านที่ได้เจโตปริยญาณ มีผลเพื่อเสริมสร้างความบริสุทธิ์ผุดผ่องของจิตอย่างนี้ และสามารถ
    ควบคุมจิตให้สะอาดผ่องใส ปราศจากละอองธุลี อันเป็นผลของกิเลสตลอดเวลา รวมทั้งรู้อารมณ์จิต
    ของผู้อื่นด้วย การรู้อารมณ์จิตของท่านผู้อื่นก็มีประโยชน์มาก เพราะถ้ารู้ว่าท่านผู้ใดทรงคุณธรรม
    สูงกว่า เพราะกระแสจิตผ่องใสกว่า จนพยากรณ์ไม่ได้ แสดงว่าสูงกว่าเราด้วยคุณธรรมแน่แล้ว ก็ควร
    รีบเข้าไปกราบไหว้ท่าน ขอให้ท่านเป็นครูบาอาจารย์สั่งสอนเพื่อผลต่อไป ถ้าเห็นว่าด้อยกว่า ก็ควรคิด
    ให้อภัยเมื่อผู้นั้นล่วงเกิน หรือพลั้งพลาด ถ้าเป็นครูสอนสมณธรรม ก็ได้ประโยชน์มาก จะได้ให้กรรมฐาน
    ที่พอเหมาะพอดีแก่อัชฌาสัยและจริตศิษย์ จะได้ผลว่องไวในการปฏิบัติ
    สำหรับทราบกายในกายก็เหมือนกัน กายคือจิต จิตก็คือกาย เพราะเวลาถอดกายในออก
    ก็มีสภาพเป็นกาย ไม่ใช่เป็นก้อนเป็นแท่งตามที่คนทั่วไปคิด เมื่อถอดกายในกายออก กายในจะปรากฏ
    ตามบุญญาธิการที่สั่งสมอบรมไว้ ถ้าบุญมีผลเพียงเทวดา กายในกายก็จะมีรูปเป็นเทวดา เมื่อออก
    จากร่างนี้ไปสู่ภพอื่น ถ้ามีฌาน ร่างกายในก็จะปรากฏเป็นพรหม ถ้าหมดกิเลส กายในกายก็จะสด
    สะอาด มีประกายออก ร่างใสคล้ายแก้วสุกสว่างมีแสงสว่างมาก ร่างอย่างนี้จะปรากฏเมื่อถอดกาย
    ในกายออกท่องเที่ยว
    เจโตปริยญาณนี้ นอกจากจะรู้ความรู้สึกนึกคิดของตนและสัตว์แล้ว ก็ยังรู้ภาวะของจิตใจคน
    และสัตว์ที่มีบุญและบาปสั่งสมไว้มากน้อยเพียงใด ที่มีประโยชน์มากที่สุดก็คือรู้อารมณ์จิตของตนเองว่า
    ขณะนี้เป็นจิตที่ประกอบด้วยกุศลหรืออกุศล จิตมีกิเลสอะไรสั่งสมอยู่มากน้อยเพียงใด กิเลสที่สำคัญก็คือ
    กิเลสที่เป็นอนุสัย คือกิเลสที่มีกำลังน้อยไม่ค่อยจะแสดงอาการปรากฏชัดเจนนัก แต่ก็ฟูขึ้นในบางขณะ
    ยามปกติก็มีอาการนิ่งสงบ เช่น อารมณ์สมถะที่เป็น อุปกิเลสของวิปัสสนาญาณ อารมณ์ของสมถะนั้น
    จะแสดงอาการสงบแนบนิ่งมาก จนความไหวทางจิตในเรื่องความใคร่ ความโกรธแค้นขุ่นเคือง
    ความสั่งสมผูกพันไม่มีอาการปรากฏ จนเจ้าของเองคิดว่า เรานี่สำเร็จมรรคผลเสียแล้วหรือ แต่พอ
    นานๆ เข้าก็มีฟูขึ้นน้อยๆ เกิดขึ้นในยามสงัด คือไม่มีวัตถุเป็นเครื่องล่อ เช่น ครุ่นคิดถึงความสวยสด
    งดงามของรูป ความไพเราะเพราะพริ้งจากเสียง ความหอมหวนจากกลิ่นรสอันโอชะจากรสต่าง
    และความนิ่มนวลของสัมผัส อาการเหล่านี้จะเกิดขึ้นในยามที่ว่างจากสิ่งเหล่านั้น แต่จิตคิดไปและจะ
    ระงับได้ เพราะการพิจารณาในกรรมฐานที่มีอาการตรงกันข้าม เช่น อสุภะเป็นต้น ที่เป็นอย่างนี้ก็เพราะ
    กำลังฌานในสมถะ ก็มีกำลังที่จะกดขี่กิเลสให้สงบระงับแนบสนิทได้ แต่มิใช่ว่าทำลายกิเลสให้สิ้น
    อำนาจเด็ดขาด เป็นแต่ปรามให้สงบระงับไปได้ชั่วคราวเท่านั้น ในยามที่อำนาจสมถะปรามกิเลสให้สงบนี้
    ท่านที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์จึงหลงผิด คิดว่าสำเร็จมรรคผล ถ้าเราสำรวจตรวจจิตไว้เสมอตลอดวันเวลา
    แล้วเราก็จะทราบชัดว่า จิตเราสะอาดจริง หรือยังมีสิ่งโสมมแปดเปื้อนอยู่ จะรู้ได้เพราะสีของจิต สีจะชัด
    หรือใสจางก็ตามและจะเป็นสีอะไรก็ตาม ขึ้นชื่อว่าสีจะเป็นสีแดง สีดำ สีอย่างใดอย่างหนึ่งก็ตาม เว้นไว้
    แต่สีใสและสีประกายพรึกเต็มดวงของจิต สีใสที่ไม่มีประกายหรือสีใสมีประกายไม่เต็ม ยังมีสีใสปกติ
    ปนอยู่ ก็จงเร่งตำหนิตนเองได้แล้วว่า นี่เรายังคบความเลวไว้มากมาย เพราะสีใสชื่อว่าเป็นสีประเสริฐ
    คือเป็นการแสดงออกของอุเบกขาจิตแต่ทว่าสีใสธรรมดาที่ไม่มีประกายนั้นเป็นสีใสของฌานโลกีย์ มีอัน
    ที่จะสลายตัวกลับมาเป็นสีขุ่นมัวคือสีแดง สีดำเต็มขนาดได้เพราะฌานโลกีย์ยังมีเสื่อม ยังจัดเป็นจิตเลว
    สำหรับนักปฏิบัติเพื่อมรรคผล ต่อเมื่อไรชำระจิตให้ใสสะอาดเป็นปกติ และมีประกายเต็มดวงโดยที่
    ไม่ต้องคอยปรับปรุงแก้ไข มองดูด้วยญาณเมื่อไรก็เป็นประกายแพรวพราว ถึงแม้จะประสบกับศัตรู
    เก่าที่เคยอาฆาตคุมแค้นกันมาแต่ปางก่อน จะถูกเสียดสีถากถางด้วยวาจาปรามาสอย่างไรก็ตาม
    จิตสงบระงับ อำนาจโทสะ ไม่ฟูออก จิตใจมีอาการปกติ สม่ำเสมอ ตรวจดูด้วยญาณ ตรวจขณะที่ถูกด่า
    ก็พบว่าจิตใสประกายแพรวพราว แม้อารมณ์ราคะหรืออื่นใดก็ตามมายั่วเย้า จิตใจก็สดใสเป็นปกติ
    อย่างนี้ใช้ได้ นักปฏิบัติเพื่อมรรคผลแต่ไม่ชมตัวเอง แต่ต้องคอยตำหนิตัวเองตลอด ๒๔ ชั่วโมง
    ตรวจจิตซ้ำๆ ซากๆ ตลอดวันเวลา อย่างนี้จึงจะสมควร และเป็นผู้ไม่ประมาท เป็นนักปฏิบัติเพื่อ
    มรรคผลจริง หากทำได้อย่างนี้ ท่านมีหวังถึงพระนิพพานในชาตินี้ เพราะอารมณ์จิตที่ผ่องใสเป็น
    ประกายเต็มดวงนั้น เป็นจิตที่ชำระกิเลสไม่เหลือ เป็นจิตของพระอรหันต์เท่านั้น ท่านจึงยกย่อง
    นักปฏิบัติที่ได้เจโตปริยญาณว่า เป็นผู้ใกล้ต่อพระนิพพานมากกว่าการได้ญาณ อย่างอื่น ท่านที่กล่าว
    อย่างนี้ก็เพราะว่า ญาณนี้สามารถคอยชำระจิต คือตรวจสอบจิตของตนได้ตลอดเวลา แม้แต่อารมณ์
    กิเลสที่เป็นอนุสัยก็ยังรู้ ฉะนั้น นักปฏิบัติผู้หวังความพ้นทุกข์แก่ตนแล้ว จงพยายามฝึกฝนตนให้ชำนาญ
    ในเจโตปริยญาณนี้และเล่นให้คล่องแคล่วว่องไวจะได้ผลตามที่กล่าวมาแล้ว
    <o:p></o:p>
    ๓. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
    ญาณนี้ เป็นญาณระลึกชาติได้ คือถอยหลังชาติต่างๆ ที่เกิดมาแล้ว เป็นจำนวนหลายหมื่น
    หลายแสนชาติ ฝึกระลึกตามลำดับชาติตามลำดับ คือตั้งแต่ชาติที่หนึ่ง เป็นลำดับไปจนถึงชาติที่หมื่น
    แสน แล้วก็ย้อนจากชาติปลายสุดกลับมาหาชาติปัจจุบัน แล้วพยายามฝึกระลึกชาติสลับชาติ คือคิดว่า
    จะระลึกชาติในระดับไหนก็ให้ได้โดยฉับพลันทำอย่างนี้ให้คล่อง จะมีประโยชน์มาก เพราะ
    ๑. จะกำจัดมานะทิฏฐิ ความถือตัวถือตนว่าเป็นผู้วิเศษเสียได้เป็นอย่างดี เพราะเมื่อพบสัตว์
    เดียรัจฉานเราก็เอาญาณนี้ช่วย โดยคิดว่าเราเคยเป็นสัตว์เดียรัจฉานอย่างนี้บ้างหรือไม่ ? เราก็จะพบว่า
    สัตว์อย่างนี้เราเคยเป็น และอาจจะเคยเกิดเป็นสัตว์อย่างนี้มาแล้วตั้งหลายครั้งหลายหน เมื่อพบตัวเองว่า
    เคยเป็นสัตว์เราก็คิดค้นคว้าหากฎของความเป็นจริงต่อไปว่า สัตว์อย่างนี้ เราเคยเป็นมาก่อน บัดนี้เรา
    เป็นมนุษย์ เขายังเป็นสัตว์เขาเอากำเนิดมาจากไหน คิดทบทวนไปก็จะพบว่า เรานี้เองเป็นต้นตระกูล -
    สัตว์ บัดนี้ได้มาเกิดเป็นมนุษย์ สัตว์นี้ก็ไม่ใช่ใคร คือทายาทของเราเอง เราจะมารังเกียจทายาทของเรา
    เพื่อประโยชน์อะไร เรารังเกียจเขา เราควรรังเกียจเราเองดีกว่า เพราะเราเลวมาก่อน ถ้าเราไม่เลว
    มาก่อนจนกระทั่งเป็นต้นตระกูลสัตว์แล้ว สัตว์พวกนี้ก็จะไม่มีในโลก นี่เราเลวมากจนลืมทายาทของ
    ตนเอง รังเกียจทายาทของตนเอง พบคนที่น่ารังเกียจโดยสุขภาพ ทุพพลภาพ ชาติ ตระกูล ก็จงระลึก
    ชาติถอยไปหาสมัยเมื่อเราเคยเกิดเป็นอย่างนั้น
    ๒. ป้องกันความน้อยเนื้อต่ำใจ เพราะเห็นท่านที่มีบุญหนักศักดิ์ใหญ่ โดยฐานะหรือชาติ
    ตระกูล เมื่อเห็นเขาทรงอำนาจราชศักดิ์ เราก็ถอยไปหาชาติที่เคยดำรงความดำรงชีวิตอย่างนั้น
    เมื่อพบแล้ว ก็สอบต่อไปถึงความสุขความทุกข์ที่ได้รับผลในชาตินั้นๆ ตลอดจนต้องพลัดพรากจาก
    ฐานะความเป็นอยู่ในสมัยที่ต้องตายจากอัตภาพนั้นๆ ก็จะเห็นว่าความเป็นผู้ทรงเกียรติทรงอำนาจ
    มีเงินมีทองของให้มาก ไม่ได้ช่วยให้สิ้นทุกข์ ไม่มีทางจะกีดกันความป่วยไข้ไม่สบายและห้าม
    ความตายก็ไม่ได้ ต้องมีทุกข์มีความป่วยไข้ไม่สบาย ต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจ ตายจาก
    อัตภาพนั้นๆ ความจริงเป็นอย่างนี้เราจะทะเยอทะยานไปเพื่ออะไร ในเมื่อเรากับเขาก็ตายเหมือนกัน
    ก่อนตายก็ต้องแก่ต้องป่วยไข้ ต้องประสบกับความกลัดกลุ้มขัดข้องเหมือนเรา เรามีฐานะน้อย ก็มีห่วง
    กังวลน้อย คนที่มีฐานะใหญ่ ก็มีห่วงมีกังวลมาก เราสบายกว่าเพราะกังวลน้อยกว่า ในเมื่อเกิดมาเพื่อ
    ตายจะสะสมไปเพียงไหนให้หนัก เราพอใจในความเป็นอยู่ของเรา เรามีเท่านี้พอแล้ว คนที่เขายากจน
    กว่าเราถมไป แต่ทว่าเราหรือใครก็ตามในโลกนี้ ตายเหมือนกันหมด เราจะมัวมาหลงติดโลกามิส
    อยู่เพื่ออะไร เราเกิดมาก็มาก ตายมาก็หลายครั้งหลายคราเกิดแต่ละคราวก็เต็มไปด้วยความทุกข์
    จะกินข้าวสักคำ กินน้ำสักอึก ก็ต้องฝ่าฟันอุปสรรคนานาประการ อาหารก่อนจะได้กินก็ต้องเหน็ดเหนื่อย
    เพราะการแสวงหาทรัพย์มาเป็นค่าอาหาร กว่าจะได้มาแต่ละบาทก็ต้องทรมานตน ทนหนาวทนร้อน
    คอยหลบหลีกอันตราย นี้เพียงค่าของอาหารมื้อเดียว ทุกข์อย่างอื่นของมนุษย์ยังมีอีกมาก คิดทบทวนถึง
    ค่าเสื้อผ้า ค่าของใช้ ค่ายารักษาโรค รวมความแล้วโลกนี้เป็นโลกของความทุกข์ หาความสุขสดชื่น
    ไม่ได้เลย เมื่อคำนึงถึงทุกข์ เพราะอาศัยญาณนี้เป็นตัวค้นคว้า อย่างนี้เป็นเหตุให้เห็นอริยสัจได้โดยง่าย
    เมื่อคนใดเห็นอริยสัจ คนนั้นก็เป็นคนพ้นทุกข์ เพราะหมดกิเลส มีผลให้เข้าถึงพระนิพพานอย่างไม่ยากนัก
    <o:p></o:p>
    ๔. อตีตังสญาณ
    อตีตังสญาณ ญาณนี้เป็นญาณรู้เรื่องในอดีต คือเหตุการณ์ที่ล่วงมาแล้วทั้งในชาติปัจจุบัน
    และหลายแสนหลายล้านชาติ อาการของญาณนี้ดูเป็นญาณที่มีสภาพเช่นเดียวกันกับปุพเพนิวาสานุส-
    สติญาณ แต่ทว่าปุพเพนิวาสานุสสติญาณนั้น ท่านหมายเอาการรู้เรื่องหนหลังของตนเอง อตีตังสญาณนี้
    ท่านหมายเอาการรู้เรื่องหนหลังของคน สัตว์ และสิ่งของ สถานที่ ภายนอกตนออกไป สำหรับกฎการ
    กระทำเพื่อรู้ก็ไม่มีอะไรแตกต่างกัน เพียงแต่กำหนดจดถามในเรื่องของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่นั้นๆ
    เท่านั้น การกำหนดรู้นั้นในขั้นแรกให้กำหนดจิตเพื่อรู้ก่อน ถ้ากำหนดรู้ยังรู้ไม่ชัดเจน ท่านให้กำหนด
    จิตถาม การกำหนดจิตเพื่อรู้และถามก็ทำดังที่กล่าวมาแล้ว คือเข้าฌาน ๔ ออกจากฌาน ๔มาหยุดอยู่
    เพียงอุปจารสมาธิ แล้วกำหนดรู้หรือกำหนดถามแล้วเข้าฌาน ออกจากฌาน ๔ มาหยุดอยู่เพียง
    อุปจารฌาน เท่านี้ก็จะรู้เรื่องละเอียด คือภาพในอดีตจะปรากฏแก่จิตคล้ายดูภาพยนต์ และรู้เรื่องไป
    ตลอดเหมือนกับเราร่วมความเป็นไปกับภาพนั้น สร้างความเพลิดเพลินเจริญใจเป็นอันมาก พวกฤาษี
    มุนีไพร และท่านที่ได้ฌานสมาบัติ จนได้ฌานต่างๆ ที่ท่านอยู่ป่าช้า ป่าใหญ่ ภูเขาถ้ำต่างๆ จัดว่าเป็นสิ่ง
    ที่สงัดเงียบ ปราศจากผู้คนอยู่อาศัย ท่านคิดว่าท่านพวกนี้ท่านอยู่กันอย่างพระพุทธรูป คือหมดเรื่องรู้
    และการเพลิดเพลินต่าง นั้น ตามที่คนส่วนมากเข้าใจกัน ความจริงเป็นความเข้าใจที่ผิดถนัด
    ตามความจริงแล้วท่านเป็นผู้อยู่สงัดจริง แต่เป็นการสงัดจากสังคมที่เป็นบาป คือกลุ่มชนที่หนาด้วย
    กิเลสและตัณหา แต่ทว่าท่านมีความเพลิดเพลินรื่นเริงในส่วนที่เป็นกุศล คือเพลิดเพลินในญาณ
    เป็นเครื่องรู้ ท่านสามารถสังคมกับเทวดาและพรหม สนทนาปราศรัยโดยธรรม มีความชื่นบานในการ
    รู้เรื่องในอดีตและกาลต่อไปในอนาคต รู้ความเกิดขึ้นและความสูญสลายตน ของสรรพวัตถุและสิ่งที่
    มีชีวิต เอาสิ่งเหล่านั้นมาเปรียบเทียบกับตนเพื่อความรู้แจ้งในอนัตตา เป็นการฝึกฝนสั่งสมอารมณ์
    วิปัสสนาญาณให้แจ่มใส ตัดกังวลภายในและภายนอก คือตัดกังวลความห่วงใยในร่างกายจนเกินพอดี
    รู้สภาพว่ากายนี้ต้องพังทลายแน่นอน และเห็นสภาพภายนอกที่เป็นสรรพวัตถุที่จะต้องสลายตัวเช่นเดียว
    กัน ตัดความมัวเมาในตนและสรรพวัตถุภายนอกเสียได้โดยสิ้นเชิง มีความหวังในพระนิพพานได้อย่าง
    แน่นอน ผลของอตีตังสญาณสร้างความเพลิดเพลินในการรู้เรื่องราวในอดีต และสร้างพลังจิตให้เกิด
    ปัญญาในส่วนวิปัสสนาญาณได้อย่างนี้ ฉะนั้น ท่านจึงนิยมสร้างสมาธิให้ได้ฌาน ๔ และสร้างญาณ
    ให้เกิดแก่จิตเพื่อหวังในมรรคผลนิพพาน เพราะการได้ทิพยจักษุญาณแล้ว ถ้าปฏิบัติเพื่อมรรคผล
    นิพพานย่อมเป็นไปได้อย่างถูกต้อง ไม่หลงผิด ทั้งนี้ถ้าคิดสงสัยในปฏิปทาของตนว่า จะผิดหรือถูก
    ประการใด ก็เข้าฌาน ออกฌานอธิษฐานถามได้ เป็นการศึกษาโดยตรงจากท่านที่บรรลุแล้ว เป็นแนว
    ทางที่ถูกที่ตรงและไม่มีอะไรยากอย่างพวกเราสอนกันเองดังที่ท่านอาจารย์ท่านหนึ่งในจังหวัดพระนคร
    ในสมัยปัจจุบันนี้ท่านเคยพูดในสถานที่อบรมนักปฏิบัติว่า การปฏิบัติสมณธรรม ต้องทำไปให้ถึงระดับ
    ได้อาจารย์ที่ไม่ใช่มนุษย์ แล้วคอยรับการสั่งสอนจากท่านนั้น เป็นการปฏิบัติกรรมฐานที่เข้าระดับ
    กรรมฐานที่เอาตัวรอดได้ ถ้านักปฏิบัติทั้งหลายยังคอยคำสอนของอาจารย์ที่เป็นมนุษย์ฝ่ายเดียว หรือ
    แกะหนังสือดูตำราเป็นสำคัญแล้ว ท่านนักปฏิบัติท่านนั้นยังเอาตัวไม่รอด ท่านพูดของท่านอย่างนี้ถูก
    ขอท่านผู้อ่านฟังของท่านไว้ แล้วสนใจปฏิบัติให้ได้ถึงจะทราบว่า คำพูดของท่านตรงต่อความเป็นจริง
    ทุกประการ
    การถาม

