หลุมดำมหัตภัยแห่งจักรวาล : Black Hole

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย นิรันตรพินทุ, 20 ตุลาคม 2008.

  1. นิรันตรพินทุ

    นิรันตรพินทุ สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    173
    ค่าพลัง:
    +10
    <table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr><td width="450" bgcolor="#cccccc" height="25">
    หลุมดำมหัตภัยแห่งจักรวาล : Black Hole - 1 ​
    </td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="450" height="10"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="10">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450" height="300">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450" height="10">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> <table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20"> </td> <td class="style83" width="430"> Black hole ความหมายในทางตรงว่า ประเภทหลุมลึกลับที่ไม่มีก้นหลุม กำหนด
    โดย John Archibald Wheeler ค.ศ.1967 เมื่อพิสูจน์ในทางฟิสิกส์ คณิตศาสตร์
    แล้ว Black hole มีจริงไม่ใช่เรื่องเท็จ สามารถสำรวจพบบริเวณใด ก็ตามที่เกิดขึ้น
    ในกรณีแหล่งจบสิ้นอายุขัยของดาว

    แต่เรามองไม่เห็น เชื่อว่ามีเป็นจำนวนพันล้านแห่งในจักรวาล เป็นกฎเกณฑ์ของ
    ฟิสิกส์ และกฎเกณฑ์ความแปลกประหลาด ของแรงดึงดูด ด้วยทุกวัตถุที่อยู่ใน
    จักรวาลจะผูกมัดกัน ด้วยแรงดึงดูด ไม่ว่าจะเป็นพลังงานไฟฟ้า พลังงานแม่เหล็ก พลังงานความกดดันแข็งแกร่ง ครอบคลุมกว้างไกลทั่วไป สุดขอบจักรวาล

    รูปทรงสัณฐานของหลุมดำ

    มวลวัตถุขนาดใหญ่เท่าใดก็ตาม เมื่อโคจรเข้าสู่ใกล้สภาวะเขตหลุมดำ ถูกบีบอัด
    บีบคั้นให้เล็กลงๆ เล็กลงๆอย่างไม่จุดสิ้นสุด สู่ใจกลางบริเวณ Central singularity
    (จุดพิศวง) เป็นเรื่องไม่น่าเชื่อแม้กระทั่งแสง ก็ถูกอัดแน่นรวมเข้า ไปด้วยอย่าง
    ไม่มีข้อยกเว้นใดๆ

    พบครั้งแรกสรุปผลโดย Karl Schwarzschild นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน จึงเรียกว่า
    Schwarzschild radius คือ ขอบวงรัศมีของหลุมดำ ชนิดที่ไม่มีการหมุนปั่นเป็น
    สัดส่วนพื้นที่ของหลุมดำ ขนาดสำรวจพบรัศมีราว 6 ไมล์

    โดยเนื้อแท้หลุมดำ อาจแสดงตัวขอบวงรัศมีใหญ่หรือเล็กก็ได้ แต่จะไม่ใหญ่โต
    มาก เพราะไม่จำเป็นต้องมีความเป็นปึกแผ่นของพื้นผิววัตถุซึ่งต่างจากวัตถุอื่นๆ
    ในจักรวาลเท่าที่เคยพบ </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> <table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="322">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="55"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="55">
    Schwarzschild radius รูปแบบหลุมดำที่ไม่มีการหมุน
    มีจุดศูนย์กลาง Central singularity (จุดพิศวง)
    สำรวจพบครั้งแรกโดย Karl Schwarzschild นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="352">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td height="10"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="25"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="25">
    Non-spinning Black hole คือ หลุมดำที่มีรูปแบบสัณฐานไม่มีการหมุนปั่น​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="352">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450" height="20"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="25"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="25">
    Spinning Black hole คือ หลุมดำที่มีรูปแบบสัณฐานมีการหมุนปั่น​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20"> </td> <td class="style83" width="430">เบื้องต้นข้อสรุปสัณฐานหลุมดำแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะดังนี้