    ท่านผู้อ่านอาจคิดว่า จะถามใคร ในขณะที่สงสัยในความเป็นอดีตของคน สัตว์ และสถานที่
    การกำหนดถามนั้นก็ถามท่านผู้รู้เหตุ จะกำหนดเอาใครก็ได้ตามที่เราคิดว่าท่านจะรู้ แต่ตามที่นักปฏิบัติ
    ส่วนใหญ่นิยมถามจะเป็นเรื่องใดก็ตาม ท่านนิยมถามพระพุทธบารมีของพระพุทธเจ้า เพราะพวกเรา
    เชื่อกันว่า การรู้ทั้งหมดและรู้ไม่ผิดพลาดนั้นมีพระพุทธเจ้าองค์เดียว ท่านอาจสงสัยต่อไปว่า ก็สมัยนี้
    พระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้วจะเอาพระพุทธเจ้าที่ไหนมาบอก? ข้อนี้ขอตอบอย่างนักปฏิบัติว่าท่านทำ
    ไปก่อน ทำให้ได้ทิพยจักษุญาณในระดับฌาน ๔ แล้วท่านจะรู้เองว่าการถามพุทธบารมีนั้น ถ้าถาม
    แล้วจะมีอะไรปรากฏขึ้น การที่ตอบอย่างนี้ไม่ใช่เป็นคำตอบที่เล่นสำนวน เพราะการตอบให้เข้าใจใน
    สิ่งที่คนถามยังไม่รู้ ไม่มีอะไรเป็นประโยชน์ ตอบไปก็เหนื่อยเปล่า ในบทพระพุทธคุณตอนหนึ่งว่า
    พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีผลเป็นปัจจัตตัง คือผู้ปฏิบัติที่มีอารมณ์จิตเข้าถึงทิพยจักษุญาณ
    แล้วจะรู้เอง ฉะนั้น ถ้าจะนั่งพรรณนาให้คนที่ไม่มีญาณฟังพูดไปก็เหนื่อยเปล่า มีผลไม่คุ้มเหนื่อย
    ดีไม่ดีก็จะพลอยทำให้อารมณ์เศร้าหมองขุ่นมัว ฉะนั้น ใครอยากรู้ว่าพุทธบารมีเป็นอย่างไร ยังจะช่วย
    อะไรผู้ที่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบได้อยู่หรือประการใด ก็ขอให้พยายามประพฤติปฏิบัติในฌาน และสร้างญาณ
    ให้บังเกิดแก่จิตก็จะทราบชัดแก่ตนเอง ถ้ายังขืนคิดว่าไม่ต้องทำฌานให้เกิดก็รู้ได้จากตำราแล้ว ท่าน
    ก็เป็นคนที่น่าสงสารมาก เพราะท่านจะไม่มีโอกาสเป็นพุทธศาสนิกชนชนิดเนื้อแท้จริงจังตามปาก
    ท่านพูดเลย วาจาที่ท่านกล่าวว่า ท่านเป็นพุทธศาสนิกนั้นอาจเป็นวาจาที่พูดกันจนติดปากมากกว่า
    การพูดด้วยความจริงใจ พูดกันตามภาษาไทยๆ ก็เรียกว่าพูดส่งเดชไปตามเขาอย่างนั้นเอง
    อธิษฐานไว้ก่อน

    การอธิษฐานเพื่อรู้นี้ ส่วนใหญ่ของนักปฏิบัติที่ชำนาญในฌานและญาณ การต้องการทราบ
    เรื่องราวต่างๆ เช่น รู้การตายการเกิดของคนและสัตว์ รู้ผลกรรมของคนและสัตว์ รู้ชาติก่อนๆ ของ
    ตนเอง รู้เรื่องอดีตและอนาคต ปัจจุบัน ทั้งของตนและสิ่งภายนอก ท่านนิยมอธิษฐานไว้ก่อน คือพอ
    ตื่นนอนจากการหลับเวลาเช้ามืด ท่านอธิษฐานจิตไว้ว่า เหตุใดที่เกี่ยวเนื่องแก่ข้าพเจ้าแล้ว ขอข้าพเจ้า
    จงรู้เหตุนั้นได้โดยไม่ต้องกำหนดจิต นี่การอธิษฐานอย่างนี้ท่านนิยมทำไว้เสมอ เมื่ออธิษฐานแล้วก็เข้า
    สมาบัติเต็มอัตรา สมาบัติที่ได้ ได้แค่ ๔ ก็เข้าเต็ม ๔ได้หมดทั้ง ๘ ก็เข้าหมด ๘ ถ้าได้มรรคผล ก็เข้า
    ผลสมาบัติตามผลการเข้าสมาบัติตอนเช้ามืดนี้ดีมาก เพราะจะเป็นการตอบสนองความดีของท่านพุทธ-
    ศาสนิกชนที่สงเคราะห์ได้เป็นอย่างดี เพราะผลของสมาบัติให้ผลมีกำลังสูงมาก ย่อมสามารถให้ผลเป็น
    ความสุขแก่ท่านผู้สงเคราะห์ในชาติปัจจุบัน การอธิษฐานไว้แล้วอย่างนั้น ถ้าเดินไปหรือสนทนาอยู่
    ถ้าเหตุอะไรที่เนื่องกับตนพึงมีในขณะนั้น ภาพนั้นก็จะปรากฏแก่ใจทันที โดยที่ไม่ต้องเข้าฌานออกฌาน
    ตามระเบียบ เป็นผลดีมากแก่นักปฏิบัติ
    <o:p></o:p>
    ๕. อนาคตังสญาณ และ ๖. ปัจจุปปันนังสญาณ
    ญาณทั้งสองนี้เอามาพูดควบกัน เพราะไม่มีอะไรจะพูดมากนัก ได้พูดมามากในญาณต้นๆ
    แล้ว พูดมากไปก็รำคาญท่านผู้อ่านเปล่าๆ อนาคตังสญาณเป็นญาณรู้เรื่องในกาลต่อไปว่า คน สัตว์
    สรรพวัตถุเหล่านี้ต่อไปจะเป็นอย่างไร รู้ได้ตามภาพที่ปรากฏ ถ้าภาพปรากฏไม่ชัดก็อธิษฐานถาม
    ก็จะรู้ชัดและไม่ผิด ส่วนใหญ่ท่านนักปฏิบัติระดับสูง ท่านอธิษฐานถามกันเป็นสำคัญ เพราะท่านทราบดี
    ว่า ถ้าท่านกำหนดรู้เอง อาจถูกอุปาทานหลอกหลอนเอาได้ ท่านชำระจิตของท่านให้แจ่มใส แล้วท่าน
    ก็อธิษฐานถามจะได้รับความรู้อย่างถูกต้องไม่ผิดพลาด
    สำหรับปัจจุปปันนังสญาณ เป็นญาณรู้เรื่องปัจจุบันว่า ขณะนี้ใครทำอะไรอยู่ มีสภาพเป็น
    อย่างไร อย่างนี้เป็นต้น เป็นการรู้ผลในขณะนั้น การถามหรือกำหนดรู้ก็เป็นไปเช่นเดียวกับญาณอื่นๆ<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    ๗. ยถากัมมุตาญาณ
    ญาณนี้เป็นชื่อของการรู้ผลกรรม คือรู้ว่าใครที่มีความสุขความทุกข์อยู่ในปัจจุบันนี้ เป็นผล
    กรรมอะไร ตั้งแต่ชาติใด จะแก้ไขได้หรือไม่ประการใด การแก้ไขนั้นต้องทำอย่างไร แก้ไขแล้วจะมีผล
    เป็นอย่างไร ถ้าต้องการรู้ผลในชาติต่อไปก็ได้ ใช้อตีตังสญาณตรวจดูอดีต แม้อนาคตก็เช่นเดียวกัน
    ญาณนี้เป็นประโยชน์ในการรู้ผลกรรม มีประโยชน์แก่ตนเองดังนี้ เมื่อเห็นเขามีทุกข์ในการเกิด หรือ
    ทุกข์ที่ต้องเกิดในอบายภูมิเพราะผลกรรมอะไร จะได้ยับยั้งตนเองไม่ให้สนใจในกรรมนั้น ถ้าเห็นท่าน
    ที่เสวยผลในทิพยสมบัติ หรือในพรหมโลก หรือท่านที่เข้าสู่พระนิพพานท่านมีความสุขเพราะผลกรรม
    ที่มีปฏิปทาเป็นประการใด ท่านสร้างสมบุญกุศลไว้อย่างไร เราก็แสวงหาความดีตาม ก็จะให้ผลตาม
    เช่นท่าน กรรมนี้มีประโยชน์แก่ตนและคนอื่นมากอย่างนี้<o:p></o:p>
    ญาณทั้งเจ็ด
    ในผลทางปฏิบัติ ท่านจะเห็นว่า ญาณที่กล่าวมาแล้วทั้งเจ็ดอย่าง คือ
    ๑. จุตูปปตาญาณ การรู้ว่าสัตว์ตายแล้วเกิดที่ใด สัตว์ที่มาเกิดนี้มาจากไหน
    ๒. เจโตปริยญาณ รู้อารมณ์จิตของคนและสัตว์
    ๓. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติในกาลก่อนได้ไม่จำกัดชาติ
    ๔. อตีตังสญาณ รู้เหตุการณ์ในอดีตของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ได้ไม่จำกัดกาลเวลา
    ๕. อนาคตังสญาณ รู้เหตุการณ์ต่อไปในอนาคตของคน สัตว์ สิ่งของสถานที่ได้โดยไม่จำกัด
    กาลเวลา
    ๖. ปัจจุปปันนังสญาณ รู้เหตุปัจจุบันของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ได้ตามความเป็นจริง
    ๗. ยถากัมมุตาญาณ รู้ผลกรรมของคนและสัตว์ได้ ทั้งอดีต อนาคต และปัจจุบัน
    ญาณทั้งเจ็ดนี้ เมื่อท่านอ่านอยู่ ท่านอาจจะหนักใจว่า ตั้งเจ็ดอย่างมากมายเหลือเกิน ชีวิตนี้ทั้งชีวิต
    หรือเกิดอีกหลายๆ ชาติอาจไม่มีหวัง ถ้าท่านคิดอย่างนั้น ผู้เขียนก็เห็นใจท่านทั้งผู้เขียนเองก็มี
    ความรู้สึกอย่างเดียวกับท่านมาก่อน แต่พอได้โอกาสสอบทานตามพระไตรปิฎกและได้สนทนาปราศรัย
    กับท่านผู้ทรงคุณธรรมพิเศษตามที่ท่านได้ญาณทั้งเจ็ดอย่างในสมัยผู้ที่เขียนเป็นนักนิยมไพร คำว่า
    นักนิยมไพรของผู้เขียน ไม่เหมือนนักนิยมไพรของชาวบ้าน ชาวบ้านชอบนิยมทำลายไพรและทำลาย
    สัตว์ในไพร แต่ผู้เขียนเป็นนักนิยมเดินในไพรนอนค้างอ้างแรมในไพร และนิยมคอยหลบหลีกหนีสัตว์
    ในไพร ไม่ชอบรบราฆ่าฟันสัตว์ในไพร ตั้งแต่เข้าป่ามาแล้วเกินสิบวาระ คราวละไม่น้อยกว่าสามเดือน
    ไม่เคยทำลายต้นหญ้าให้ขาดติดมือมาเลยแม้แต่ต้นเดียว ทั้งนี้หมายถึงมีเจตนาอย่างนั้น แต่ถ้าเดิน
    ไปหญ้าขาดหรือตายเพราะการเดินไม่คิดเอามารวม นั่นเป็นไปเพราะไม่เจตนา ท่านผู้ทรงญาณ
    ที่อยู่ในป่า ท่านพูดตรงตามพระไตรปิฎกว่า ญาณทั้งเจ็ดอย่างนี้ไม่มีอะไรมากเมื่อได้ฌาน ๔ คล่องแคล่ว
    เสียอย่างเดียว ญาณทั้งเจ็ดก็ได้หมด ทุกท่านอธิบายเหมือนกันอย่างนี้ ขอท่านผู้อ่านลองทำตามดูบ้าง
    อาจจะมีผล สำหรับผู้เขียนเชื่อแน่ ไม่มีอะไรสงสัย
    <o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    <o:p> </o:p>
     
  9. pkpnk

    pkpnk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    244
    ค่าพลัง:
    +112
    <TABLE class=MsoNormalTable style="BACKGROUND: #ebebeb; WIDTH: 100%; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR style="HEIGHT: 14.25pt; mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #efefef; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #efefef; HEIGHT: 14.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent">
    ๓.อัชฌาสัยฉฬภิญโญ<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    อัชฌาสัยของท่านที่ชอบมีฤทธิ์มีเดช ทำอะไรต่ออะไรเกินกว่าสามัญชนจะทำได้ เรียกว่า
    อัชฌาสัยของท่านผู้มีฤทธิ์ หรือท่านผู้ทรงอภิญญา ๖
    อภิญญา ๖ นี้ เป็นคุณธรรมพิเศษสำหรับนักปฏิบัติอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งจะต้องฝึกฝนตนเป็นพิเศษ
    ให้ได้คุณธรรมห้าประการก่อนที่จะได้บรรลุมรรคผล หมายความว่าในระหว่างที่ทรงฌานโลกีย์นั้น ต้อง
    ฝึกฝนให้สามารถทรงคุณสมบัติห้าประการดังต่อไปนี้
    ๑. อิทธิฤทธิ์ แสดงฤทธิ์ต่างๆ ได้
    ๒. ทิพยโสต มีหูเป็นทิพย์ สามารถฟังเสียงในที่ไกล หรือเสียงอมนุษย์ได้ยิน
    ๓. จุตูปปาตญาณ รู้การตายและการเกิดของคนและสัตว์
    ๔. เจโตปริยญาณ รู้ความรู้สึกในความในใจของคนและสัตว์
    ๕. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติต่างๆ ที่ล่วงมาแล้วได้
    ทั้งห้าอย่างนี้ จะต้องฝึกให้ได้ในสมัยที่ทรงฌานโลกีย์ ต่อเมื่อฝึกฝนคุณธรรมหกประการนี้
    คล่องแคล่วว่องไวดีแล้ว จึงฝึกฝนอบรมในวิปัสสนาญาณต่อไป เพื่อให้ได้อภิญญาข้อที่ ๖ คือ
    อาสวักขยญาณ ได้แก่การทำอาสวะให้หมดสิ้นไป <o:p></o:p>
    วิธีฝึกอภิญญา
    วิธีฝึกอภิญญานี้ หรือฝึกวิชชาสาม และปฏิสัมภิทาญาณ โปรดทราบว่า เอามาจากวิสุทธิมรรค
    ไม่ใช่ผู้เขียนเป็นผู้วิเศษทรงคุณพิเศษตามที่เขียน เพียงแต่ลอกมาจากวิสุทธิมรรค และดัดแปลง
    สำนวนเสียใหม่ให้อ่านง่ายเข้าใจเร็ว และใช้คำพูดเป็นภาษาตลาดที่พอจะรู้เรื่องสะดวกเท่านั้นเอง
    โปรดอย่าเข้าใจว่าผู้เขียนแอบเป็นพระอรหันต์ปฏิสัมภิทาญาณไปเสียแล้ว นรกจะเล่นงานผู้เขียนแย่
    ส่วนใหญ่ในข้อเขียนก็เอามาจากวิสุทธิมรรค และเก็บเล็กผสมน้อยคำสั่งสอนของครูบาอาจารย์บ้าง
    ตามแต่จะจำได้ สำหรับอภิญญาข้อ ถึงข้อ ๕ ได้อธิบายมาแล้วในวิชชาสาม สำหรับในอภิญญานี้
    จะอธิบายเฉพาะข้อ ๑ กับข้อ ๒ เท่านั้น
    อิทธิฤทธิ์

    ญาณข้อ ๑ ท่านสอนให้ฝึกการแสดงฤทธิ์ต่างๆ การแสดงฤทธิ์ทางพระพุทธศาสนานี้
    ท่านสอนให้ปฏิบัติดังต่อไปนี้
    ท่านให้เจริญคือฝึกในกสิณแปดอย่างให้ชำนาญ กสิณแปดอย่างนั้นมีดังนี้
    ๑. ปฐวีกสิณ เพ่งธาตุดิน
    ๒. อาโปกสิณ เพ่งธาตุน้ำ
    ๓. เตโชกสิณ เพ่งไฟ
    ๔. วาโยกสิณ เพ่งลม
    ๕. ปีตกสิณ เพ่งสีเหลือง
    ๖. นีลกสิณ เพ่งสีเขียว
    ๗. โลหิตกสิณ เพ่งสีแดง
    ๘. โอทาตกสิณ เพ่งสีขาว
    เหลือกสิณอีกสองอย่างคือ อาโลกสิณ เพ่งแสงสว่าง และอากาสกสิณ เพ่งอากาศ ท่านให้เว้น
    เสีย ทั้งนี้จะเป็นเพราะอะไรท่านไม่ได้อธิบายไว้ แต่สำหรับท่านที่ทรงอภิญญาจริงๆ ที่เคยพบในสมัย
    ออกเดินธุดงค์ท่านบอกว่า ท่านไม่ได้เว้น ท่านทำหมดทุกอย่างครบ ๑๐ กอง ท่านกล่าวว่า กสิณนี้ถ้าได้
    กองแรกแล้ว กองต่อไปไม่มีอะไรมาก ทำต่อไปไม่เกิน ๗ วันก็ได้ กองยากจะใช้เวลานานอยู่กองแรก
    เท่านั้นเอง ต่อไปจะได้อธิบายในการปฏิบัติกสิณพอเป็นตัวอย่าง
    ปฐวีกสิณ

    กสิณนี้ท่านให้เพ่งดิน เอาดินมาทำเป็นรูปวงกลม โดยใช้สะดึงขึงผ้าให้ตึงแล้วเอาดินทา
    เลือกเฉพาะดินสีอรุณ แล้วท่านให้วางไว้ในที่พอเหมาะที่จะมองเห็นไม่ใกล้และไกลเกินไป เพ่งดูดิน
    ให้จำได้แล้วหลับตานึกถึงภาพดินนั้น ถ้าเลือนไปจากใจก็ลืมตาดูดินใหม่ จำได้ดีแล้วก็หลับตานึกถึง
    ภาพดินนั้น จนภาพนั้นติดตา ต่อไปไม่ต้องดูภาพดินภาพนั้นก็ติดตาติดใจจำได้อยู่เสมอ ภาพปรากฏ
    แก่ใจชัดเจน จนสามารถบังคับภาพนั้นให้เล็ก โต สูง ต่ำ ได้ตามความประสงค์อย่างนี้เรียกว่าอุคหนิมิต
    หยาบ ต่อมาภาพดินนั้นจะค่อยๆ เปลี่ยนสีไปที่ละน้อย จากสีเดิมไปเป็นสีขาวใส จนใสหมดก้อน และ
    เป็นประกายสวยสดงดงามคล้ายแก้วเจียระไน อย่างนี้เรียกว่าถึงอุปจารฌานละเอียด ต่อไปภาพนั้น
    จะสวยมากขึ้นจนมองดูระยิบระยับจับสามตา เป็นประกายหนาทึบ อารมณ์จิตตั้งมั่นเฉยต่ออารมณ์
    ภายนอกกายคล้ายไม่มีลมหายใจ อย่างนี้เป็นฌาน เรียกได้ว่าฌานปฐวีกสิณเต็มที่แล้ว
    เมื่อได้อย่างนี้แล้ว ท่านผู้ทรงอภิญญาท่านนั้นเล่าต่อไปว่า อย่าเพิ่งทำกสิณกองต่อไป เรา
    จะเอาอภิญญากัน ไม่ใช่ทำพอได้ เรียกว่าจะทำแบบสุกเอาเผากินไม่ได้ต้องให้ได้เลยทุกอย่าง
    ได้อย่างดีทั้งหมด ถ้ายังบกพร่องแม้แต่นิดหนึ่งก็ไม่ยอมเว้น ต้องดีครบถ้วนเพื่อให้ได้ดีครบถ้วน
    ท่านว่าพอได้ตามนี้แล้ว ให้ฝึกฝนเข้าฌานออกฌาน คือเข้าฌาน ๑. ๒. ๓. ๔. แล้วเข้าฌาน ๔. ๓.
    ๒. ๑. แล้วเข้าฌานสลับฌาน คือ ๑. ๔. ๒. ๓. ๓. ๑. ๔. ๒. ๔. ๑. ๒. ๓. สลับกันไปสลับกันมา
    อย่างนี้จนคล่อง คิดว่าจะเข้าฌานระดับใดก็เมื่อใดก็ได้
    ต่อไปก็ฝึกนิรมิตก่อน ปฐวีกสิณเป็นธาตุดิน ตามคุณสมบัติท่านว่า สามารถทำของอ่อน
    ให้แข็งได้ สำหรับท่านที่ได้กสิณนี้ เมื่อเข้าฌานชำนาญแล้ว ก็ทดลองการนิรมิต ในตอนแรก
    ท่านหาน้ำใส่แก้วหรือภาชนะอย่างใดก็ได้ ที่ขังน้ำได้ก็แล้วกัน เมื่อได้มาครบแล้วจงเข้าฌาน ๔
    ในปฐวีกสิณ แล้วออกฌาน ๔ หยุดอยู่เพียงอุปจารฌาน คือ พอมีอารมณ์นึกคิดได้
    ในขณะที่อยู่ในฌานนั้น นึกคิดไม่ได้ เมื่อถอยจิตมาหยุดอยู่ที่อุปจารฌานแล้วอธิษฐานว่า
    ขอน้ำตรงที่เอานิ้วจิ้มลงไปนั้น จงแข็งเหมือนดินที่แข็ง แล้วก็เข้าฌาน ๔ ใหม่
    ถอยออกจากฌาน ๔ หยุดอยู่เพียงอุปจารฌาน ลองเอานิ้วมือจิ้มน้ำดู ถ้าแข็งก็ใช้ได้
    แล้วก็เล่นให้คล่องต่อไป ถ้ายังไม่แข็งต้องฝึกฝนฌานให้คล่องและมั่นคงกว่านั้น เมื่อขณะฝึก
    นิรมิต อย่าทำให้คนเห็น ต้องทำที่ลับเฉพาะเท่านั้น ถ้าทำให้คนเห็น พระพุทธเจ้าท่านปรับโทษไว้
    เราเป็นนักเจริญฌาน ต้องไม่หน้าด้านใจด้านจนกล้าฝ่าฝืนพระพุทธอาณัติ เมื่อเล่นน้ำในถ้วยสำเร็จ
    ผลแล้ว ก็คำว่าสำเร็จนั้น หมายความว่าพอคิดว่าเราจะให้น้ำแข็งละน้ำก็แข็งทันที โดยเสียเวลาไม่ถึง
    เสี้ยวนาที อย่างนี้ใช้ได้ ต่อไปก็ทดลองในแม่น้ำและอากาศ เดินบนน้ำ บนอากาศ ให้น้ำในแม่น้ำ
    และอากาศเหยียบไปนั้น แข็งเหมือนดินและหิน ชำนาญดีแล้วก็เลื่อนไปฝึกกสิณอื่น ท่านว่าทำคล่อง
    อย่างนี้กสิณเดียว กสิณอื่นพอนึกขึ้นมาก็เป็นทันที อย่างเลวสุดก็เพียง ๗ วัน ได้กอง เสียเวลาฝึก
    อีก ๙ กองเพียงไม่เกินสามเดือนก็ได้หมด เมื่อฝึกครบหมดก็ฝึกเข้าฌานออกฌานดังกล่าวมาแล้ว
    และนิรมิตสิ่งต่างๆ ตามความประสงค์ อานุภาพของกสิณ จะเขียนไว้ตอนว่าด้วยกสิณ ๑๐
    <o:p></o:p>
    ทิพยโสตญาณ
    ญาณนี้เป็นญาณในอภิญญาหก เป็นญาณที่สองรองจากอิทธิฤทธิญาณทิพยโสตญาณนี้
    เป็นญาณสร้างประสาทหูให้มีคุณสมบัติพิเศษกว่าประสาทหูธรรมดา สามารถฟังเสียงจากที่ไกล เกิน
    หูสามัญจะได้ยินได้ เสียงเบาเสียงละเอียด เช่น เสียงอมนุษย์ เสียงเปรต เสียงอสุรกาย ที่นิยมเรียก
    กันว่าเสียงผี เสียงเทวดา เสียงพรหมและเสียงของท่านที่เข้าถึงจุดจบของพรหมจรรย์ ทิพยโสตญาณ
    ถ้าทำให้เกิดมีได้แล้ว จะฟังเสียงต่างๆ ตามที่กล่าวมาแล้วได้อย่างอัศจรรย์
    เสียงหยาบละเอียดไม่เสมอกัน

    เสียงต่างๆ ที่จะพึงฟังได้นั้น มีความหยาบละเอียดชัดเจนหนักเบาไม่เสมอกัน เสียงมนุษย์
    และสัตว์ที่ปรากฏร่างที่เห็นชัดเจน ย่อมมีเสียงดังมาก ฟังชัดเจน พวกมด ปลวก เล็น ไร ฟังเสียงเบา
    มาก แต่ก็ยังเป็นเสียงหยาบ ฟังง่ายและสะดวกกว่าเสียงอมนุษย์ เสียงเปรต อสุรกาย และพวกยักษ์
    กุมภัณฑ์ คนธรรพ์ นาค มีเสียงเบากว่าเสียงมนุษย์ และสัตว์ที่สามารถเห็นได้ด้วยตา และเห็นได้ด้วย
    การใช้กล้องขยายส่องเห็น แต่ถ้าจะเปรียบกับพวกอทิสมานกายด้วยกันแล้ว บรรดาเสียงเปรต อสุรกาย
    ยักษ์ กุมภัณฑ์ คนธรรพ์ นาค ก็จัดว่ามีเสียงหยาบมาก เสียงหนัก ดังมาก ได้ยินง่ายและชัดเจน เสียง
    ของเทวดาชั้นกามาวจร ที่เรียกว่าอากาศเทวดา ตั้งแต่ชั้นจาตุมหาราช ชั้นดาวดึงส์ ชั้นยามา ชั้นดุสิต
    ชั้นนิมมานรดี ชั้นปรนิมมิตตวสวัสดี รวมหกชั้นนี้ เรียกว่าเทวดาชั้นกามาวจร เพราะยังมีอารมณ์
    ท่องเที่ยว คือมีความใคร่ในกามารมณ์ เป็นภูมิชั้นของเทวดาที่ยังมีความเสน่หาในกาม ยังมีการครองคู่
    เป็นสามีภรรยากันเยี่ยงมนุษย์ เทวดาทั้งหกชั้นนี้มีเสียงละเอียดและเบากว่า พวกเปรต อสุรกาย ยักษ์
    กุมภัณฑ์ คนธรรพ์ นาค เสียงเทวดาชั้นกามาวจร ละเอียด เบาและไพเราะมาก ฟังแล้วรู้สึกนิ่มนวล
    สดชื่น แต่ทว่าเทวดาทั้งหกชั้นนี้ก็ยังมีเสียงหยาบกว่าเสียงพรหม พรหมมีเสียงละเอียดและเบามาก
    ฟังเสียงพรหมแล้ว ผู้ที่ได้ยินใหม่ๆ อาจจะเข้าใจว่า เป็นเสียงเด็กเล็กๆ หรือเสียงสตรี เสียงพรหม
    จะว่าแหลมคล้ายเสียงสตรีก็ไม่ใช่จะว่าเหมือนเสียงเด็กเล็กๆ ก็ไม่เชิง ฟังแล้วก้ำกึ่งกันอย่างไรชอบกล
    ทุกท่านที่ได้ยิน ใหม่ๆ อดสงสัยไม่ได้
    สำหรับเสียงท่านที่จบพรหมจรรย์นั้น เป็นเสียงที่ละเอียดและเบามาก ไม่ทราบว่าจะพรรณนา
    อย่างไรถึงจะตรงกับความเป็นจริง
    เรื่องของเสียงมีความหนักเบาแตกต่างกันอย่างนี้ แม้เสียงที่หยาบเป็นเสียงของมนุษย์และ
    สัตว์ที่สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่า ถ้าอยู่ไกลสักหน่อย หูธรรมดาก็ไม่สามารถจะได้ยิน แต่ท่านที่ได้
    ทิพยโสตญาณ ท่านสามารถได้ยินเสียงได้ แม้ไกลกันคนละมุมโลก ท่านก็สามารถได้ยินเสียงพูดได้และ
    รู้เรื่องละเอียดทุกถ้อยคำ แม้แต่เสียงอมนุษย์ เทวดา พรหม และเสียงท่านผู้จบพรหมจรรย์ก็เช่น
    เดียวกัน ท่านสามารถจะพูดคุยกับ เทวดา พรหม ยักษ์ เปรต อสุรกาย และสัตว์นรก ตลอดจนท่านผู้จบ
    พรหมจรรย์ได้ทุกขณะที่ปรารถนาจะพูดคุยด้วย ท่านที่ได้ทิพยโสตญาณนี้ ดูเหมือนจะมีกำไรในส่วน
    ของการฟังมากเป็นพิเศษ
    วิธีฝึกทิพยโสตญาณ

    ทิพยโสตญาณจะมีขึ้นได้แก่นักปฏิบัติกรรมฐาน ก็ต้องอาศัยการฝึก สำหรับท่านที่เป็น
    อาทิกัมมิกบุคคล หมายถึงท่านที่ไม่เคยได้ทิพยโสตญาณมาในชาติก่อนๆ ตามนัยวิสุทธิมรรค
    ท่านให้ฝึกดังต่อไปนี้
    ท่านให้สร้างสมาธิในกสิณกองใดกองหนึ่ง จะเป็นกองใดก็ได้ตามใจชอบ จนได้ฌาน ๔ แล้ว
    ท่านให้เข้าฌาน ๔ จนจิตเป็นอุเบกขารมณ์เงียบสงัดจากอกุศลวิตก แล้วถอยหลังจิต คือค่อยๆ คลาย
    สมาธิมาหยุดอยู่เพียงอุปจารสมาธิ แล้วค่อยๆ กำหนดจิตฟังเสียงที่ดังๆ ในที่ไกลพอได้ยินได้ และเสียง
    ที่เบาลงไปเป็นลำดับ เช่น เสียงฆ้อง กลอง ระฆัง กำหนดฟังให้ชัดเจน แล้วค่อยๆ เลื่อนฟังเสียงที่เบา
    กว่านั้น ขณะที่กำหนดฟังอยู่นั้น ถ้าเห็นว่าอารมณ์จะฟุ้งซ่าน ก็เข้าฌาน เสียใหม่ เมื่อเห็นอารมณ์ใจ
    สงัดดีแล้ว จึงค่อยคลายสมาธิมาหยุดอยู่ที่อุปจารฌาน แล้วค่อยๆ กำหนดฟังเสียงที่เบาลงเป็นลำดับ
    จนเสียงเล็นเสียงไร เสียงที่อยู่ไกลคนละทวีป และเสียงผี เสียงเปรต เสียงยักษ์ กุมภัณฑ์ คนธรรพ์
    เสียงนาค เทวดาชั้นกามาวจร เสียงพรหม เสียงท่านที่จบพรหมจรรย์ค่อยเลื่อนขึ้นเป็นลำดับ แต่ทว่า
    การกำหนดฟังนั้น ต้องฟังให้ชัดเจนเป็นขั้นๆ ไป ถ้าฟังเสียงหยาบยังได้ยินไม่ชัดเจน ก็อย่าพยายาม
    ฟังเสียงที่ละเอียดกว่านั้น ต้องฟังเสียงอันดับใดอันดับหนึ่ง ให้ได้ยินชัดแจ่มใสเสียก่อน แล้วจึงเลื่อนไป
    ฟังเสียงที่ละเอียดกว่านั้น แล้วเข้าฌาน ๔ ออกฌาน ๔ ไว้เสมอๆ พยายามทำให้มากวันละหลายๆ ครั้ง
    ท่านกล่าวไว้ในวิสุทธิมรรคว่า ทำเป็นร้อยครั้งพันครั้ง ทำเสมอๆ อย่าเกียจคร้าน ถ้าได้แล้วก็อย่าละเลย
    ต้องทำไว้เสมอๆ จะได้เกิดความเคยชินคล่องแคล่วว่องไว จนกระทั่งคิดว่า จะต้องการฟังเสียงเมื่อไร
    ก็ได้ยินเมื่อนั้น ไม่ว่าเสียงระดับใด อย่างนี้เป็นอันใช้ได้ <o:p></o:p>
    ทิพยโสตญาณมีวิธีปฏิบัติตามที่ท่านกล่าวไว้ในวิสุทธิมรรคอย่างนี้ ขอนักปฏิบัติที่สนใจใน
    ญาณนี้ จงตั้งจิตอุตสาหวิริยะเป็นอันดี ไม่ท้อถอยแล้ว เป็นมีหวังสำเร็จผลทุกราย
    ไม่มีอะไรที่ท่านผู้มีความวิริยะอุตสาหะจะทำไม่สำเร็จ เว้นไว้แต่จะคุยโวโม้แต่ปากแต่ไม่เอาจริงเท่านั้น
    สำหรับฉฬภิญโญ ขอเขียนไว้เพียงเท่านี้ ญาณอื่นๆ นั้นได้เขียนไว้ในวิชชาสามครบถ้วนแล้ว
    <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
     
  10. pkpnk

    pkpnk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    244
    ค่าพลัง:
    +112
    <TABLE class=MsoNormalTable style="BACKGROUND: #eaeaea; WIDTH: 100%; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR style="HEIGHT: 18pt; mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #efefef; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #efefef; HEIGHT: 18pt; BACKGROUND-COLOR: transparent"></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p> </o:p>
    <TABLE class=MsoNormalTable style="BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 5.25pt 5.25pt 5.25pt 5.25pt" cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #efefef; PADDING-RIGHT: 5.25pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.25pt; PADDING-BOTTOM: 5.25pt; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 5.25pt; BORDER-BOTTOM: #efefef; BACKGROUND-COLOR: transparent" width="100%">
    <TABLE class=MsoNormalTable style="BACKGROUND: #ebebeb; WIDTH: 100%; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #efefef; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #efefef; BACKGROUND-COLOR: transparent">
    ๔. อัชฌาสัยปฏิสัมภิทัปปัตโต<o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    อัชฌาสัยของท่านผู้มีความต้องการในความรู้พิเศษ ที่มีความรู้รอบตัวยิ่งกว่าท่านผู้ทรง
    อภิญญา เรียกว่าอัชฌาสัยของท่านผู้ทรงปฏิสัมภิทัปปัตโต
    ท่านผู้ทรงปฏิสัมภิทัปปัตโตนี้ แปลว่ามีความรู้พร้อม คือท่านทรงคุณธรรมพิเศษกว่า
    ท่านเตวิชโช ฉฬภิญโญหลายประการ เช่น
    ๑. มีความสามารถทรงความรู้พร้อม ไม่บกพร่องในหัวข้อธรรมวินัยที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน
    ไว้ได้โดยครบถ้วน แม้ท่านจะย่างเข้ามาอุปสมบทในพระพุทธศาสนาเพียงวันเดียว ทั้งๆ ที่ไม่เคยศึกษา
    คำสอนมาก่อนเลย ตามนัยที่ปรากฏในพระสูตรต่างๆ ที่มาในพระไตรปิฎกว่า มีมากท่านที่มีความ
    เลื่อมใสในสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วพอฟังเทศน์จบ ท่านก็ได้บรรลุอรหันต์ชั้นปฏิสัมภิทาญาณ
    ท่านทรงพระไตรปิฏก คือเข้าใจในข้อวัตรปฏิบัติครบถ้วนทุกประการได้ทันท่วงที
    ๒. มีความฉลาดในการขยายความในธรรมภาษิต ที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้โดยย่อให้พิสดาร
    ได้อย่างถูกต้อง
    ๓. ย่อความในคำสอนที่พิสดารให้สั้นเข้า โดยไม่เสียใจความ
    ๔. สามารถเข้าใจ และพูดภาษาต่างๆ ได้ทุกภาษา ไม่ว่าภาษามนุษย์หรือภาษาสัตว์
    ตามข้อความในข้อ ๔ นี้ เคยพบพระองค์หนึ่งในสมัยปัจจุบันนี้ คือ พ.ศ. ๒๕๐๔ - ๒๕๐๕
    ต่อกัน พระรูปนั้นมีชื่อว่า "พระสร้อย" ท่านบอกว่า ท่านเป็นชาวจังหวัดสระบุรี ไม่เคยเรียนหนังสือ
    มาก่อนเลย แม้หนังสือไทยนี้ ปกติท่านก็อ่านไม่ออก ท่านว่าเมื่อท่านอายุได้ ๗ ปี มีพระในถ้ำเขตสระบุรี
    ท่านหนึ่ง ไปเยี่ยมโยมท่านที่บ้าน ตัวท่านเองเมื่อเห็นพระรูปนั้นเข้าท่านก็เกิดความรักขึ้นมา เมื่อ
    พระรูปนั้นจะกลับถ้ำ ได้ออกปากชวนท่านไปอยู่ด้วย ท่านก็ขออนุญาตโยมหญิง - ชายจะไปอยู่กับ
    พระรูปนั้น โยมทั้งสองก็อนุญาตด้วยความเต็มใจ ท่านเล่าให้ฟังว่า เมื่อไปอยู่กับพระรูปนั้นก็ไม่มีโอกาส
    ได้เรียนหนังสือ เพราะในถ้ำนั้นมีพระอยู่ ๒ - ๓ รูป ท่านบิณฑบาตกลับมาแล้ว ท่านฉันจังหันเสร็จ
    ต่างก็บูชาพระแล้วนั่งภาวนากันตลอดวันตลอดคืน ไม่ใคร่มีเวลาพูดคุยกัน ท่านก็สอนให้ท่านอาจารย์
    สร้อยภาวนาด้วย ทำอยู่อย่างนั้นจนครบบวช พระที่ท่านพาไปก็พาออกมาบวชที่บ้าน บวชแล้วก็พากลับ
    มาอยู่ถ้ำ นั่งภาวนาตามเดิม ต่อมาเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๓ - ๒๕๐๔ ท่านป่วย ได้เดินธุดงค์มาปักกลดอยู่ที่
    บางกะปิ พระนคร ใครจะนิมนต์ท่านเข้าไปในชายคาบ้านท่านไม่ยอมเข้า ต่อมาพลเรือตรีสนิท
    จำนามสกุลไม่ได้ เจ้ากรมแพทย์ทหารเรือไปพบเข้ามีความเลื่อมใส นิมนต์ให้มารักษาตัวที่กรมแพทย์
    ทหารเรือ ให้พักอยู่ที่ตึก เป็นตึกคนไข้พิเศษ ปฏิปทาของท่านอาจารย์สร้อยที่มาอยู่ที่กรมแพทย์
    ทหารเรือก็คือ ตอนเช้าท่านจะต้องออกบิณฑบาตทุกวัน ท่านไม่ได้ไปไกล ออกจากตึก ไปที่ประตู
    กรมแพทย์ฯ ที่ตรงนั้นมีต้นมะฮอกกานีอยู่ต้นหนึ่ง เป็นต้นไม้ มีพุ่มไสว สาขาใหญ่มาก ท่านเอาบาตร
    ของท่านไปแขวนที่กิ่งมะฮอกกานี แล้วท่านก็ยืนหลับตาอยู่สักครู่ ไม่เกิน ๑๕ นาที ท่านก็ลืมตาขึ้นแล้ว
    เอาบาตรมา เดินกลับเข้าห้องพักคนป่วย ที่ท่านไปยืนอยู่นั้นเป็นทางผ่านเข้าออกของคนไปมาเป็นปกติ
    ไม่มีขาดระยะคนเดินผ่าน ทุกคนเห็นท่านยืนเฉยๆ ไม่เห็นใครเอาอะไรมาใส่ให้ แต่ทุกครั้งที่ท่าน
    เอาบาตรกลับมา จะต้องมีข้าวสุกสีเหลืองน้อยๆ และดอกไม้แปลกๆ ที่ไม่เคยเห็นในภพนี้ติดมาด้วย
    ๒ - ๓ ดอกทุกครั้ง สร้างความแปลกใจแก่ผู้พบเห็นเป็นประจำ บาตรที่ท่านจะเอาไปแขวนนั้น
    นายทหารเป็นคนจัดให้ นายทหารผู้นั้นยืนยันว่า ผมตรวจและทำความสะอาดทุกวัน ผมรับรองว่า
    บาตรว่างไม่มีอะไรจริงๆ เมื่อท่านเอาบาตรไปแขวนก็อยู่ในสายตาของพวกผมเพราะไปไม่ไกลห่าง
    จากตึก ๑ ประมาณไม่ถึง ๑๐ เมตร และติดกับยามประตูกรมแพทย์ หมายถึงที่ท่านไปยืนเอาบาตร
    แขวนต้นไม้ แต่แปลกที่พวกเราไม่เห็นว่าใครเอาของมาใส่เลย ทุกครั้งที่ท่านเอาบาตรมาส่งให้
    กลับมีข้าวและดอกไม้ทุกวัน ปกติท่านสอนเตือนให้คณะนายทหารละชั่วประพฤติดีทุกวัน ทำเอา
    นายทหารเลิกสุรายาเมาไปหลายคน
    <o:p></o:p>
    รู้ภาษาต่างประเทศ
    วันหนึ่งผู้เขียนได้ไปที่กรมแพทย์ทหารเรือ พอไปถึงพวกนายทหารก็เล่าให้ฟังแล้วคิดในใจว่า
    ท่านผู้นี้อาจจะไม่ใช่ปุถุชนคนธรรมดา ประเภทไม่เป็นเรื่องเป็นราวอย่างผู้เขียน คิดว่าอย่างน้อยท่าน
    อาจจะได้ฌานโลกีย์ อย่างสูงอาจเป็นพระอริยะก็ได้ ที่คิดอย่างนั้นไม่ใช่หมายความว่าผู้เขียนมีฌานพิเศษ
    เป็นเครื่องรู้ ความจริงไม่มีอะไรนอกจากสนใจและสงสัยเท่านั้น จึงคุยกับบรรดานายทหารว่าเอาอย่างนี้
    ซิ เรามาลองท่านดูสักวิธีหนึ่ง คือลองพูดภาษาต่างๆ กับท่าน ถ้าท่านรู้เรื่องและพูดได้ทุกภาษาแล้ว
    ฉันคิดว่าพระองค์นี้เป็นพระอริยะขั้นปฏิสัมภิทาญาณ เพราะท่านผู้ได้ปฏิสัมภิทาญาณนั้นต้องเป็น
    พระอรหันต์ก่อน คุณสมบัติปฏิสัมภิทาญาณจึงปรากฏ ไม่เหมือนเตวิชโชและฉฬภิญโญทั้งสองอย่างนี้
    ได้ตั้งแต่ฌานโลกีย์ จึงรวบรวมนายทหารที่พูดภาษาต่างประเทศได้ ภาษา คือ
    ๑. ภาษาอังกฤษ
    ๒. ภาษาฝรั่งเศส
    ๓. ภาษาเยอรมัน
    ๔. ภาษาสเปน
    ๕. ภาษาญี่ปุ่น
    ๖. ภาษามลายู
    ได้ส่งนายทหารที่ชำนาญภาษานั้น ๆ ไปพูดกับท่าน ท่านก็พูดด้วยได้ทุกภาษา และพูดได้
    อย่างเขาเหล่านั้น เล่นเอานายทหารชุดนั้นงงไปตาม กันเมื่อท่านถูกถามว่าท่านเรียนภาษาต่าง
    มาจากไหน ? ท่านตอบว่า ท่านไม่เคยเรียนมาก่อนเลย เห็นเขาพูดมาก็มีความเข้าใจ และพูดได้
    ตามต้องการ ท่านว่ามีความรู้สึกเช่นเดียวกับพูดภาษาไทย เมื่อพบเข้าอย่างนี้ทำให้คิดถึงตำรา คือ
    พระไตรปิฎก ว่าท่านผู้นี้อาจเป็นพระอรหันต์ขั้นปฏิสัมภิญาณตามนัยที่ท่านอธิบายไว้ก็ได้ แต่ท่านจะเป็น
    พระอรหันต์หรือไม่ ผู้เขียนไม่รับรอง แต่ก็ต้องมานั่งคิดนอนตรองค้นคว้าหาหลักฐานเป็นการใหญ่
    แต่ละเล่มท่านก็เขียนว่า ท่านที่จะได้ปฏิสัมภิทาญาณมีการรู้ภาษาต่าง เป็นเครื่องสังเกตต้องเป็น
    พระอรหันต์ก่อน ท่านอาจารย์สร้อยท่านรู้ภาษาอย่างไม่จำกัดได้ ท่านจะเป็นพระอรหันต์ไหมหนอ
    โปรดช่วยกันค้นคว้าหาเหตุผล มายืนยันด้วย ใครพบเหตุผลหลักฐานก่อนกันก็ควรบอกกันต่อ ไป
    เพื่อความเข้าใจถูกในผลของการปฏิบัติสมณธรรม
    ปฏิสัมภิทาญาณปฏิบัติ