    Non-spinning Black holes คือ หลุมดำที่มีรูปทรงสัณฐานไม่มีการหมุนปั่น
    พบว่ามีการเปล่งแสงจากธาตุเหล็ก (Iron emission) จากก๊าซร้อนที่เกาะพอก
    รอบ ๆแผ่นจาน (Accretion disk) เป็นอะตอมใกล้กับบริเวณหลุมดำ เปล่งแสง
    รังสีออกมา ด้วยค่าพลังงานต่ำ

    Spinning Black holes คือ หลุมดำที่มีรูปทรงสัณฐานมีการหมุนปั่นพบอนุภาค
    ที่ใกล้หลุมดำ เป็นสิ่งที่ทำให้มีโอกาสเกิดริ้วคลื่นของ Space-time จะหมุนปั่นช้า
    หรือเร็วได้

    การหมุนปั่นดังกล่าวจะกวาด ลากดึงไปโดยรอบอวกาศ ยิ่งเป็นการดึงอะตอมเข้า
    ใกล้มากยิ่งขึ้น ทำให้เกิดความแข็งแกร่งของแรงโน้มถ่วง จนชะงัก กระทบให้หยุด
    หมุนปั่น เกิดรังสี X-ray จาก Iron อะตอมที่แกว่งไปมา ด้วยค่าพลังงานต่ำ </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="322">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450" height="20"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="70"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="70">
    ระบบการหมุนตัวของ Black hole มีขอบเขตวง 2 ชั้น
    Outer event horizon (วงชั้นนอก) และ Inner event horizon (วงชั้นใน)
    โดยเขตจำกัด Static limit (ขอบวัตถุและกำลังที่อยู่คงที่)
    จุดศูนย์กลางคือ Ring singularity (วงแหวนพิศวง) ​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20"> </td> <td class="style83" width="430">การหมุนรอบแกนหลุมดำ ขึ้นอยู่กับรายละเอียดปลีกย่อยและยุ่งยากของตำแหน่ง
    ที่ตั้ง ล้อมรอบด้วยแรงฉุดดึงมากมายในอวกาศ ระบบการหมุนปั่นของหลุมดำมี
    ขอบเขตวงเหตุการณืที่เกิด 2 ชั้นและโครงสร้างดังนี้

    Outer event horizon คือ ขอบเขตเหตุการณ์ชั้นนอก และ Inner event horizon
    คือ ขอบเขตเหตุการณ์ชั้นใน ส่วน Ergosphere คือ บริเวณที่ผูกมัดระหว่าง
    วงขอบเขตเหตุการณ์ด้านนอก กับแนวขอบเขตจำกัด Static limit (ขอบวัตถุและ
    กำลังที่อยู่คงที่) ตรงจุดศูนย์กลางคือ Ring singularity คือ วงแหวนพิศวง (หรือจุดศูนย์กลางพิศวง)

    การศึกษาเพิ่มเติมใหม่ได้เปิดเผยโครงสร้างหลุมดำ ที่เรียกว่า Black holes X-ray
    nova แสดงโครงสร้างก๊าซ ดูดออกมาจาก ดวงดาว ด้วยแรงโน้มถ่วงจากหลุมดำ
    หมุนปั่นอย่างเป็นรูปแบบ ทำให้ก๊าซมารวมตัวกันเป็นวงรอบๆ เห็นแบบสลัวๆ
    เมื่อระบบมีความสมบูรณ์ จะมองไม่เห็น เพราะไม่มีพื้นผิว จุดศูนย์กลางมืดสนิท

    และ Neutron star X-ray nova แสดงโครงสร้างก๊าซท่วมล้นทับถม ลงสู่ด้านใน
    ของ ดาวนิวตรอน โดยก๊าซเริ่มรวมตัวกับดาว หลังจากนั้นเกิดหลุมดำเข้าแทนที่
    แรงโน้มถ่วง กระทำให้ก๊าซนั้นสลัวลง ขณะเดียวกันก๊าซจู่โจมพื้นผิวดาวนิวตรอน
    เกิดแสงสว่างขึ้น </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="348">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="20"> </td> <td class="style98" width="440" bgcolor="#333333" height="25">
    โครงสร้าง Black holes X-ray nova และ Neutron star X-ray nova ​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="464">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="20"> </td> <td class="style98" width="450" bgcolor="#333333" height="25">
    แบบแผนระบบไฟฟ้าของหลุมดำ​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20"> </td> <td class="style83" width="430">ระบบของหลุมดำที่น่ากังขา