    ปฏิสัมภิทาญาณ หรือปฏิสัมภิทัปปัตโตนี้ เป็นระดับของท่านผู้ทรงคุณพิเศษครอบงำเตวิชโช
    และฉฬภิญโญทั้งหมด เพราะเหตุนี้ ท่านผู้ทรงปฏิสัมภิทาญาณนี้ จึงต้องปฏิบัติในกสิณทั้งสิบได้ครบถ้วน
    ตามนัยที่กล่าวมาแล้วในฉฬภิญโญ เมื่อชำนาญในฉฬภิญโญคือชำนาญในกสิณแล้ว ท่านเจริญใน
    อรูปฌานอีก ๔ คือ
    ๑. อากาสานัญจายตนะ

    ท่านเพ่งอากาศเป็นอารมณ์ โดยกำหนดหมายจิตคิดไว้เสมอว่า ในโลกนี้ไม่มีอะไรเป็นแท่งทึบ
    ไม่มีอะไรคงสภาพเป็นก้อนเป็นแท่งอยู่ตลอดกาลสมัย ไม่ช้านานเท่าใดก็ต้องอันตรธานสูญไป
    คล้ายอากาศ ท่านไม่มีความนิยม ในรูปสังขารเห็นสังขารเป็นโทษ เพราะพิจารณาเห็นว่าสังขาร
    ทั้งหลายเป็นแหล่งของความทุกข์ และความชั่วช้าสารเลว สังขารเต็มไปด้วยความทุกข์อันเกิดจาก
    ความอยากไม่มีสิ้นสุด ความร้อน ความหนาว ความป่วยไข้ ทุกขเวทนาอย่างสาหัส จะพึงมีมาก็เพราะ
    สังขารเป็นปัจจัย ท่านมีความเกลียดชังในสังขารเป็นที่สุด กำหนดจิตคิดละสังขารในชาติต่อ ไป
    ไม่ต้องการสังขารอีกถือเป็นอากาศธาตุเป็นอารมณ์ คิดว่าสังขารนี้เรายอมเป็นทาสรับทุกข์ของสังขาร
    เพียงชาตินี้ชาติเดียว ชาติต่อ ๆ ไปเราไม่ต้องการสังขารอีก ความต้องการก็คือ หวังความว่างเปล่า
    จากสังขาร ต้องการมีสภาพเป็นอากาศเป็นปกติ
    การเจริญอรูปกรรมฐานนี้ ทุกอย่างจะต้องยกเอากสิณอย่างใดอย่างหนึ่งมาเป็นอารมณ์ก่อน
    เสมอ คือเข้าฌานในกสิณนั้นๆ จนถึงฌาน ๔ แล้วเอานิมิตในกสิณนั้นมาเป็นอารมณ์ในอรูปกรรมฐาน
    เช่น อากาสานัญจายตนะนี้ท่านให้กำหนดนิมิตในรูปกสิณก่อน แล้วพิจารณารูปกสิณนั้นให้เห็นเป็นโทษ
    โดยกำหนดจิตคิดว่า หากเรายังต้องการรูปอยู่เพียงใด ความทุกข์อันเนื่องจากรูปย่อมปรากฏแก่เรา
    เสมอไปหากเราไม่มีรูปแล้วไซร้ทุกข์ภัยอันมีรูปเป็นเหตุก็จะไม่ปรากฏแก่เรา แล้วก็เพิกคืออธิษฐาน
    รูปกสิณนั้นให้เป็นอากาศ ยึดถืออากาศเป็นอารมณ์ ทำอย่างนี้จนจิตตั้งอยู่ในฌาน ๔ เป็นปกติชื่อว่าได้
    กรรมฐานกองนี้
    ๒. วิญญาณัญจายตนะ

    วิญญาณัญจายตนะนี้ เป็นอรูปฌานที่สอง ท่านผู้ปฏิบัติมุ่งหมายกำหนดเอาวิญญาณเป็นสำคัญ
    คือพิจารณาเห็นโทษของรูป และมีความเบื่อหน่ายในรูปตามที่กล่าวมาแล้ว ในอากาสานัญจายตนะ
    ท่านกำหนดจิตคิดว่า เราไม่ต้องการมีรูปต่อไปอีก ต้องการแต่วิญญาณอย่างเดียว เพราะรูปเป็นทุกข์
    ์วิญญาณต้องรับทุกข์อย่างสาหัสก็เพราะมีรูปเป็นปัจจัย ถ้ารูปไม่มี มีแต่วิญญาณ ทุกข์ก็จะไม่มี
    มาเบียดเบียน เพราะทุกข์ต่างๆ ต้องมีสังขารจึงเกาะกุมได้ ถ้ามีแต่วิญญาณทุกข์ก็หมดโอกาส
    จะทรมานได้ แล้วท่านก็จับรูปกสิณเป็นอารมณ์ แล้วกำหนดวิญญาณเป็นสำคัญจนตั้งอารมณ์อยู่ใน
    ฌาน ๔ เป็นปกติ ท่านที่ได้ฌานนี้มีประโยชน์ในการตรวจสอบจิตวิญญาณของตนเอง และของผู้อื่น
    ได้อย่างชัดเจน
    ๓. อากิญจัญญายตนะ

    อากิญจัญญายตนะนี้ ท่านพิจารณาว่าไม่มีอะไรเลย หรือไม่มีอะไรเหลือต่างจากอากาสานัญ--
    จายตนะ เพราะ อากาสานัญจายตนะยังมีการกำหนดว่ามีอากาศเป็นอารมณ์ อากิญจัญญายตนะนี้ ท่าน
    ไม่กำหนดหมายอะไรเลย ไม่ต้องการอะไรทั้งสิ้น ไม่ต้องการรูปและแม้แต่มีวิญญาณ ด้วยท่านคิดว่า
    แม้รูปไม่มี วิญญาณยังมีอยู่ วิญญาณก็ยังรับสุข รับทุกข์ทางด้านอารมณ์ เพื่อตัดให้สิ้นไปท่านไม่ต้องการ
    อะไรเลยแม้แต่ความหวังในอารมณ์ ปล่อยอารมณ์จากความหวังใดๆ ทั้งหมด โดยกำหนดจิตจับอารมณ์
    ในรูปกสิณอย่างใดอย่างหนึ่งในรูปฌานแล้วต่อไปก็เพิกรูปกสิณนั้นเสีย กำหนดจิตให้ว่างเปล่าจากอารมณ์
    เป็นปกติ จนอารมณ์จิตตั้งอยู่ในฌาน ๔ เป็นปกติ
    ๔. เนวสัญญานาสัญญายตนะ

    ฌานนี้ท่านว่า มีวิญญาณก็ไม่ใช่ หรือจะว่าไม่มีวิญญาณก็ไม่ใช่ สร้างความรู้สึกเหมือนคน
    ไม่มีวิญญาณ คือไม่ยอมรับรู้อะไรทั้งหมด ใครจะชม หรือนินทาว่าร้าย เอาของดีของเลวมาให้
    หรือนำไป หนาว ร้อน หิว กระหาย เจ็บ ป่วย รวมความว่าเหตุของความทุกข์ความสุขใดๆ ไม่มีความ
    ต้องการรับรู้ ทำเสมือนกับไม่มีอะไรเกิดขึ้น แบบในสมัยนี้เคยพบ อาจารย์กบ วัดเขาสาริกา
    องค์หนึ่ง ท่านเจริญแบบนี้ วิญญาณท่านมี ท่านรู้หนาวรู้ร้อน แต่ท่านทำเหมือนไม่รู้ ฝนตกฟ้าร้อง
    ท่านก็นอนเฉย ลมหนาวพัดมาท่านไม่มีผ้าห่ม ท่านก็นอนเฉย ใครไปใครมาท่านก็เฉย ทำไม่รู้เสีย
    บางรายไปนอนเฝ้าตั้งสามวันสามคืน ท่านไม่ยอมพูดด้วย ถึงเวลาออกมาจากกุฎี ท่านก็คว้าฆ้องตี
    โหม่งๆ ปากก็ร้องว่า ทองหนึ่งๆๆๆ แล้วท่านก็นอนของท่านต่อไป คนเลื่อมใสมากถึงกับตั้งสำนักศิษย์
    หลวงพ่อกบขึ้น เดี๋ยวนี้คณะศิษย์หลวงพ่อกบมากมาย สามัคคีกันดีเสียด้วย ทำอะไรก็พร้อมเพรียงกันทำ
    น่าสรรเสริญ ก่อนที่จะกำหนดจิตคิดว่าไม่มีอะไรเป็นจุดหมายของจิต ท่านก็ต้องยกรูปกสิณ จับนิมิต
    ในรูปกสิณเป็นอารมณ์ก่อนเหมือนกัน การเจริญในอรูปฌานนี้ ท่านผู้อ่านที่ยังไม่เคยได้รูปฌานในกสิณ
    คงจะคิดว่ายากมาก ความจริงถ้าได้ฌานในรูปกสิณแล้วไม่ยากเลย เพราะอารมณ์สมาธิก็ทรงอยู่
    ขั้นฌาน เท่านั้นเอง เพราะช่ำชองมาในกสิณสิบแล้ว มาจับทำเข้าจริงๆ ก็จะเข้าถึงจุดภายในสามวัน
    เจ็ดวันเท่านั้น
    เมื่อทรงอรูปฌานได้ครบถ้วนแล้ว ก็ฝึกเข้าฌานออกฌาน ตั้งแต่กสิณมา แล้วเลยเข้าอรูปฌาน
    ตามนัยที่กล่าวมาแล้วในบทว่าด้วยอภิญญาหก สำหรับอภิญญาหรือญาณในวิชชาสามย่อมใช้ให้เป็น
    ประโยชน์ได้ตั้งแต่ทรงฌานโลกีย์ สำหรับปฏิสัมภิทาญาณคือคุณพิเศษ ๔ ข้อในปฏิสัมภิทาญาณนี้
    จะได้ก็ต่อเมื่อสำเร็จอรหัตตผลแล้ว ในขณะที่ทรงฌานโลกีย์อยู่ คุณพิเศษ ๔ อย่างนั้นยังไม่ปรากฏ
    ปฏิสัมภิทาญาณแปลกจากเตวิชโชและฉฬภิญโญตรงนี้
    <o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
     
  11. pkpnk

    pkpnk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    244
    ค่าพลัง:
    +112
    ขันธ์ 5 หมายถึงการรับศีล 5 มาปฏิบัติโดยเคร่งครัด ถ้าทำไม่ได้ก็อย่าเผลอไปรับเข้า มิฉะนั้นอาจถูกลงโทษได้
    ขันธ์ 8 หมายถึงการรับศีล 8 ซึ่งจะต้องประพฤติพรหมจรรย์ ห้ามร่วมหลับนอนฉันท์สามีภรรยา งดเว้นอาหารมื้อเย็น สวดมนต์ไหว้พระ เจริญสมาธิภาวนา เหมือนการถือศีลบวชพราหมณ์นั่นเอง
    ขันธ์ 9 หมายถึงการรับศีลอุโบสถ ถือศีล 8 เคร่งครัด เด็ดดอกไม้ก็ไม่ได้ ดมดอกไม้หรือเครื่องหอมก็ไม่ได้ กินแต่อาหารเจ หรือมังสวิรัติ
    ขันธ์ 10 หมายถึงศีลของสามเณรหรือสามเณรี ก็เท่ากับการถือบวชโดยถือสิกขาบท 10 ประการ
    ขันธ์ 16 หมายถึงศีลของนักบวช ที่มุ่งการบำเพ็ญสมาธิภาวนา กินอาหารมือเดียว งดเว้นของสดของคาว กินแต่ผลไม้ เผือกมัน ไม่เที่ยวเดินพลุกพล่าน อยู่ด้วยการสำรวมปฏิบัติ นั่งสมาธิเป็นที่เป็นทาง แทบจะทำตัวเหมือนนักบวช เพียงแต่เป็นการบวชใจไม่ได้บวชกายเท่านั้น<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
     
  12. pkpnk

    pkpnk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    244
    ค่าพลัง:
    +112
    1. อธิษฐานตื่นนอนเช้าว่าวันนี้ลูกจะทำความดีให้มากที่สุด ตายเมื่อไร ขอไปนิพพานชาตินี้

    2. ทำบุญวันละบาท ขอถวายเป็นสังฆทาน ขอนิพพานชาตินี้ และขอให้ลูกคล่องตัวทุก ๆ อย่าง

    3. รักษาศีล 5 หรือ ศีล 8 ให้ครบทุกข้อจงขอบารมีพระพุทธเจ้ามาเป็นกำลังใจในการรักษาศีล

    4. ภาวนามีให้เลือกดังนี้แบบฝึกมโนมยิทธิ หายใจเข้า นะมะ หายใจออก พะธะ หรือหายใจเข้า พุธ หายใจออก โธ หรือหายใจเข้า นิพพาน หายใจออก นิพพาน

    5. นิมิต ฝึกจำพระพุทธรูปที่ตนชอบ 1 องค์หลับตาและลืมตา ต้องจำภาพพระพุทธรูปให้ได้

    6. ขยายนิมิต ให้ออกไปกลางแจ้งขอให้พระพุทธเจ้าขยายให้เต็มท้องฟ้า แล้วคลุมตัวเรา ร้านและกิจการของเรา

    7. เรียกบารมี ผลบุญใดที่ทำไว้แล้วทั้งหมด จงมาสนองตัวข้าพเจ้า ณ กาลบัดนี้เถิด

    8. ขอขมาพระรัตนตรัยทุกวัน ข้าพระพุทธเจ้า ขอขมาโทษต่อพระรัตนตรัยขอได้โปรดยกโทษให้แก่ข้าพระพุทธเจ้า เพื่อให้เข้าถึงซึ่งพระนิพพานในชาติปัจจุบัน ณกาลบัดนี้เถิด

    9. พิจารณา ให้ดูร่างกายของตนว่า สกปรก โสโครก เหม็นเน่าอืดพอง น้ำเหลืองเละเหมือนถุงห่อหุ้มของเน่าเหม็นมีร่างกายจึงเป็นทุกข์เพราะต้องแก่-เจ็บ แล้วก็ตายสลายหมด อนิจจาพอหนังกำพร้าฉีกขาด น้ำเลือดน้ำหนองหลั่งไหล เหม็นคาวน่าคลื่นไส้อวกแตกชาตินี้เป็นชาติสุดท้าย สำหรับร่างกายอันแสนโสโครก !

    10. ทาน-ศีล-ภาวนาจะน้อยหรือมาก ให้ทำด้วยความเต็มใจ เพื่อเข้าพระนิพพานชาตินี้

    11. ขอยืนยันว่าเราเข้านิพพานชาตินี้ได้เพราะ จิตนึกสิ่งใดไว้เสมอ ๆตายแล้วจะไปที่นั้นแล

    12. พระพุทธเจ้า 5 แสน 1 หมื่น 2 พัน 28 พระองค์, พระปัจเจกพระพุทธเจ้านับเป็นล้าน ๆ พระอรหันต์เป็นแสนๆ โกฎ อยู่ครบที่เมืองนิพพานคอยสงเคราะห์คนทำความดีพิสูจน์ได้

    13. นิพพานสูญ สูญแปลว่าว่างจากกิเลสทั้งหมด แต่มีสภาพเป็นทิพย์พิเศษบริสุทธิ์ผุดผ่อง อยู่ที่นั่นเป็นอมตะถ้าปฏิบัติกับครูผู้ทำได้ทำถึง ปัญหาไม่มี อย่าห่วงตำรา อย่าบ้าความรู้ปริยัติจงถอดหัวโขนสักครู่ แล้วไปฝึกกับครู ลูกศิษย์หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง อ.เมืองจ.อุทัยธานี

    14. คบผู้รู้นิพพาน สอนนิพพาน ทำทุก ๆอย่างเพื่อพระนิพพานชาตินี้ จะมีผลดีแก่ตนได้มรรคผลชาตินี้แล แต่…..ถ้าคบนักเปรตปฏิเสธพระนิพพาน อเวจีครับท่าน แย่งกันไปเยอะ

    15. แผ่เมตตาก่อนปฏิบัติธรรมข้าพเจ้าขอแผ่เมตตาบารมีจิตให้แด่ท่านทั้งหลาย และสรรพวิญญานทั้งปวงขอจงอโหสิกรรมซึ่งกันและกัน จงมีความสุข พ้นทุกข์ในชาตินี้และให้เข้าถึงที่นิพพานเทอญ

    16. คำอาราธนาเจริญกรรมฐาน ลูกขอบูชาและขออาราธนาบารมี พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์พระธรรมและพระอริยสงฆ์ทั้งหลาย บิดามารดา ครูบาอาจารย์ พรหมเทวดาทั้งหมดขอได้โปรดสงเคราะห์ให้ได้รู้ ได้เห็นพระนิพพานตามความเป็นจริง ณกาลบัดเดี๋ยวนี้เถิด

    17. อุทิศส่วนกุศลขออุทิศส่วนกุศลที่ได้บำเพ็ญมาแล้วนี้ ถวายแด่พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้าพระโพธิสัตว์ พระธรรมและพระอริยสงฆ์ บิดามารดา ครูบาอาจารย์ พรหมเทวดามนุษย์ทั้งหลาย อบายภูมิ 4 เจ้ากรรมนายเวร สรรพวิญญานทั้งหมด จงโมทนา จงมีความสุขพ้นจากความทุกข์ทั้งปวง ก้าวล่วงถึงพระนิพพานขอพญายมราชจงเป็นสักขีพยานการเข้าถึงนิพพาน ของข้าพเจ้าในชาตินี้ด้วยเถิด

     
  13. pkpnk

    pkpnk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    244
    ค่าพลัง:
    +112
    <HR style="COLOR: white" align=center width="100%" noShade SIZE=1>
    พระนิพพานเป็นแดนทิพย์วิเศษ


    พระนิพพานเป็นแดนทิพย์วิเศษพ้นจากอำนาจของการเวียนว่ายตายเกิดจาก นรกโลก มนุษย์โลก เทวโลก พรหมโลก คำว่านิพพาน แปลว่า ดับ หรือ หมด ดับหรือหมดจากอะไร


    1. ดับกิเลสสังโยชน์ 10 อย่างมีกิเลส โลภ โกรธ หลง เป็นต้น ดับความโลภ ด้วยการให้ทานเพื่อสงเคราะห์คนสัตว์ทั้งโลก ดับความโกรธ ด้วยการให้อภัยมีความสงสารเมตตาต่อคนสัตว์ทั้งโลกดับความหลง ด้วยการเพียรคิดพิจารณาตามความเป็นจริงว่า โลกมนุษย์ เทวโลกพรหมโลกไม่มีความสุขจริง สุขชั่วคราว โลกมนุษย์เต็มไปด้วย ความทุกข์ยากลำบากวุ่นวายเสื่อมสลายตลอดเวลา


    2. ดับขันธ์ 5 คือ กาย เวทนา สัญญา สังขารวิญญาณคือระบบประสาท ตา หู จมูก ลิ้น กาย อารมณ์ใจ ดับหมด คือ ไม่มีถึงแม้มีตอนนี้แต่ก็สลายตัวไปในที่สุด คือ แยกกาย รูป นาม ออกจากจิตที่เป็นของจริงกายเป็นเพียงเปลือก เป็นของปลอม เป็นภาพมายา จิตเพียงแต่มาอาศัยกายชั่วคราวเพราะความไม่รู้จริงของชีวิต จิตจึงต้องมาเกิดในร่างกายที่เป็นซากศพเดินได้หายใจได้ พูดได้อย่างนี้ ขอย้ำว่า วิญญาณในขันธ์ 5 คือความรู้สึกของระบบประสาทในร่างกายทั้งหมด ไม่ใช่ จิต อารมณ์ต่าง ๆ ดี ชั่วก็ไม่ใช่ของจิต


    3. จิตเดิมแท้เป็นจิตสะอาด บริสุทธิ์มีลักษณะเป็นจิตพุทธะประภัสสรมาก่อน เป็นจิตนิ่งเฉย ไม่วอกแวกไม่สอดส่ายอยากรู้อยากเห็นในเรื่องของโลก จิตเดิมแท้ มีพลังงานมีอานุภาพเหนือธรรมชาติ มีความฉลาดรอบรู้ในสิ่งที่ต้องการรู้ มีอภิญญา สมาบัติและมีความสุขเลิศล้ำ จิตอันนี้จะมีรูปลักษณ์หรือจะทำให้ไม่มีรูปลักษณ์ก็ได้ตามจิตปรารถนา ไม่ได้ดับสูญสลายเหมือนขันธ์ 5


    จิตที่เข้าถึงพระนิพพานจึงเป็นจิตที่อยู่ในขันธ์ 5 ทั้ง ๆที่ยังไม่ตายเพียงแต่กิเลส ตัณหา อุปาทาน อวิชชา อกุศลกรรม ไม่สามารถบังคับให้จิตต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป จิตแบบนี้คือ จิต สอุปาทิเสสนิพพานถ้าหากร่างกายตาย จิตที่สะอาดปราศจากกิเลส ตัณหาอุปาทานก็ไปเสวยสุขยอดเยี่ยมแดนทิพย์วิเศษนิพพานไม่อยู่ในอำนาจของวัฏฏสงสารไม่อยู่ในอำนาจของ อนิจจัง ทุกขังอนัตตา
    พระนิพพานเป็นโลกุตรธรรม อยู่เหนือคำว่า อนิจจัง ทุกขังอนัตตา

    นิพพานนัง สูญญัง แปลว่า พระนิพพานเป็นธรรมที่ว่างจากนรกโลก เทวโลกว่างจากมนุษย์โลก คือ ว่างจากการเวียนว่ายตายเกิด ว่างจากความแปรปรวนว่างจากความทุกข์ทั้งสิ้น ว่างจากอนัตตา ไม่มีวันสูญสลายตายไปเหมือนโลกทั้ง 3 พระนิพพานจะมีแต่จิตของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้าและพระอรหันต์จิตของพระนิพพานเป็นจิตที่ว่างเปล่าจาก อวิชชา ความรู้ไม่จริง ว่างเปล่าจากความอยากตัณหา ว่างจากอุปาทาน ความยึดติดในกายคน กายเทพ กายพรหม ซึ่งเป็นของสมมุติชั่วคราวกายนิพพานละเอียดเบาใส สว่างเบิกบานมีพลังมาก

    กายทิพย์นิพพาน เรียกว่าธรรมกาย เป็นอมตะธาตุ ที่ไม่มีดิน น้ำ ลม ไฟ ไม่ใช่กายเทพ กายพรหม เป็น อสังขธาตุเป็นพุทธิธาตุ เป็นธาตุที่มีอยู่แล้ว เหนือกฎธรรมชาตทั้งปวง เป็น กายทิพย์ จิตทิพย์จิตนิพพานของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นจิตของพระอรหันต์ พระขีณาสพ เรียกสภาวะจิตที่ไม่มีขันธ์ 5 ไม่มีกายหยาบ กายเทพ กายพรหม ว่าอนุปาทิเสสนิพพาน



    ดังนั้นพระนิพพานองค์พระศาสดาจึงแบ่งแยกไว้มี 2 ชนิดคือ


    1) สอุปาทิเสสนิพพาน คือ จิตดับจากกิเลส ตัณหา อุปาทาน อวิชชา อกุศลกรรมแต่ยังมีกายหยาบ คือ ขันธ์ 5 ของคน ขันธ์ทิพย์ของเทวดาพรหมอยู่ คือ ยังไม่ตายแต่จิตเป็นจิตของพระอรหันต์ ขีณาสพผู้ห่างจากกิเลสเครื่องเศร้าหมองยังรู้อาการเจ็บปวดของกายครบถ้วน

    2) อนุปาทิเสสนิพพาน กายหยาบขันธ์ 5 ตายดับสูญสลายจากกายสัตว์นรก กายมนุษย์ กายเทพ กายพรหม แต่จิตบริสุทธิ์ ไม่ดับสลายยังอยู่มีความสุขตลอดกาล ในแดนอมตะทิพย์นิพพานเป็นนิพพานกาย-ธรรมกาย

    การปฏิบัติธรรมตามเบื้องพระยุคลบาทขององค์สมเด็จพระศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ของพุทธบริษัทในโลกนี้ต้องแบ่งแยกกันออกไปนั่นหมายความว่าสภาพจิตของแต่ละท่านนั้นแตกต่างกันการสร้างบุญบารมีก็ไม่เหมือนกัน

    บางท่านมีบารมีเก่าในชาติก่อนมาแล้วเมื่อมาเกิดในชาติปัจจุบันก็ได้พยายามสร้างบุญบารมีเพิ่มขึ้นอีก บุคคลประเภทนี้นั้นไม่ว่าจะทำอะไรเกี่ยวข้องกับทางธรรมะขององค์สมเด็จพระพิชิตมารที่ได้ทรงสอนเอาไว้เช่น ได้ฟังธรรมได้อ่านบทพระธรรมวินัยก็เกิดเลื่อมใส เกิดปิติ ศรัทธาแล้วก็นำคำสอนขององค์พระบรมโลกเชษฐ์มาพิจารณา ด้วนสติปัญญาเห็นสมควรดียิ่งแล้วนำเอาไปประพฤติ ปฏิบัติ และได้ประโยชน์ อย่างมหาศาลเป็นต้นว่าหยุดการเวียนว่ายตายเกิด

    องค์พระศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงค้นหาสัจธรรมด้วยความพากเพียร สู้อดทนต่อความยากลำบากด้วยพระปัญญาบารมีและเต็มไปด้วยพระเมตตาปรารถนาที่จะช่วยสัตว์โลกให้พ้นทุกข์จากการเวียนว่ายตายเกิดพระองค์ท่านได้เอาชนะอุปสรรคทุกอย่าง ต่อสู้อย่างเต็มความสามารถมีความแน่วแน่เด็ดเดี่ยวที่จะค้นหาวิธีที่จะทำให้ไม่ต้องเวียนเกิดเวียนตายอีกต่อไป

    ในที่สุดพระองค์ก็ได้พบแดนทิพย์วิเศษที่ไม่มีใครทราบมาก่อนนั่นคือ สถานที่อันประเสริฐสูงสุดมีชื่อว่า พระนิพพาน เป็นแดนสงบสุขอย่างยอดเยี่ยมไม่มีดินน้ำลมไฟ ไม่มีพระอาทิตย์ ไม่มีขันธ์ 5 ไม่มีการเปลี่ยนแปลงไม่มีปัญหาต้องแก้ เสรีจากกฎของกรรม ไม่มีการเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป มีจิตทิพย์กายแก้ว มีอิสระ เสรีจากกฎของกรรม กฎของธรรมชาติ ไม่มีเพศหญิงเพศชายปรารถนาสิ่งใดก็ได้สิ่งนั้น ปรากฏทันที จะไปแดนไหน ๆก็ไม่มีใครห้าม

    นิพพานัง ปรมังสุขขัง
    พระนิพพานเป็นแดนทิพย์มองด้วยตาเปล่าไม่เห็นมีความสุขอย่างยิ่ง

    นิพพานนัง ปรมังสุญญัง
    นิพพานสูญจากความทุกข์ทั้งสิ้น สูญจากรูปนาม ขันธ์ 5 สูญจากอนิจจังทุกขัง อนัตตา สูญจากการเวียนว่ายตายเกิด สูญจากธาตุดินน้ำลมไฟสูญจากกรรมชั่วทุกอย่าง สูญในที่นี้หมายความว่าไม่มีทุกอย่างที่โลกนี้มี

    การที่พระนิพพานมีลักษณะตรงข้ามกับโลกเช่นนี้จึงเป็นการยากที่คนจะเข้าใจพระนิพพานได้ ผู้ที่จะเข้าใจพระนิพพานได้ชัดเจนจริง คือผู้ที่ปฏิบัติสมาธิ วิปัสสนา พิสูจน์ได้ด้วยตนเอง (เช่น มโนมยิทธิเป็นต้น)

    สัพเพ ธัมมา อนัตตา
    แปลว่าธรรมทั้งหลายทั้งปวงควบคุมไว้ไม่ได้ต้องแตกสลายสูญหายไปทั้งสิ้น บางท่านจึงแปลไปว่า พระนิพพาน คือ ธรรมะ เป็นอนัตตาสูญสลาย ตามโลกมนุษย์ด้วย ซึ่งเป็นการเข้าใจผิด
    พระนิพพานไม่ใช่อนัตตา เป็นอมตะไม่อยู่ในกฎของไตรลักษณ์

    โปรดอย่าลืมว่าพระพุทธองค์ทรงสอนธรรม 2 แบบ

    1. โลกียธรรม คือ ธรรมที่ชาวโลกปฏิบัติให้มีชีวิตอยู่ไม่ทุกข์เกินไปแต่ก็ยังวนเวียนว่ายตายเกิดอยู่

    2. โลกุตตรธรรม คือ ธรรมที่เหนือนรก โลกสวรรค์ พรหม เป็นธรรมที่ ทำให้หลุดพ้นทุกข์ นรก โลก สวรรค์ พรหมไปสู่แดนที่เป็นสุขตลอดกาล คือ พระนิพพาน

    ท่านผู้ได้ปฏิบัติศึกษาทางธรรมเป็นที่เข้าใจ ตามองค์พระพุทธศาสดาทรงสอนไว้เป็นหลักฐานในพระคัมภีร์เรียกว่าพระไตรปิฏก ซึ่งมีพระธรรมคำสอนอยู่ครบถ้วนและท่านที่มีศรัทธาบารมีมีความเชื่อมั่นในพระธรรมคำสอนได้เอาพระธรรมไปศึกษาพิจารณาปฏิบัติก็จะได้เกิดเป็นประโยชน์คือมีความสุขกายสุขใจ

    พระธรรมนั้นไม่มีคำว่า ล้าสมัย ทันสมัยตลอดกาลเพราะพระธรรมเป็นของจริง พระธรรมคือ ธรรมชาติในกายเรารอบ ๆ ตัวเราทุกอย่างในโลกนี้ไม่มีใครเป็นเจ้าของจริง พระธรรมคือธรรมชาติในกายเรารอบ ๆ ตัวเราทุกอย่างในโลกนี้ไม่มีใครเป็นเจ้าของ เพราะอยู่ใต้บังคับบัญชาของกฎธรรมชาติ คือต้องเปลี่ยนแปลง วิ่งเข้าหาความสึกหรอทรุดโทรม แล้วสูญสลายแตกหักกระจายในที่สุดถ้าเป็นคนสัตว์ก็เรียกว่า เน่าเหม็นตายจิตวิญญาณที่มาอาศัยอยู่ในกายชั่วคราวไม่ใช่เจ้าของร่างกายเลยร่างกายไม่ได้อยู่ในอำนาจของจิตวิญญาณ

    การปฏิบัติธรรมก็คือใช้จิตวิญญาณของเราที่มาอาศัยในกายหรือขันธ์ 5 ชั่วคราวนี้ ด้วยการทำง่ายๆดังนี้

    1. ตั้งจิตไว้ว่าทำความชั่วด้วยการผิดศีล 5 เพราะกลัวบาปกรรมมีนรกเป็นที่ไปเมื่อทิ้งร่างกายแล้ว

    2. เอาคุณพระพุทธเจ้า คุณพระธรรมคุณพระอริยสงฆ์ เทิดทูนบูชาไว้ในจิต ในใจตลอดเวลา เคารพเชื่อฟังท่านโดยการมีเมตตามีความกตัญญูรู้คุณบิดา มารดา ไหว้พระสวดมนต์ ทำสมาธิ ดูลมหายใจเข้าออกพิจารณาว่าร่างกายคนสะอาดหรือสกปรก เป็นสุขหรือทุกข์ต้องแบกภาระหาเงินหาอาหารมาเลี้ยงร่างกายเหนื่อยบากก็ต้องทน

    3. ไม่ลืมว่าทุกคนเดินเข้าหาความตายทุกลมหายใจเข้าออก ไม่กลัวตายเพราะรู้ว่าร่างกายเป็นเพียงธาตุ 4 ดิน น้ำ ลม ไฟ ประชุมกันชั่วคราว กายนี้เต็มไปด้วยความทุกข์ความหิว ร้อน หนาว เหนื่อย เหม็น มีภาระต้องเอาใจใส่ดูแลทำความสะอาด ตลอดเวลาและร่างกายก็เสื่อมโทรม เจ็บป่วย ตลอดเวลา เป็นการตัดความหลงรักในกายเขากายเราเพราะรู้สภาพความเป็นจริงของร่างกายว่า นอกจากเหม็น สกปรก น่าเกลียดแล้วยังน่ากลัวอีกเพราะเจ็บปวดทุกข์ทรมานก่อนตาย

    4. ตั้งใจอธิษฐานไว้ตลอดเวลาว่า เมื่อขันธ์ 5 ร่างกายนี้พังสลาย ตายเมื่อไรจิตวิญญาณเรามุ่งตรงไปพระนิพพานสถานเดียว เป็นการตัดอวิชชาความไม่รู้ไปโดยง่ายเพราะผู้ที่มีพระนิพพานอยู่ในใจเป็นผู้รู้ ผู้ตื่นผู้มีปัญญาดี

    การทำสมาธิคือ ความตั้งมั่นคงอย่างใดอย่างหนึ่งการคิดถึงความตาย การมีทาน ศีล นึกถึงพระนิพพานก็เป็นสมาธิอย่างหนึ่ง

    ถ้าจิตไม่ตั้งมั่น คิดนอกเรื่องจาก 4 ข้อนี้เป็นจิตคิดไร้สาระ ก็ต้องฝึกให้จิตคิด ในสิ่งที่เป็นสาธารณะประโยชน์ คือพิจารณาเฝ้าดูลมหายใจเข้าออก นึกว่า พุธ หายใจออก กำหนดจิตไว้ว่า โธ หรือ จะนึกสัมมาอรหัง นะโมพุทธายะ นึกพระนามขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แบบไหนก็ได้ดีทั้งนั้น เป็นพุทธานุสติกรรมฐาน ทำให้เข้าถึงพระนิพพานได้ง่าย ๆเพราะจิตนึกถึงองค์พระศาสดาเป็นจิตสะอาด ไม่มีกิเลสเครื่องกังวลเศร้าหมอง

    ขอท่านพุทธบริษัททั้งหลายรีบเร่งปฏิบัติความดีเถิดท่านเวลาของทุกท่านเหลือน้อยลงที่จะทำคุณงามความดีการทำความดีก็เป็นการยากเพราะกิเลสมารและมารรอบ ๆ ตัวเรามีมาก (มารคือผู้ดึงจิตเราให้ตกต่ำเศร้าหมอง)

    การปฏิบัติตาม 4 ข้อนั้นจะเอาชนะมารได้ชนะกิเลส ตัณหา อุปาทาน อวิชชา ได้ เป็นพระอริยะบุคคล ท่านที่ตั้งใจทำจริงไม่ย่อท้อจะได้พบสิ่งที่ท่านไม่เคยพบ คือ ความมหัศจรรย์ทางจิตของท่านเองท่านจะได้พบพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระอริยสงฆ์ แล้วท่านก็จะได้พบพระนิพพานแดนที่องค์พระผู้มีพระภาคเจ้ากำลังรอพุทธบริษัททุกท่านอยู่อย่างเมตตาเป็นห่วงและเอาใจช่วยทุกๆ ท่านตลอดเวลา<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
     
  14. pkpnk

    pkpnk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    244
    ค่าพลัง:
    +112
    <TABLE class=MsoNormalTable style="BACKGROUND: #eaeaea; WIDTH: 100%; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR style="HEIGHT: 18pt; mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #efefef; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #efefef; HEIGHT: 18pt; BACKGROUND-COLOR: transparent"></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p> </o:p>
    <TABLE class=MsoNormalTable style="BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 5.25pt 5.25pt 5.25pt 5.25pt" cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #efefef; PADDING-RIGHT: 5.25pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.25pt; PADDING-BOTTOM: 5.25pt; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 5.25pt; BORDER-BOTTOM: #efefef; BACKGROUND-COLOR: transparent" width="100%">
    คำว่า สมาบัติ แปลว่าถึงพร้อม แปลเหมือนกันกับคำว่า สมบัติ ศัพท์เดิมว่า สัมปัตติ
    แปลว่าถึงพร้อม มาแปลงเป็นบาลีไทย หมายความว่าศัพท์นั้นเป็นศัพท์บาลี แต่เรียกกันเป็นไทย ๆ
    เสีย ก็เลยเพี้ยนไปหน่อย เล่นเอาผู้รับฟังปวดเศียรเวียนเกล้าไปตามๆ กัน
    สมาบัติ แปลว่าเข้าถึงนั้น หมายเอาว่าเข้าถึงอะไร ข้อนี้น่าจะบอกไว้เสียด้วย ขอบอก
    ให้รู้ไว้เลยว่า ถึงจุดของอารมณ์ที่เป็นสมาธิหรือที่เรียกว่า ฌาน นั่นเอง เมื่ออารมณ์ของสมาธิ
    ที่ยังไม่เข้าระดับฌาน ท่านยังไม่เรียกว่า สมาบัติ เช่น
    ขณิกสมาธิ

    ขณิกสมาธิ แปลว่า ตั้งใจมั่นได้เล็กน้อย หรือนิดๆ หน่อยๆ คำว่า สมาธิ แปลว่า
    ตั้งใจมั่น ต้องมั่นได้นิดหน่อย เช่น กำหนดจิตคิดตามคำภาวนา ภาวนาได้ประเดี่ยวประด๋าว
    จิตก็ไปคว้าเอาความรู้สึกนึกคิดอารมณ์ภายนอกคำภาวนามาคิด ทิ้งองค์ภาวนาเสียแล้ว กว่าจะรู้ตัวว่า
    จิตซ่าน ก็คิดตั้งบ้านสร้างเรือนเสียพอใจ อารมณ์ตั้งอยู่ในองค์ภาวนาไม่ได้นานอย่างนี้ ตั้งอยู่ได้
    ประเดี๋ยวประด๋าว อารมณ์จิตก็ยังไม่สว่างแจ่มใส ภาวนาไปตามอาจารย์สั่งขาดๆ เกินๆ อย่างนี้แหละ
    ที่เรียกว่า ขณิกสมาธิ ท่านยังไม่เรียก ฌาน เพราะอารมณ์ยังไม่เป็นฌาน ท่านจึงไม่เรียกว่า
    สมาบัติ เพราะยังไม่เข้าถึงกฎที่ท่านกำหนดไว้
    ฌาน

    ขอแปลคำว่าฌานสักนิด ขอคั่นเวลาสักหน่อย ประเดี๋ยวเลยไปจะยุ่ง จะไม่รู้ว่า ฌาน
    แปลว่าอะไร คำว่า ฌาน นี้ แปลว่า เพ่ง หมายถึงการเพ่งอารมณ์ตามกฎแห่งการเจริญกรรมฐาน
    ถึงอันดับที่ ๑ เรียกว่าปฐมฌาน คือ ฌาน ๑ ถึงอันดับที่ เรียกว่าทุติยฌาน แปลว่า ฌาน ๒
    ถึงอันดับที่ เรียกว่า ตติยฌาน แปลว่าฌาน ถึงอันดับที่ ๔ เรียกว่า จตุตถฌาน แปลว่า ฌาน ๔
    ถึงอันดับที่แปด คือ ได้อรูปฌานถึงฌาน ๔ ครบทั้ง ๔ อย่าง เรียกว่า ฌาน
    ถ้าจะเรียกเป็นสมาบัติก็เรียกเหมือนฌาน ฌาน ๑ ท่านก็เรียกว่า ปฐมสมาบัติ ฌานที่ ๒
    ท่านก็เรียกว่า ทุติยสมาบัติ ฌาน ๓ ท่านก็เรียก ตติยสมาบัติ ฌาน ๔ ท่านก็เรียกจตุตถสมาบัติ
    ฌาน ๘ ท่านเรียก อัฎฐสมาบัติ หรือสมาบัติแปดนั่นเอง
    อุปจารสมาธิ

    อุปจารสมาธินี้เรียกอุปจารฌานก็เรียก เป็นสมาธิที่มีความตั้งมั่นใกล้จะถึงปฐมฌานหรือ
    ปฐมสมาบัตินั่นเอง อุปจารสมาธิคุมอารมณ์สมาธิไว้ได้นานพอสมควร มีอารมณ์ใสสว่างพอใช้ได้
    เป็นพื้นฐานเดิมที่จะฝึกทิพยจักษุญาณได้ อารมณ์ที่อุปจารสมาธิเข้าถึงนั้นมีอาการดังนี้
    ๑. วิตก คือความกำหนดจิตนึกคิดองค์ภาวนาหรือกำหนดรูปกสิณ จิตกำหนดอยู่ได้
    ไม่คลาดเคลื่อน ในเวลานานพอสมควร
    ๒. วิจาร การใคร่ครวญในรูปกสิณนิมิต ที่จิตถือเอาเป็นนิมิตที่กำหนด มีอาการเคลื่อนไหว
    หรือคงที่ มีสีสันวรรณะเป็นอย่างไร เล็กหรือใหญ่ สูงหรือต่ำ จิตกำหนดรู้ไว้ได้ ถ้าเป็นองค์ภาวนา
    ภาวนาครบถ้วนไหม ผิดถูกอย่างไร กำหนดรู้เสมอ ถ้ากำหนดลมหายใจ ก็กำหนดรู้ว่า หายใจเข้า
    ออกยาวหรือสั้น เบาหรือแรง รู้อยู่ตลอดเวลาอย่างนี้ เรียกว่าวิจาร
    ๓. ปีติ ความปลาบปลื้มเอิบอิ่มใจ มีจิตใจชุ่มชื่นเบิกบาน ไม่อิ่มไม่เบื่อในการเจริญภาวนา
    อารมณ์ผ่องใส ปรากฏว่าเมื่อหลับตาภาวนานั้นไม่มืดเหมือนเดิม มีความสว่างปรากฏคล้ายใคร
    นำแสงสว่างมาวางไว้ใกล้ๆ บางคราวก็เห็นภาพและแสงสีปรากฏเป็นครั้งคราว แต่ปรากฏอยู่ไม่นาน
    ก็หายไป อาการของปีติมีห้าอย่างคือ
    ๓.๑ มีการขนลุกขนชัน ท่านเรียกว่าขนพองสยองเกล้า
    ๓.๒ มีน้ำตาไหลจากตาโดยไม่มีอะไรไปทำให้ตาระคายเคือง
    ๓.๓ ร่างกายโยกโคลง คล้ายเรือกระทบคลื่น
    ๓.๔ ร่างกายลอยขึ้นเหนือพื้นที่นั่ง บางรายลอยไปได้ไกลๆ และลอยสูงมาก
    ๓.๕ อาการกายซู่ซ่า คล้ายร่างกายโปร่ง และใหญ่โตสูงขึ้นอย่างผิดปกติ
    อาการทั้งห้าอย่างนี้ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอาการของปีติ ข้อที่ควรสังเกตก็คือ
    อารมณ์จิตชุ่มชื่นเบิกบานแม้ร่างกายจะสั่นหวั่นไหว บางรายตัวหมุนเหมือนลูกข่างแต่จิตใจก็เป็นสมาธิ
    แนบแน่นไม่หวั่นไหว มีสมาธิตั้งมั่นอยู่เสมอ การกำหนดจิตเข้าสมาธิก็ง่าย คล่อง ทำเมื่อไร เข้าสมาธิได้
    ทันที อาการของสมาธิเป็นอย่างนี้
    ๔. สุข ความสุขชื่นบาน เป็นความสุขที่ละเอียดอ่อน ไม่เคยปรากฏการณ์มาก่อนเลยในชีวิต
    จะนั่งสมาธินานแสนนานก็ไม่รู้สึกปวดเมื่อย อาการปวดเมื่อยจะมีก็ต่อเมื่อคลายสมาธิแล้ว ส่วนจิตใจ
    มีความสุขสำราญตลอดเวลา สมาธิก็ตั้งมั่นมากขึ้น อารมณ์วิตกคือการกำหนดภาวนา ก็ภาวนาได้ตลอด
    เวลา การกำหนดรู้ความภาวนาว่าจะถูกต้องครบถ้วนหรือไม่เป็นต้น ก็เป็นไปด้วยดี มีธรรมปีติชุ่มชื่น
    ผ่องใส ความสุขใจมีตลอดเวลา สมาธิตั้งมั่น ความสว่างทางใจปรากฏขึ้นในขณะหลับตาภาวนา อาการ
    ตามที่กล่าวมาทั้งหมดนี้แหละ ที่เรียกว่า อุปจารสมาธิ หรือเรียกว่า อุปจารฌาน คือเฉียดๆ จะถึง
    ปฐมฌานอยู่แล้ว ห่างปฐมฌานเพียงเส้นยาแดงผ่า ๓๒ เท่านั้นเอง ตอนนี้ท่านยังไม่เรียกฌานโดยตรง
    เพราะอารมณ์ยังไม่ครบองค์ฌาน ท่านจึงยังไม่ยอมเรียกว่าสมาบัติ เพราะยังไม่ถึงฌาน
    ปฐมฌาน หรือ ปฐมสมาบัติ

    ปฐมฌาน หรือปฐมสมาบัตินี้ ท่านกำหนดองค์ของปฐมฌาน หรือปฐมสมาบัติไว้ ๕ อย่าง
    ดังต่อไปนี้
    ๑. วิตก จิตกำหนดนึกคิด โดยกำหนดรู้ลมหายใจเข้าออก ว่าหายใจเข้าหรือออก ถ้าใช้คำ
    ภาวนา ก็รู้ว่าเราภาวนาอยู่ คือภาวนาไว้มิให้ขาดสาย ถ้าเพ่งกสิณ ก็กำหนดจับภาพกสิณอยู่ตลอดเวลา
    อย่างนี้เรียกว่าวิตก
    ๒. วิจาร ถ้ากำหนดลมหายใจ ก็ใคร่ครวญกำหนดรู้ไว้เสมอว่า เราหายใจเข้าหรือหายใจออก
    หายใจเข้าออกยาวหรือสั้น หายใจเบาหรือแรง ในวิสุทธิมรรคท่านให้รู้กำหนดลมสามฐานคือ หายใจเข้า
    ลมกระทบจมูก กระทบอก กระทบศูนย์เหนือสะดือนิดหน่อย หายใจออกลมกระทบศูนย์ กระทบอก
    กระทบจมูกหรือริมฝีปาก
    ถ้าภาวนา ก็กำหนดรู้ไว้เสมอว่า เราภาวนาถูกต้องครบถ้วนหรือไม่ประการใด
    ถ้าเพ่งภาพกสิณ ก็กำหนดหมายภาพกสิณว่า เราเพ่งกสิณอะไร มีสีสันวรรณะเป็นอย่างไร
    ภาพกสิณเคลื่อนหรือคงสภาพ สีของกสิณเปลี่ยนแปลงไปหรือคงเดิม ภาพที่เห็นอยู่นั้นเป็นภาพกสิณ
    ที่เราต้องการ หรือภาพหลอนสอดแทรกเข้ามา ภาพกสิณเล็กหรือใหญ่ สูงหรือต่ำ ดังนี้เป็นต้น อย่างนี้
    เรียกว่า วิจาร
    ๓. ปีติ ความชุ่มชื่นเบิกบานใจ มีเป็นปกติ
    ๔. ความสุขเยือกเย็น เป็นความสุขทางกายอย่างประณีต ซึ่งไม่เคยมีมาในกาลก่อน
    ๕. เอกัคคตารมณ์ มีอารมณ์เป็นหนึ่ง คือ ตั้งมั่นอยู่ในองค์ทั้ง ประการนั้นไม่คลาดเคลื่อน
    ข้อที่ควรสังเกตก็คือ ปฐมฌานหรือปฐมสมาบัตินี้ เมื่อขณะทรงสมาธิอยู่นั้นหูยังได้ยินเสียง
    ภายนอกทุกอย่าง แต่ว่าอารมณ์ภาวนาหรือรักษาอารมณ์ไม่คลาดเคลื่อน ไม่รำคาญในเสียง เสียงก็ได้ยิน
    แต่จิตก็ทำงานเป็นปกติ อย่างนี้ท่านเรียกว่า ปฐมฌาน คือ อารมณ์เพ่งอยู่ โดยไม่รำคาญในเสียง
    ทรงความเป็นหนึ่งไว้ได้ ท่านกล่าวว่า กายกับจิตเริ่มแยกตัวกันเล็กน้อยแล้ว ตามปกติจิตย่อมสนใจ
    ในเรื่องของกาย เช่นหูได้ยินเสียง จิตก็คิดอะไรไม่ออกเพราะรำคาญในเสียง แต่พอจิตเข้าระดับ
    ปฐมฌาน กลับเฉยเมยต่อเสียง คิดคำนึงถึงอารมณ์กรรมฐานได้เป็นปกติ ที่ท่านเรียกว่าปฐมสมาบัติ
    ก็เพราะอารมณ์สมาธิเข้าถึงเกณฑ์ของปฐมฌาน ที่จิตกับกายเริ่มแยกทางกันบ้างเล็กน้อยแล้วนั่นเอง
    อารมณ์ปฐมฌาน และปฐมสมาบัติ

    เพื่อให้จำง่ายเข้า จะขอนำอารมณ์ปฐมฌานมากล่าวโดยย่อเพื่อทราบไว้ อารมณ์ปฐมฌาน
    โดยย่อมีดังนี้
    ๑. วิตก ความตรึกนึกคิดถึงอารมณ์ภาวนา
    ๒. วิจาร ความใคร่ครวญทบทวนถึงองค์ภาวนานั้นๆ ครบถ้วนถูกต้องหรือไม่เพียงใด
    ๓. ปีติ ความเอิบอิ่มใจ มีความชุ่มชื่นเบิกบานหรรษา
    ๔. สุข มีความสุขสันต์ทางกายและจิตใจอย่างไม่เคยมีมาในกาลก่อน เป็นความสุขอย่าง
    ประณีต
    ๕. เอกัคคตา มีอารมณ์เป็นหนึ่ง คือ ทรงวิตก วิจาร ปีติ สุข ไว้ได้โดยไม่มีอารมณ์อื่นเข้ามา
    แทรกแซง
    องค์ปฐมฌาน หรือ ปฐมสมาบัติ ๕ อย่างที่กล่าวมาแล้วนี้ ต้องปรากฏพร้อมๆ กันไป คือนึก
    คิดถึงองค์ภาวนา ใคร่ครวญในองค์ภาวนานั้น ว่าครบถ้วนถูกต้องหรือไม่ประการใด มีความชุ่มชื่น
    เบิกบานใจ มีอารมณ์ผ่องใสสว่างไสวในขณะภาวนา มีความสุขสันต์หรรษา มีอารมณ์จับอยู่ในองค์ -
    ภาวนา ไม่สนใจต่ออารมณ์ภายนอก แม้แต่เสียงที่ได้ยินสอดแทรกเข้ามาทำให้ได้ยินชัดเจน แต่จิตใจ
    ก็ไม่หวั่นไหว ไปตามเสียงนั้น จิตใจคงมั่นคงอยู่กับอารมณ์ภาวนาเป็นปกติ
    เสี้ยนหนามของปฐมฌาน

    เสี้ยนหนามหรือศัตรูตัวสำคัญของปฐมฌาน หรือ ปฐมสมาบัตินี้ ก็ได้แก่เสียง เสียงเป็นศัตรู
    ที่คอยทำลายอารมณ์ปฐมฌาน ถ้านักปฏิบัติทรงสมาธิอยู่ได้ โดยไม่ต้องระแวงหวั่นไหวในเสียง คือ
    ไม่รำคาญเสียงที่รบกวนได้ก็แสดงว่าท่านเข้าถึงปฐมฌานแล้ว ข้อที่ไม่ควรลืมก็คือ ฌานโลกีย์นี้
    เป็นฌานระดับต่ำ เป็นฌานที่ปุถุชนคนธรรมดาสามารถจะทำให้ได้ถึงทุกคน เป็นฌานที่เสื่อมโทรมง่าย
    หากจิตใจของท่านไปมั่วสุมกับนิวรณ์ห้าประการอย่างใดอย่างหนึ่งเข้า แม้แต่อย่างเดียว ฌานของท่าน
    ก็จะเสื่อมทันที ต่อว่าเมื่อไร ท่านขับไล่นิวรณ์ไม่ให้เข้ามารบกวนจิตใจได้ ฌานก็เกิดขึ้นแก่จิตใจของ
    ท่านต่อไป ฌานจะเสื่อม หรือ เจริญก็อยู่ที่นิวรณ์ ด้านนิวรณ์ไม่ปรากฏ จิตว่างจากนิวรณ์ จิตก็เข้าถึงฌาน
    ถ้านิวรณ์มารบกวนจิตได้ ฌานก็จะสลายตัวไป ฌานตั้งแต่ฌานที่ ๑ ถึง ฌานที่ ๘ มีสภาพเช่นเดียวกัน
    คือต้องระมัดระวังนิวรณ์ไม่ให้เข้ามายุ่งแทรกแซงเหมือนกัน ก่อนที่จะพูดถึงฌานที่ ๒ จะขอนำเอานิวรณ์
    ศัตรูร้ายผู้คอยทำลายฌานมาให้ท่านรู้จักหน้าตาไว้เสียก่อน
    <o:p></o:p>
    นิวรณ์ ๕

    อกุศลธรรมที่คอยทำลายล้างความดีที่เป็นกุศล คือ ฌาน ท่านเรียกว่า นิวรณ์ มี ๕ อย่าง คือ
    ๑. กามฉันทะ ความพอใจใน รูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส อันเป็นวิสัยของกามารมณ์
    ๒. พยาบาท ความผูกโกรธ จองล้างจองผลาญ
    ๓. ถีนมิทธะ ความง่วงเหงาหาวนอน ในขณะเจริญสมณธรรม
    ๔.อุทธัจจกุกกุจจะ ความคิดฟุ้งซ่าน และความรำคาญหงุดหงิดใจ
    ๕.วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัยในผลของการปฏิบัติ ไม่แน่ใจว่าจะมีผลจริงตามที่คิดไว้หรือไม่
    เพียงใด
    อารมณ์ทั้ง ๕ ประการนี้ เป็นเพื่อนสนิทกับจิตใจมานับจำนวนปีไม่ถ้วน ควรจะพูดว่าจิตใจ
    ของเราคบกับนิวรณ์มานานหลายร้อยหลายพันชาติ เมื่อจิตใจเราสนิทสนมกับอารมณ์ของนิวรณ์
    มานานอย่างนี้ เป็นธรรมดาอยู่เองที่จิตใจจะต้องอดคบหาสมาคมกับนิวรณ์ไม่ได้ เมื่อเรามาแนะนำ
    ให้คบหาสมาคมกับฌาน ซึ่งเป็นเพื่อนหน้าใหม่ มีนิสัยตรงข้ามกับเพื่อนเก่าก็เป็นการฝืนอารมณ์
    อยู่ไม่น้อย ฉะนั้น ในฐานะที่นิวรณ์กับจิตเป็นเพื่อนสนิทกันมานาน ก็อดที่จะแอบไปคบหาสมาคม
    กันไม่ได้ อารมณ์ที่จะคอยหักล้างนิวรณ์ คืออกุศลห้าประการนี้ได้ ก็อารมณ์ ๕ ประการของปฐมฌาน
    นั่นเอง เมื่อจิตกับนิวรณ์เป็นมิตรสนิทกันมานาน ฉะนั้น การดำรงจิตอยู่ในอารมณ์ฌานจึงทรงอยู่ได้
    ไม่นาน ทรงอยู่ได้ชั่วครู่ชั่วขณะ จิตก็เลื่อนเคลื่อนออกจากอารมณ์ฌานคลานเข้าไปหานิวรณ์ อาการ
    อย่างนี้เป็นกฎธรรมดาของท่านที่เข้าถึงฌานในระยะต้น หรือที่มีความช่ำชองชำนาญในฌานยังน้อยอยู่
    ต่อเมื่อไรได้ฝึกการดำรงฌาน กำหนดเวลาตามความต้องการได้แล้ว เมื่อนั้นแหละความเข้มข้น
    เข้มแข็งของกำลังจิตที่จะทรงฌานอยู่ได้นานตามความต้องการจึงจะปรากฏมีขึ้น ขอนักปฏิบัติจงเข้าใจ
    ไว้ด้วยว่าจิตที่เข้าสู่ระดับฌาน คือ ปฐมฌาน หรือฌานอื่นใดก็ตาม ถ้ายังไม่ฝึกฝนจนชำนาญ เข้าฌาน
    ออกฌานตามกำหนดเวลาได้แล้ว จิตก็จะยังทรงสมาธิไว้ได้ไม่นาน จิตจะค่อยถอยหลังเข้าหานิวรณ์
    ประการอย่างใดอย่างหนึ่งเมื่ออารมณ์ฌานย่อหย่อน เมื่อมีอาการอย่างนั้นบังเกิดขึ้นก็จงอย่าท้อใจ
    หมั่นฝึกฝนเข้าฌานโดยการกำหนดเวลาว่า ต่อแต่นี้ไปเราจะดำรงอยู่ในฌาน ตั้งแต่เวลานี้ถึงเวลา
    เท่านั้น แล้วเริ่มทำสมาธิเข้าสู่ระดับฌาน ทรงฌานไว้ตามเวลา จนกว่าเมื่อถึงเวลาแล้วจิตจะเคลื่อน
    จากฌาน มีความรู้สึกตามปกติเอง เมื่อทำได้แล้วหัดทำบ่อย ๆ จากเวลาน้อย ไปหาเวลามาก คือ
    ๑ ชั่วโมง ไปหา ๒-๓-๔-๕-๖ จนถึง ๑ วัน ๒-๓-๔-๕-๖-๗ พอครบกำหนด จิตก็จะคลายตัวออกเอง
    โดยไม่ต้องตั้งนาฬิกาปลุกหรือคนเรียก เมื่อชำนาญอย่างนี้ ชื่อว่าท่านเอาชนะนิวรณ์ได้ แต่ก็อย่าประมาท
    เพราะฌานโลกีย์ ถึงอย่างไรก็ดี ยังไม่พ้นอำนาจนิวรณ์อยู่นั่นเอง นิวรณ์ที่ไม่มารบกวนนั้น
    ไม่ใช่นิวรณ์สูญไปหรือสลายตัวเพียงแต่เพลียไปเท่านั้นเอง ต่อเมื่อไรท่านได้โลกุตตรฌาน คือ บรรลุ
    พระอริยะตั้งแต่พระโสดาบันขึ้นไปนั่นแหละท่านพอจะไว้ใจตัวได้ว่า ท่านไม่มีวันที่จะต้องตกมาอยู่
    ใต้อำนาจนิวรณ์ คืออกุศลธรรมต่อไปอีก เพราะโลกุตตรฌานคือได้ฌานโลกีย์แล้วเจริญวิปัสสนาญาณ
    จนบรรลุอริยมรรคอริยผล เป็นพระอริยบุคคลแล้ว อกุศลคือนิวรณ์ ๕ ประการเข้าครองจิตไม่ได้สนิทนัก
    สำหรับพระอริยะต้น พอจะกวนบ้างเล็กๆ น้อยๆ แต่ก็จักจูงใจให้ทำตามนิวรณ์สั่งไม่ได้ นิวรณ์บางอย่าง
    เช่น กามฉันทะ ความพอใจในความสวยงามของ รูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส ความโกรธ ความขัด -
    เคือง พระโสดาบัน พระสกิทาคามียังมี แต่ก็มีเพียงคิดนึกไม่ถึงกับลงมือทำ เรียกว่าอกุศลกวนใจนิด -
    หน่อย พอทำได้ แต่จะบังคับให้ทำไม่ได้ สำหรับพระอนาคามี ยังตกอยู่ใต้อำนาจของอุทธัจจะ คือความคิด
    ฟุ้งซ่าน แต่ก็คิดไปในส่วนที่เป็นกุศลใหญ่มากกว่า ความคิดฟุ้งเลอะเลือนเล็กๆ น้อย ๆ พอมีบ้าง
    แต่ไม่มีอะไรเป็นภัย เพราะพระอนาคามีหมดความโกรธ ความพยาบาทเสียแล้ว
    อำนาจของนิวรณ์มีอย่างนี้ บอกให้รู้ไว้ จะได้คอยยับยั้งชั่งใจคอยระมัดระวังไว้ไม่ปล่อยให้ใจ
    ระเริงหลงไปกับนิวรณ์ ที่ชวนให้จิตมีความรู้สึกนึกคิดไปในส่วนที่เป็นอกุศลยับยั้งตนไว้ในอารมณ์ของ
    ฌานเป็นปกติ ท่านที่มีอารมณ์จิตเข้าถึงอารมณ์ฌานและเข้าฌานไว้เป็นปกติ ท่านผู้นั้นมีหน้าตาแช่มชื่น
    เอิบอิ่มอยู่เสมอ มีอารมณ์เบิกบานไม่หดหู่ เห็นน่ารักอยู่ตลอดเวลา ฌานแม้แต่เพียงปฐมฌานจัดว่า
    เป็นฌานเบื้องต้น ก็มีผลไม่น้อยถ้าทรงไว้ได้ไม่ปล่อยให้เสื่อม ตายไปในขณะที่ทรงฌาน ก็สามารถ
    ไปเกิดในพรหมโลกได้สามชั้น คือ ปฐมฌานหยาบ เกิดเป็นพรหมชั้นที่ ปฐมฌานกลาง เกิดเป็น
    พรหมชั้นที่ ๒ ปฐมฌานละเอียด เกิดเป็นพรหมชั้นที่ ๓ ถ้าท่านเอาสมาธิในปฐมฌานมาเป็นกำลังของ
    วิปัสสนาญาณแล้วอำนาจสมาธิของปฐมฌานก็สามารถเป็นกำลังให้วิปัสสนาญาณกำจัดกิเลสเป็น
    สมุจเฉทปหาน คือตัดกิเลสได้เด็ดขาด จนบรรลุอรหัตตผลได้สมความปรารถนา อำนาจฌานแม้แต่
    ฌานที่ มีอานุภาพมากอย่างนี้ ขอท่านนักปฏิบัติจงอย่าท้อใจ ระมัดระวังใจ อย่าหลงใหลในนิวรณ์
    จนเสียผลฌาน
    <o:p></o:p>
    ทุติยฌานหรือทุติยสมาบัติ

    ทุติยฌาน แปลว่าฌานที่ ๒ ทุติยสมาบัติ แปลว่าสมาบัติที่ ๒ ฌานและสมาบัติ ได้อธิบาย
    มาแล้วแต่ฌานต้นคือ ปฐมฌาน จะไม่อธิบายอีก ปฐมฌานมีอารมณ์ ๕ ตามที่กล่าวมาแล้วใน
    ฌานที่ ๑ สำหรับทุติยฌานนี้ มีอารมณ์ ๓
    อารมณ์ ๓ ของทุติยฌานมีดังต่อไปนี้
    อารมณ์ทุติยฌานมี ๓
    ๑. ปีติ ความเอิบอิ่มใจ
    ๒. สุข ความสุขอย่างประณีต
    ๓. เอกัคคตา มีอารมณ์เป็นหนึ่ง
    อารมณ์ทุติยฌานนี้ ก็ตัดเอามาจากอารมณ์ปฐมฌานนั่นเอง ท่านที่ทรงสมาธิเข้าถึง
    ทุติยฌานนี้ ท่านตัดวิตก วิจารอันเป็นอารมณ์ของปฐมฌานเสียได้ คงเหลือแต่ ปีติ สุข เอกัคคตา
    อาการตัดวิตก วิจารนั้นมีความรู้สึกอย่างไรในเวลาปฏิบัติจริง ข้อนี้นักปฏิบัติสนใจกันมากเป็นพิเศษ
    เพราะเพียงอ่านรู้แล้วยังหาความเข้าใจจริงไม่ได้ การตัดก็มิใช่จะตัดออกไปเฉยๆ ได้ตามอารมณ์
    วิตกแปลว่าตรึก นึกคิด วิจาร แปลว่า ไตร่ตรอง ใคร่ครวญ ท่านลองพิจารณาดูเถิดว่า วิตกวิจารนี้
    เป็นอารมณ์ที่ตัดไม่ได้ง่ายเลย ใคร ๆ ที่ไหนจะมาห้ามความรู้สึกนึกคิดกันง่าย ได้ เคยฟังท่านสอน
    เวลาเรียน ท่านสอนว่าให้ตัดวิตกวิจารออกเสียได้แล้ว ทรงอยู่ในปีติ สุข เอกัคคตา เท่านี้ก็ได้ทุติยฌาน
    ท่านพูดของท่านถูก ฟังก็ไม่ยาก แต่ตอนทำเข้าจริง ๆ พอมาเจอตัวตัดวิตก วิจารเข้าจริง ๆ กลับไม่
    เข้าใจ จะพูดให้ฟังถึงการตัดวิตกวิจาร
    ตัดวิตกวิจารตามผลปฏิบัติ

    ตามผลปฏิบัตินั้น วิตกวิจารที่ถูกตัด มิได้ตัดด้วยการยกเว้น คืองดการนึกคิดเอาเอง เฉย
    ท่านตัดด้วยการปฏิบัติเข้าถึงระดับ คือ ในระยะแรกก็เจริญภาวนาคาถา ภาวนาตามท่านอาจารย์สอน
    จะภาวนาว่าอย่างไรก็ได้ ท่านไม่ได้จำกัดไว้ คาถาภาวนาเป็นสายเชือกโยงใจเท่านั้น ให้ใจมีหลักเกาะไว้
    ไม่ให้สอดส่ายไปในอารมณ์นอกจากคำภาวนา อย่างนี้ท่านเรียกว่า "บริกรรมภาวนา" ขณะที่ภาวนาอยู่
    จิตคิดถึงคำภาวนานั้น ท่านเรียกว่า " วิตก" จิตที่คอยประคับประคองคำภาวนา คิดตามว่า เราภาวนา
    ถูกตามอาจารย์สอนหรือไม่ ครบถ้วนหรือไม่ อย่างนี้ท่านเรียกว่า " วิจาร " การตัดวิตกวิจาร ก็ภาวนา
    ไปอย่างนั้น จนเกิดปีติ สุขและเอกัคคตา คือมีอารมณ์คงที่ จิตไม่สนใจกับอารมณ์ภายนอก รักษาอารมณ์
    ภาวนา และอาการเอิบอิ่ม สุขสันต์อยู่ตลอดเวลา ลมหายใจชักจะอ่อนลงทุกที รู้สึกว่าหายใจเบา อารมณ์-
    จิตโปร่งแจ่มใส หลับตาแล้ว แต่คล้ายกับมีใครเอาประทีปมาวางไว้ใกล้ ในระยะนี้เอง จิตจะหยุดภาวนา
    เอาเฉยๆ มีอารมณ์นิ่งดิ่งสบายกว่าขณะที่ภาวนามาก รู้สึกว่าลมหายใจอ่อนระรวยลง หูได้ยินเสียงภาย-
    นอกแต่เบาลงกว่าเดิม จิตไม่สนใจกับอะไร มีอารมณ์เงียบสงัดดิ่งอยู่ บางรายพอรู้สึกตัวว่าหยุดภาวนา
    ก็ตกใจ รีบคิดถึงคำภาวนา บางรายก็คว้าต้นชนปลายไม่ถูก คำภาวนาภาวนามาจนคล่อง กลับคิดไม่ออก
    ว่าอะไรเป็นต้นเป็นปลาย กึกกักอึกอักอยู่ครู่หนึ่ง จึงจับต้นชนปลายถูก อาการที่จิตสงัดปล่อยคำภาวนา
    มีอารมณ์เฉยไม่ภาวนานั่นแหละ เป็นการละวิตกวิจาร ละด้วยอารมณ์เข้าถึงสมาธิอันดับฌาน
    ไม่ใช่อยู่ ๆ ก็จะมาหยุดภาวนาไปนั้น ตอนนั้นจิตตกอารมณ์ทุติยฌาน เข้าสู่อารมณ์ปฐมฌานตามเดิม
    บางรายก็เข้าสู่ภวังค์คืออารมณ์ปกติธรรมดาเอาเลย
    พูดมาอย่างนี้ คิดว่าท่านผู้อ่านคงจะเข้าใจแล้วว่า การละหรือตัดวิตกวิจารนั้น ก็การที่ภาวนาไป
    จนมีอารมณ์สงัด จิตปล่อยคำภาวนานั่นเอง เมื่อจิตปล่อยคำภาวนาแล้ว ก็เหลือแต่ความชุ่มชื่นหรรษา
    มีความสุขสันต์ทางกายอย่างประณีต มีอารมณ์ใจดิ่งอยู่อย่างไม่สนใจกับอารมณ์ใด หูเกือบจะไม่ได้ยิน
    เสียงอะไร เป็นอารมณ์จิตที่มีความสุขสบายยอดเยี่ยมกว่าฌานที่ ๑ มาก เพราะฌานที่ ๑ ยังต้องมีกังวล
    อยู่กับการภาวนาและต้องระมัดระวังบทภาวนาให้ถูกต้องครบถ้วน จัดว่ามีกังวลมาก สำหรับทุติยฌานนี้
    ตัดคำภาวนาออกเสียได้ด้วยการเข้าถึงอารมณ์ที่ละเอียดกว่า มีแต่ความชุ่มชื่นหรรษาด้วยอำนาจปีติ
    มีความสุขละเอียดอ่อนประณีต เพราะสู่ความสุขอันประณีตด้วยอำนาจสมาธิที่ตั้งมั่นกว่าปฐมฌาน
    จิตเป็นหนึ่ง คือมีอารมณ์สงัดจากอารมณ์ภายนอก แม้แต่คำภาวนาก็ไม่แยแส นี่แหละที่ท่านเรียกว่า
    ได้ทุติยฌาน หรือทุติยสมาบัติ เมื่อได้แล้วต้องฝึกฝนให้คล่องว่องไว คิดจะเข้าทุติยฌานเมื่อไร ก็เข้าได้
    ทันท่วงที หรือจะทรงทุติยฌานอยู่นานเท่าใด ก็กำหนดเวลาได้ตามความประสงค์ อย่างนี้จึงจะชื่อว่า
    ได้ทุติยฌานแน่นอน แต่ทว่าเมื่อได้แล้วก็อย่าประมาท ถ้าพลั้งพลาดปล่อยให้อกุศลมารบกวนใจ หรือ
    จิตใจไปใคร่ในอกุศลเข้าเมื่อไร ทุติยฌานก็ทุติยฌานนั่นแหละ เป็นเสื่อมทรามลงทันที ฉะนั้นท่านจึงว่า
    ฌานโลกีย์นี้ระมัดระวังยาก ต้องคอยประคับประคองประคบประหงมยิ่งกว่าเด็กอ่อนนอนเบาะเสียอีก
    เสี้ยนหนามของทุติยฌาน

    เสี้ยนหนามของปฐมฌานได้แก่เสียง เสียงเป็นศัตรูคอยทำลายปฐมฌาน เมื่อใดถ้าจิต
    ยุ่งกับเสียง คือทนรำคาญไม่ไหว ก็หมายความว่า ปฐมฌานเสื่อมเสียแล้ว สำหรับทุติฌานนี้ มีวิตก
    วิจารเป็นเสี้ยนหนามศัตรู เมื่อขณะที่จิตทรงสมาธิอยู่ในระดับทุติยฌาน จิตคอยจะเคลื่อนเลื่อน
    ลงมาหาอารมณ์ปฐมฌาน คือคอยจะยึดเอาคาถาภาวนาเป็นอารมณ์ เพราะคาถาภาวนาเป็นวิตกวิจาร
    จึงจำต้องคอยระมัดระวังไว้ อย่าปล่อยสติสัมปชัญญะให้คลาดเคลื่อน คุมอารมณ์ทุติยฌานอย่าให้
    เลือนไปได้ ฝึกหัดตั้งกำหนดเวลาทรงฌานเข้าไว้ แล้วทำให้ชินตามกำหนดเวลา
    อานิสงส์ทุติยฌาน

    ฌานทั้งหมด เป็นอารมณ์สมาธิที่ทำจิตใจให้พร้อมด้วยสติสัมปชัญญะ เวลาจะทำการงาน
    ก็มีความทรงจำดี จิตใจไม่เลอะเลือนฟุ้งซ่าน เป็นอารมณ์รักษาโรคประสาทได้ดีที่สุด นอกจากนี้
    เวลาจะตายก็มีสติสัมปชัญญะดีไม่หลงตาย ถ้าตายในระหว่างฌานท่านว่าทุติยฌานที่เป็นโลกียฌาน
    ให้ผลดังนี้
    ก. ทุติยฌานหยาบ ให้ผลไปเกิดในพรหมโลกชั้นที่ ๔
    ข. ทุติยฌานกลาง ให้ผลไปเกิดในพรหมโลกชั้นที่ ๕
    ค. ทุติยฌานละเอียด ให้ผลไปเกิดในพรหมโลกชั้นที่
    ถ้าเอาอารมณ์ทุติยฌานไปเป็นกำลังของวิปัสสนาญาณแล้ว สมาธิระดับทุติยฌานจะมีกำลัง
    ช่วยให้วิปัสสนาญาณกำจัดกิเลสได้ดีและรวดเร็วกว่ากำลังของปฐมฌานมาก ท่านอาจมีหวังถึงที่สุด
    ของพรหมจรรย์ในชาติปัจจุบันก็ได้ ถ้าท่านมีความเพียรดี ปฏิบัติตรงต่อพระพุทธพจน์ของ
    พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และปฏิบัติพอดีพอควร ไม่ยิ่งหย่อนนัก เรียกว่าปฏิบัติพอเหมาะพอดี การปฏิบัติ
    พอเหมาะพอดีนี้ปฏิบัติอย่างไร ท่านก็ศึกษาจากตัวของท่านเองนั่นแหละตรงต่อความเป็นจริง
    <o:p></o:p>
    ตติยฌานหรือตติยสมาบัติ

    ปฐม แปลว่าที่ ๑ ทุติยะ แปลว่าที่ ๒ ตติยะ แปลว่าที่ ๓ ตติยฌานจึงแปลว่า ฌานที่ ๓
    ตติยสมาบัติ แปลว่า การเข้าถึงอารมณ์ฌานที่ ๓ ฌานที่ ๓ นี้ มีอารมณ์ ๒ คือ
    ๑. สุข ได้แก่ความสุขที่ปราศจากปีติ คือความสุขทางจิตโดยเฉพาะ ไม่มีความสุข
    ที่เนื่องด้วยกาย
    ๒. เอกัคคตา มีอารมณ์เป็นหนึ่ง ที่ไม่มีอารมณ์ห่วงใยในกาย เป็นอาการที่สงัดจากกาย
    ฌานนี้ท่านว่าเป็นฌานที่กายกับจิตแยกกันเด็ดขาด
    อาการของฌานที่ ๓ นี้ เป็นอาการที่จิตตัดปีติ ความเอิบอิ่มใจในฌานที่ ๒ ออกเสียได้
    เมื่ออารมณ์จิตเข้าถึงฌานที่ ๓ นี้ จะรู้สึกว่า อาการขนพองสยองเกล้าก็ดี น้ำตาไหลก็ดี กายโยกโคลง
    ก็ดี อาการซู่ซ่าทางกาย คล้ายกายเบา กายใหญ่ กายสูงจะไม่ปรากฏเลย มีอาการทางกายเครียด
    คล้ายกับใครมาจับมัดไว้จนแน่น หรือคล้ายหลักที่ปักจนแน่นไม่มีการโยกโคลงได้ฉันนั้น จงจำไว้ว่า
    ตั้งแต่ฌานที่ ๒ เป็นต้นมา ไม่มีการภาวนาเลย ถ้ายังภาวนาอยู่ และหูได้ยินเสียงชัด แต่ไม่รำคาญ
    ในเสียง เป็นฌานที่ ตั้งแต่ฌานที่ มาไม่มีการภาวนา และเรื่องเสียงเกือบไม่มีความหมาย คือ
    ไม่มีความสนใจในเสียงเลย เสียงมีอยู่ก็เหมือนไม่มี เพราะจิตไม่รับเสียง ลมหายใจจะค่อยๆ น้อย
    อ่อนระรวยลงทุกขณะ ในฌานที่ ๓ นี้ลมหายใจยังปรากฏ แต่ก็รู้สึกเบาเต็มที่มีอาการคล้าย
    จะไม่หายใจ แต่ก็พอรู้สึกน้อยๆ ว่าหายใจ จิตสงัดไม่มีการหวั่นไหว ไม่มืด มีความโพลงอยู่
    มีอารมณ์แน่นในสมาธิมากจนรู้ตัวว่าอารมณ์แนบแน่นกว่าสองฌานที่ผ่านมา อย่างนี้ท่านเรียกว่า
    เข้าถึงฌานที่ ๓ ต้องฝึกเข้าฌานออกฌานให้แคล่วคล่องว่องไวตามที่กล่าวมาแล้ว
    <o:p></o:p>
    เสี้ยนหนามของฌานที่ ๓

    ปีติ เป็นเสี้ยนหนามของ ฌานที่ ๓ เพราะฌานที่ ๓ ตัดปีติเสียได้ แต่ถ้าอารมณ์
    ตกลงไปปีติจะปรากฏขึ้น ถ้าปีติปรากฏขึ้นเมื่อไร พึงทราบเถิดว่า ขณะนี้อารมณ์จิตเคลื่อน
    จากฌานที่ มาอยู่ระดับฌาน แล้วถ้าปรากฏว่ามีการภาวนาด้วย แต่จิตยังไม่รำคาญในเสียง
    ก็ยิ่งร้ายใหญ่ เพราะอารมณ์สมาธิไหลออกจนเหลือเพียงฌาน ๑ ท่านให้ระมัดระวังด้วยการทรง
    สติสัมปชัญญะ อย่าให้อารมณ์สมาธิรั่วไหลเป็นอันขาด เพราะจะเป็นอันตรายแก่ฌาน ๓

    อานิสงส์ฌานที่ ๓

    ฌานที่ ๓ นี้ ถ้าทรงไว้ได้จนตาย ในขณะตาย ตายในระหว่างฌานที่ ท่านว่าจะไม่
    หลงตาย เมื่อมีชีวิตอยู่ ก็จะเป็นคนมีอารมณ์แช่มชื่นเบิกบานตลอดเวลา หน้าตาสดชื่นผ่องใส
    เมื่อตายแล้ว ฌาน ๓ ย่อมส่งผลให้เกิดเป็นพรหม คือ
    ๑. ฌานที่ ๓ หยาบ ให้ผลไปเกิดเป็นพรหมชั้นที่ ๗
    ๒. ฌานที่ ๓ กลาง ให้ผลไปเกิดเป็นพรหมชั้นที่ ๘
    ๓. ฌานที่ ๓ ละเอียด ให้ผลไปเกิดเป็นพรหมชั้นที่ ๙
    ฌาน ๓ ที่เป็นโลกียฌานให้ผลอย่างนี้ ถ้าเอาฌาน ๓ ไปเป็นกำลังของวิปัสสนาญาณ
    วิปัสสนาจะมีกำลังกล้า ตัดกิเลสให้เด็ดขาดได้โดยรวดเร็ว อาจได้บรรลุมรรคผลเบื้องสูงในชาตินี้
    โดยไม่ชักช้านัก ผลของท่านที่ทรงฌาน ไว้ได้มีผลดังกล่าวมาแล้วนี้
    จตุตถฌาน หรือ จตุตถสมาบัติ

    จตุตถะ แปลว่าที่ ๔ จตุตถฌานจึงแปลว่าฌานที่ ฌานที่ ๔ นี้มีอารมณ์ ๒ เหมือน
    ฌาน แต่ผิดกันที่ฌาน มีสุขกับเอกัคคตา สำหรับฌานที่ นี้ ตัดความสุขออกเสียเหลือแต่
    เอกัคคตา และเติมอุเบกขาเข้ามาแทน ฉะนั้น อารมณ์ของฌาน ๔ จึงมีอารมณ์ผิดแผกจาก
    ฌาน ๓ ตรงที่ตัดความสุขออกไป และเพิ่มการวางเฉยเข้ามาแทนที่
    อาการของฌาน ๔ เมื่อปฏิบัติถึง

    ฌาน ๔ เมื่อนักปฏิบัติ ปฏิบัติถึงมีอาการดังนี้
    ๑. จะไม่ปรากฏลมหายใจเหมือนสภาพฌานอื่นๆ เพราะลมละเอียดจนไม่ปรากฏว่ามี
    ลมหายใจ ในวิสุทธิมรรคท่านว่าลมหายใจไม่มีเลย แต่บางอาจารย์ท่านว่า ลมหายใจนั้นมี
    แต่ลมหายใจละเอียดจนไม่มีความรู้สึกว่าหายใจ ตามนัยวิสุทธิมรรคท่านกล่าวถึงคนที่ไม่มี
    ลมหายใจไว้ ๔ จำพวกด้วยกัน คือ ๑. คนตาย ๒. คนดำน้ำ ๓. เด็กในครรภ์มารดา
    ๔.ท่านที่เข้าฌาน ๔ รวมความว่า ข้อสังเกตที่สังเกตได้ชัดเจนในฌาน ที่เข้าถึงก็คือ
    ไม่ปรากฏว่ามีลมหายใจการที่ฌาน เมื่อเข้าถึงแล้ว และขณะที่ทรงอยู่ในระดับของฌาน
    ไม่ปรากฏว่ามีลมหายใจนี้เป็นความจริง มีนักปฏิบัติหลายท่านที่พบเข้าแบบนี้ถึงกับร้องเอะอะโวยวาย
    บอกว่าไม่เอาแล้ว เพราะเกรงว่าจะตายเพราะไม่มีลมหายใจ บางรายที่อารมณ์สติสมบูรณ์หน่อย
    ก็ถึงกับค้นคว้าควานหาลมหายใจ เมื่ออารมณ์จิตตกลงระดับต่ำกว่าฌานที่ ในที่สุดก็พบลมหายใจ
    ที่ปรากฏอยู่กับปลายจมูกนั่นเอง
    ๒. อารมณ์จิตเมื่อเข้าสู่ระดับฌาน ๔ จะมีอารมณ์สงัดเงียบจากอารมณ์ภายนอกจริง
    ดับเสียง คือ ไม่ได้ยินเสียง ดับสุข ดับทุกข์ทางกายเสียจนหมดสิ้น มีอารมณ์โพลงสว่างไสวเกินกว่า
    ฌานอื่นใด มีอารมณ์สงัดเงียบ ไม่เกี่ยวข้องด้วยร่างกายเลย กายจะสุข จะทุกข์ มดจะกิน ริ้นจะกัด
    อันตรายใดๆ จะเกิด จิตในระหว่างตั้งอยู่สมาธิที่มีกำลังระดับฌาน ๔ จะไม่รับรู้อะไรทั้งสิ้น เพราะฌานนี้
    กายกับจิตแยกกันเด็ดขาดจริงๆ ไม่สนใจข้องแวะกันเลย ดังจะเห็นในเรื่องของลมหายใจ ความจริง
    ร่างกายนี้จำเป็นมากในเรื่องหายใจ เพราะลมหายใจเป็นพลังสำคัญของร่างกาย พลังอื่นใดหมดไป
    แต่อัสสาสะ ปัสสาสะ คือลมหายใจยังปรากฏ ที่เรียกกันตามภาษาธรรมว่า ผัสสาหารยังมีอยู่ ร่างกายก็ยัง
    ไม่สลายตัว ถ้าลมหายใจที่เรียกว่าผัสสาหารหยุดเมื่อไร เมื่อนั้นก็ถึงอวสานของการทรงอยู่ของร่างกาย
    ฉะนั้น ผลการปฏิบัติที่เข้าถึงระดับฌาน ๔ จึงจัดว่าลมหายใจยังคงมีตามปกติ ที่ไม่รู้ว่าหายใจก็เพราะ
    ว่าจิตแยกออกจากกายอย่างเด็ดขาดโดยไม่รับรู้อาการของร่างกายเลย
    อาการที่จิตแยกจากร่างกาย

    เพื่อให้เข้าใจชัดว่า จิตแยกออกจากร่างกายได้จริงเพียงใด เมื่อท่านเจริญสมาธิถึงฌาน
    จนคล่องแคล่วชำนิชำนาญดีแล้ว ให้ท่านเข้าสู่ฌาน แล้วถอยจิตออกมาหยุดอยู่เพียงอุปจารฌาน
    แล้วอธิษฐานว่า ขอร่างกายนี้จงเป็นโพรงและกายอีกกายหนึ่งจงปรากฏ แล้วเข้าฌาน ๔ ใหม่ ออกจาก
    ฌาน ๔ มาหยุดอยู่เพียงอุปจารฌาน ท่านจะเห็นกายเป็นโพรงใหญ่ มีกายของเราเองปรากฏขึ้นภายใน
    กายเดิมอีกกายหนึ่ง ที่ท่านเรียกในมหาสติปัฏฐานว่ากายในกาย จะบังคับให้กายในกายท่องเที่ยวไป
    ในร่างกายทุกส่วน แม้แต่เส้นประสาทเล็กๆ กายในกายก็จะไปได้สะดวกสบายเหมือนเดินในถ้ำใหญ่
    ต่อไปจะบังคับกายใหม่นี้ออกไปสู่ภพใด ๆ ก็ไปได้ตามประสงค์ ที่ท่านเรียกว่า "มโนมยิทธิ แปลว่า
    มีฤทธิ์ทางใจนั่นเอง" พลังของฌาน ๔ มีพลังมากอย่างนี้ ท่านที่ได้ฌาน ๔ แล้วท่านจะฝึกวิชชาสาม
    อภิญญาหก หรือปฏิสัมภิทาญาณ ก็ทำได้ทั้งนั้น เพราะวิชชาการที่จะฝึกต่อไปนั้น ก็ใช้พลังจิตระดับ
    ฌาน ๔ นั่นเอง จะแตกต่างกันอยู่บ้างก็เพียงอาการในการเคลื่อนไปเท่านั้น ส่วนอารมณ์ที่จะใช้
    ก็เพียงฌาน ซึ่งเป็นของที่มีอยู่แล้วเปรียบเสมือนนักเพาะกำลังกาย ถ้ามีกำลังกายสมบูรณ์แล้ว
    จะทำอะไรก็ทำได้ เพราะกำลังพอ จะมีสะดุดบ้างก็ตรงเปลี่ยนแนวปฏิบัติใหม่ จะยุ่งใจบ้างในระยะต้น
    พอเข้าใจเสียแล้วก็ทำได้คล่อง เพราะกำลังพอ ท่านที่ได้ฌาน ๔ แล้วก็เช่นเดียวกัน เพราะงานส่วน
    อภิญญาหรือวิชชาสาม ก็ใช้พลังจิตเพียงฌาน เท่านั้น ท่านที่ได้ฌาน จึงเป็นผู้มีโอกาสจะทำ
    ได้โดยตรง
    เสี้ยนหนามของฌาน ๔

    เสี้ยนหนาม หรือศัตรูตัวสำคัญของฌาน ๔ ก็คือ "ลมหายใจ" เพราะถ้าปรากฏว่ามีลมหายใจ
    ปรากฏเมื่อเข้าฌาน ก็จงทราบเถิดว่า จิตของท่านมีสมาธิต่ำกว่าฌาน แล้ว จงอย่าสนใจกับ
    ลมหายใจเลยเป็นอันขาด
    อานิสงส์ของฌาน ๔

    ๑. ท่านที่ทรงฌาน ๔ ไว้ได้ ในขณะที่มีชีวิตอยู่ จะมีอารมณ์แช่มชื่นตลอดวันเวลา จะแก้ปัญหา
    ของตนเองได้อย่างอัศจรรย์
    ๒. ท่านที่ได้ฌาน สามารถจะทรงวิชชาสาม อภิญญาหก ปฏิสัมภิทาญาณได้ถ้าท่านต้องการ
    ๓. ท่านที่ได้ฌาน ๔ สามารถจะเอาฌาน เป็นกำลังของวิปัสสนาญาณชำระกิเลสให้หมดสิ้นไป
    อย่างช้าภายใน ปี อย่างกลางภายใน ๗ เดือน อย่างเร็วภายใน ๗ วัน
    ๔. หากท่านไม่เจริญวิปัสสนา ท่านทรงฌาน ไว้มิให้เสื่อม ขณะตาย ตายในระหว่างฌาน
    ที่จะได้ไปเกิดในพรหมโลกสองชั้นคือ ชั้นที่ ๑๐ และชั้นที่ ๑๑
    รูปสมาบัติหรือรูปฌาน

    ฌานหรือสมาบัติที่กล่าวมาแล้วทั้ง อย่างนี้ ท่านเรียกว่ารูปฌาน หรือรูปสมาบัติ ถ้ายังไม่สำเร็จ
    มรรคผลเพียงใด ท่านเรียกว่าโลกียสมาบัติ หรือโลกียฌาน ถ้าเจริญวิปัสสนาญาณจนสำเร็จมรรคผล
    ตั้งแต่พระโสดาบันขึ้นไป ท่านเรียกว่า โลกุตตรสมาบัติ หรือโลกุตตรญาณ ศัพท์ว่า โลกุตตระ ตัดออกเป็น
    สองศัพท์ มีรูปเป็น โลกะ และ อุตตระ สนธิคือเอาโลกะกับอุตตระมาต่อกันเข้า เอาตัว อ. ออกเสีย เอา
    สระอุผสมกับตัวตัว ก. เป็นโลกุตตระ โลกะ แปลตามศัพท์ว่าโลก อุตตระ แปลว่าสูงกว่า รวมความว่าสูง
    กว่าโลก โลกุตตระท่านจึงแปลว่าสูงกว่าโลก โลกุตตรฌาน แปลว่าฌานที่สูงกว่าโลกโลกุตตรสมาบัติ
    แปลว่าสมาบัติที่สูงกว่าโลก หมายความว่ากรรมต่างๆ ที่โลกนิยมนั้น ท่านพวกนี้พ้นไปแล้ว แม้บาปกรรม
    ที่ชาวโลกต้องเสวยผล ท่านที่ได้โลกุตตระ ท่านก็ไม่ต้องรับผลกรรมนั้นอีก เพราะกรรมของชาวโลก
    ให้ผล ท่านไม่ถึง ท่านจึงได้นามว่าโลกุตตรบุคคล
    รวมความว่าฌานประเภทที่กล่าวมาแล้วนั้นเป็นรูปฌาน เพราะมีรูปเป็นอารมณ์ เรียกตามชื่อ
    สมาบัติว่า รูปสมาบัติ สำหรับรูปฌาน หรือรูปสมาบัตินั้น มีแยกออกไปอีก ๔ อย่าง ดังจะกล่าวให้ทราบ
    ต่อไป
    <o:p></o:p>
    อรูปสมาบัติหรืออรูปฌาน

    ๑. อากาสานัญจายตะ เพ่งอากาศ ๆ เป็นอารมณ์
    ๒. วิญญาณัญจายตะ กำหนดหมายเอาวิญญาณเป็นอารมณ์
    ๓. อากิญจัญญายตนะ กำหนดว่าไม่มีอะไรเลยเป็นอารมณ์
    ๔. เนวสัญญานาสัญญายตนะ กำหนดหมายเอาการไม่มีวิญญาณ คือไม่รับรู้รับทราบ
    อะไรเลยเป็นสำคัญ
    ทั้ง อย่างนี้เรียกว่าอรูปฌาน เพราะการเจริญไม่กำหนดหมายรูปเป็นอารมณ์ กำหนด
    หมายเอาความไม่มีรูปเป็นอารมณ์ จึงเรียกว่าอรูปฌาน ถ้าเรียกเป็นสมาบัติ ถ้าเรียก

    สมาบัติ ๘
    ท่านที่ทรงสมาบัติในรูปสมาบัติ ๔ และทรงอรูปสมาบัติอีก ๔ รวมทั้งรูปสมาบัติ ๔
    อรูปสมาบัติ ๔ เป็นสมาบัติ ๘
    ผลสมาบัติ

    คำว่าผลสมาบัติ ท่านหมายถึงการเข้าสมาบัติตามผลที่ได้ ผลสมาบัตินี้จะเข้าได้ต้องเป็น
    พระอริยเจ้าตั้งแต่พระโสดาบันขึ้นไป ท่านที่เป็นพระอริยเจ้าที่ไม่ได้สมาบัติแปดมาก่อน ท่านเข้า
    นิโรธสมาบัติไม่ได้ ท่านก็เข้าผลสมาบัติ คือท่านเข้าฌานนั่นเอง ท่านได้ฌานระดับใด ท่านก็เข้า
    ระดับนั้น แต่ไม่ถึงสมาบัติแปดก็แล้วกัน และท่านเป็นพระอริยเจ้า จะเป็น พระโสดา สกิทาคา อนาคามี
    อรหันต์ก็ตาม เมื่อท่านเข้าฌาน ท่านเรียกว่าเข้าผลสมาบัติ ท่านที่ไม่เป็นพระอริยเจ้าเข้าฌาน
    ท่านเรียกว่าเข้าฌาน เพราะไม่มีมรรคผล ต่างกันเท่านี้เอง กิริยาที่เข้าก็เหมือนกัน ต่างกันแต่เพียงว่า
    ท่านเป็นพระอริยเจ้า หรือไม่ใช่พระอริยเจ้าเท่านั้นเอง
    นิโรธสมาบัติ

    นิโรธสมาบัติ ท่านที่จะเข้านิโรธสมาบัติได้ ต้องเป็นพระอริยะขั้นต่ำตั้งแต่พระอนาคามี
    เป็นต้นไป และพระอรหันต์เท่านั้น และท่านต้องได้สมาบัติแปดมาก่อน ตั้งแต่ท่านเป็นโลกียฌาน
    ท่านที่ได้สมาบัติแปด เป็นพระอริยะต่ำกว่าพระอนาคามีก็เข้านิโรธสมาบัติไม่ได้ ต้องได้มรรคผลถึง
    อนาคามีเป็นอย่างต่ำจึงเข้าได้
    ผลของสมาบัติ

    สมาบัตินี้ นอกจากจะให้ผลแก่ท่านที่ได้แล้ว ยังให้ผลแก่ท่านที่บำเพ็ญกุศลต่อท่านที่ได้
    สมาบัติด้วย ท่านสอนว่าพระก่อนบิณฑาตตอนเช้ามืดที่ท่านสอนให้เคาะระฆังก็เพื่อให้พระวิจัย
    วิปัสสนาญาณ และเข้าฌานสมาบัติ เพื่อเป็นการสนองความดีของทายกทายิกาผู้สงเคราะห์ในตอนเช้า
    พระที่บวชใหม่ก็ทบทวนวิชาความรู้และซักซ้อมสมาธิเท่าที่จะได้ ผลของสมาบัติมีอย่างนี้
    ๑. นิโรธสมาบัติ สมาบัตินี้เข้ายาก ต้องหาเวลาว่างจริง เพราะเข้าคราวหนึ่งใช้เวลา
    อย่างน้อย ๗ วัน อย่างสูงไม่เกิน ๑๕ วัน ใครได้ทำบุญแก่ท่านที่ออกจากนิโรธสมาบัตินี้ จะได้ผลใน
    วันนั้น หมายความว่าคนจนก็จะได้เป็นมหาเศรษฐีในวันนั้น
    ๒. ผลสมาบัติ เป็นสมาบัติเฉพาะพระอริยเจ้า ท่านออกจากผลสมาบัติแล้ว สมาบัตินี้เข้าออก
    ได้ทุกวันและทุกเวลา ท่านที่ทำบุญแด่ท่านที่ออกจากผลสมาบัติ ท่านผู้นั้นจะมีผลไพบูลย์ในความเป็น
    อยู่ คือมีฐานะไม่ฝืดเคือง
    ๓. ฌานสมาบัติ ท่านที่บำเพ็ญกุศลแก่ท่านที่ออกจากฌานสมาบัติ จะทรงฐานะไว้ด้วยดี
    ไม่ยากจนกว่าเดิม มีวันแต่จะเจริญงอกงามขึ้นเป็นลำดับ
    เข้าผลสมาบัติ

    ก่อนที่จะเลยไปพูดเรื่องอื่น เกิดห่วงการเข้าผลสมาบัติขึ้นมา จึงขอย้ำถึงเรื่องเข้าผลสมาบัติ
    เพื่อให้ท่านผู้อ่านได้เข้าใจสักนิด การเข้าผลสมาบัติ กับเข้าฌานสมาบัติ ต่างกันอยู่หน่อยหนึ่ง คือ
    การเข้าฌานสมาบัติ ท่านสอนให้ทำจิตให้ห่างเหินนิวรณ์ คือระมัดระวังมิให้นิวรณ์เข้ามารบกวนใจ
    เมื่อจิตว่างจากนิวรณ์แล้ว อารมณ์ของสมาธิก็ไม่มีอะไรรบกวน เข้าฌานสมาบัติได้ทันที สำหรับผล
    สมาบัตินั้น เป็นสมาบัติของพระอริยเจ้าท่านเข้าดังนี้ เมื่อท่านพิจารณาว่าเวลานี้ธุระอย่างอื่นไม่มีแล้ว
    มีเวลาว่างพอที่จะเข้าผลสมาบัติได้ ท่านก็เริ่มเข้าสู่ที่สงัด นั่งตั้งกายตรง ดำรงจิตมั่นคงแล้วก็พิจารณา
    สังขารตามแบบวิปัสสนาญาณ โดยพิจารณาในวิปัสสนาญาณทั้ง ๘ ย้อนไป ย้อนมา หรือพิจารณาตามแบบ
    ขันธ์ห้ารวม คือพิจารณาเห็นว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณทั้งห้าอย่างนี้ ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา
    เราไม่มีในขันธ์ห้า ขันธ์ห้าไม่มีในเรา อย่างนี้ก็ได้ตามแต่ท่านจะถนัด รวมความว่า ท่านเป็นพระอริยะ
    เพราะท่านพิจารณาวิปัสสนาญาณแบบใดท่านก็พิจารณาแบบนั้น เพราะท่านคล่องของท่านอยู่แล้ว
    เมื่อพิจารณาขันธ์ห้าจนอารมณ์ผ่องใสแล้ว ท่านก็เข้าสมาบัติตามกำลังฌานที่ท่านได้ อย่างนี้เป็นวิธี
    เข้าผลสมาบัติ เพราะท่านพิจารณาวิปัสสนาญาณก่อนจึงเข้าฌาน นำมากล่าวเพิ่มเติมไว้เพื่อท่านผู้อ่าน
    จะได้รับทราบไว้ แต่สำหรับท่านที่เป็นพระอริยเจ้านั้น ไม่มีอะไรจะสอนท่าน
    <o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    <o:p> </o:p>
     
  15. pkpnk

    pkpnk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    244
    ค่าพลัง:
    +112
    1 พระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งสูงสุดของชีวิต
    2 เป้าหมายของชีวิตคือ นิพพาน
    3 ทำความดีให้ถึงพร้อม คิดดี ทำดี พูดดี ทำบุญทำทาน ละเว้นความชั่ว ถือศีล ทำจิตใจให้ผ่องใส ทำสมาธิ
     
  16. Saisamon

    Saisamon สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    3
    ค่าพลัง:
    +0
    ขอให้บุญกุศลที่คุณปฎิบัติต่อแม่ส่งผลใคุณสมหวังดังที่ปราณนา สาธุ
     
  17. EakChutidet

    EakChutidet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    199
    ค่าพลัง:
    +856
    -ขออนุโมทนา สาธุด้วยคนนะครับ กระผมก็เป็นคนหนึ่งทีหาอาจารย์ไม่เจอเหมื่อนกัน แต่ก็มิได้ขาดกำลังใจ มันอยู่ทีใจจริงๆ และทุกสิ่งล้วนเป็น อนิจจัง คือความไม่เที่ยง ขอเป็นกำลังใจในการใช้ชีวิตต่อไป ขอให้คิดหวังสิ่งใดขอให้สมหวังดังตั้งใจ กรรมใดหากข้าพเจ้าได้กระทำทั้งตั้งใจหรือไม่ได้ตั้งใจไม่ว่าจะชาติภพใด ภูมิใดรูปใดนามใด จะด้วยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ ข้าพเจ้าขอน้อมจิตรขออโหสิกรรมมา ณ ที่นี้ด้วย ขอกุศลในการทำดีคิดดี ปฎิบัตดีส่งผลให้ท่านพบแต่ความสุขความเจริญ และเป็นปัจจัยในการปฎิบัตสู่พระนิพพานโดยเร็วชัพพัลเทอญ
     
  18. Pramaha-keirttisak

    Pramaha-keirttisak สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    1
    ค่าพลัง:
    +0
    เหตุใดต้องเป็นคณะแพทย์ ความจริงการศึกษาของฆราวาสก็เป็นไปเพื่อประกอบอาชีพเลี้ยงชีวิต ขอเพียงศึกษาศาสตร์อะไรก็ได้แล้วนำมาใช้ในทางที่เป็นคุณประโยชน์ เพราะศาสตร์ทุกศาสตร์ในโลกนี้มีอยู่ ๒ ด้านเสมอ ฉะนั้นก่อนที่คุณจะเลือกเรียนคณะอะไร คุณควรประเมินตัวเองก่อน แล้วเลือกคณะที่จะเรียนให้เหมาะสมกัน อย่างนี้จึงจะเรียกว่ามีสติ อยากดีก็อยากเถิดสมควรอยู่ แต่ที่ใช้ได้จริงๆ คือสิ่งที่พอดีเท่านั้น
    ขอให้คุณสามารถเลือกคณะที่จะศึกษาได้พอดีกับตัวของคุณด้วย โชคดีบุญรักษานะครับ
     
  19. เซี่ยมหล่อนั๊ง

    เซี่ยมหล่อนั๊ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +665
    น่าเสียดายเรื่องสอบได้แต่ขาดคุณสมบัติ สถาบันไทยก็มีปัญหาตรงนี้ แหละ ไม่ดูที่สถานะว่าคนสอบได้ ต้องมีอะไรที่พิเศษแม้ขาดคุณสมบัติ แต่ถ้าไม่ขัดหลักการศึกษา ก็ควรอนุโลม มิน่า เราถึงเจริญช้าในการศึกษา เห็นแก่หลักการจนลืมหลักธรรม พี่ขอเอาใจช่วยให้น้องประสบความเจริญยิ่ง ทั้งในทางโลกการศึกษา และทางธรรม ยิ่งขึ้นไป อนุโมทานสาธุ นะจ๊ะน้อง เร่งความเพียรทางธรรมไปเรี่อย ก็จะพบความสำเร็จได้โดยเร็ว มีพี่หลายคนที่เก่งคอยแน่นำ วันหนึ่งย่อมได้ครูดี ทุกวันนี้ก็มีครูบาอาจารย์ทางจิตมาสอนแล้วมิใช่เหรอ ไม่ต้องหาที่ไหนอีกแล้ว น่าดีใจที่พระทุกองค์มีเมตตากับน้อง
     
  20. Numsai

    Numsai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    5,778
    ค่าพลัง:
    +87,677
    ----------------------------------------------

    ก่อนอื่นขออนุโมทนาบุญกับน้อง Igiko_L ด้วยค่ะ

    พี่เห็นด้วยกับหลาย ๆ ท่านที่เข้ามาออกความเห็นว่า น้องมีของเก่ามามาก จะเห็นได้จากได้ญาณสัมผัสกับครูบาอาจารย์ดี ๆ หลาย ๆ องค์

    พี่เองเคยมีประสบการณ์ที่ฝึกสมาธิด้วยตนเอง เมื่อสิบกว่าปีก่อน โดยไม่มีครูอาจารย์เหมือนกันค่ะ เคยมีประสบการณ์คล้าย ๆ น้อง แต่ต่างกันที่ว่า พี่ไม่ยุ่งกับอบายมุขทั้งปวง เพราะอบายมุขเป็นหนทางแห่งความเสื่อม

    ผลคือ การปฏิบัติธรรมล่าช้าเป็นอย่างมาก ต่อมาเมื่อมีครูบาอาจารย์ ทำให้การปฏิบัติอย่างรวดเร็ว
    -Happy Smile_
    น้องยังเด็ก อาจจะยังสับสน ความจริงแล้ว พี่อยากแค่โมทนาบุญกัยน้อง แต่ไม่ทราบอย่างไร รู้สึกเป็นห่วงค่ะ เพราะพี่เคยเป็นคล้ายน้องมาก่อน ถ้าน้องอ่านแล้วมีประโยชน์ก็ให้พิจารณานะคะ แต่ถ้าเห็นว่า ไม่ดีก็ ทิ้งมันไปนะคะ

    การที่เรามีของเก่ามาดี มิได้หมายความว่า มันจะทรงอยู่อย่างนี้ตลอดไปนะคะ หากว่า เรารักษาศีลไม่บริสุทธิ์ วันหนึ่งของเหล่านี้ก็ต้องเสื่อมไปเป็นธรรมดา โลกียฌาณไม่เที่ยงแท้แน่นอน หากเรายังไม่เข้าเขตของอริยมรรค หรือการเป็นพระอริยเจ้า

    การที่เราล่วงรู้กรรมของคนอื่น แล้วพูดไปก็ไม่ใช่สิ่งที่ดีเสมอไปหรอกค่ะ เป็นการขวางกรรมผู้อื่น เจ้ากรรมคนเหล่านั้น ก็มาเล่นงานเราแทน(หลายคนโดนมาแล้วค่ะ ) กรรมของเรากลับดูไม่ได้ คล้ายผงเข้าตาเรากลับเขี่ยออกเองไม่ได้ กรรมเราเองก็เช่นกันค่ะ เราต้องรับมันไว้ และชดใช้ไป
    -cool day-
    น้องอ่านคำแนะนำของหลาย ๆ ท่านมาแล้ว ตกลงหาครูบาอาจารย์ได้หรือยังคะ พี่ทราบว่า น้องรู้หลักการปฏิบัติมาพอสมควร พอที่จะต่อของเก่าได้ อย่าเสียเวลาเลยนะคะ เรื่องทางโลกอย่าทิ้ง ก็ทำไป

    การที่มีครูอาจารย์ที่ไม่ใช่มนุษย์ถือว่า เป็นสิ่งที่ดี แต่เราก็ควรมีครูบาอาจารย์ที่เป็นมนุษย์ที่มีกายเนื้อเช่นเดียวกันกับเรา เพื่อยืนยันการปฏิบัติของเราว่า ไม่หลงทาง

    ปัจจุบันนี้ มีสายพระกรรมฐานหลายสาย ที่ให้น้องเลือกปฏิบัติ พี่คงไม่ต้องแนะนำมาก ลองเลือกฝึกดูนะคะ

    พี่เคยใช้วิธี จุดธูป ๙ ดอกกลางแจ้ง อธิษฐานถึงครูบาจารย์ที่เป็นมนุษย์ บุญจะส่งผลให้เราพบครูบาอาจารย์เองค่ะ

    สุดท้ายนี้ ขอให้น้องเจริญรุ่งเรืองทั้งทางโลก และทางธรรมนะคะ ขอให้มีญาณทัสสนะที่แจ่มใส สามารถแก้ไขปัญหาชีวิตได้

    ขออนุโมทนาบุญอีกครั้งค่ะ

    Numsai
    ;aa44

     

แชร์หน้านี้

Loading...