    บริเวณด้านนอกใกล้หลุมดำ มีปรากฎการณ์ Magnetic field lines (เส้นสนามแม่
    เหล็ก) สร้้างรัศมีของแสงรอบขอบหลุมดำ เส้นสนามแม่เหล็กเหล่านี้มีพลังงาน
    สูงเป็นพิเศษ พุ่งเป็นลำไฟฟ้าออกมาจากหลุมดำ ยิ่งเพิ่มค่ารังสี X-ray

    ภายในหลุมดำ ยังทราบไม่ชัดเจนนัก เนื่องจากภายในมืดปราศจากแสงและยัง
    ไม่มีเครื่องมือใดๆ จะเข้าไปสำรวจภายในหลุมดำได้ ทางทฤษฎีเชื่อว่ามวลภายใน
    ทั้งหมดซ้อนเป็นชั้นๆเหมือนเยื่อหุ้ม เป็นจุดๆเดียวอยู่ตรงกลาง เรียกว่า จุดพิศวง

    เข้าใจว่า แบบแผนใจกลางหลุมดำ มีความต้องการหลอมละลายตามกฎเกณฑ์
    แรงโน้มถ่วง ในคุณสมบัติแบบ Smallest scales (ขนาดเล็กย่อย) หรือเรียกว่า
    Quantum mechanics (เป็นการรวมกันระหว่าง กลศาสตร์ควอนตัม และทฤษฎี
    สัมพัทธ์ภาพพิเศษ) แต่ยังเป็นปัญหาลึกลับ ด้วยปัญหาการอธิบายในด้านฟิสิกส์ </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="450">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="25"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="25">
    เชื่อว่าภายในหลุมดำมีลักษณะซ้อนเป็นชั้นคล้ายเยื่อหุ้ม​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20"> </td> <td class="style83" width="430">ประเภทของหลุมดำที่สำรวจพบ

    ประการสำคัญ หลุมดำ มีความแตกต่าง จากสิ่งต่างๆในจักรวาลโดยสิ้นเชิง เพราะ
    ความผันผวนเกิดขึ้นโดยรอบ ด้วยลักษณะหลักพิเศษ 3 ประการ ประกอบกัน คือ

    ด้วยจำนวนมวลสสาร ว่ามีจำนวนเท่าใด
    ด้วยการหมุนปั่นรอบแกน ด้วยความเร็วเท่าใด
    และด้วยเรื่องแบบแผนประจุไฟฟ้าของหลุมดำ

    หากองค์ประกอบทั้งหมด มีความสมบูรณ์ หลุมดำจะเริ่มดูดกลืนวัตถุต่างๆทันที
    การสำรวจตรวจวัดจำนวนมวล สามารถศึกษาวัตถุดิบ รอบๆหลุมดำได้ แต่ก็นับว่า
    เป็นเรื่องยาก เดิมสำรวจตรวจพบเพียง 2 ประเภท คือ Stellar-mass และ Super
    massive (บางสถาบันกำหนดเพิ่มเติมประเภท Mid-mass จึงรวมเป็น 3 ประเภท)
    ในอนาคตอาจมีประเภทมากขึ้นอีกได้</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="722">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="25"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="25">
    การดูดกลืน Yellow star ของหลุมดำใจกลาง Galaxy RX J1242-11​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20"> </td> <td class="style83" width="430">Stellar-mass black holes

    ประกอบด้วยความหนาแน่นของมวล 5 - 100 เท่าของดวงอาทิตย์ เกิดขึ้นด้วย
    พัฒนาการวงจรดาวขั้นสุดท้าย ขนาดมวลมีความหนาแน่น ของธาตุหนักมากกว่า
    ดวงอาทิตย์ หรือ ระดับดาวทั่วไป โดยดาวได้พลังงานจาก หลอมละลายเผาไหม้
    ภายในแกนถึงระยะเวลาหนึ่ง (นับหลาย พันล้านปีหรือมากกว่า) เชื้อเพลิงหมดสิ้น
    ทุกอย่างยุบตัวลง สู่จุดศูนย์กลางด้วยความหนาแน่นสูง เกิด Deep gravitational
    warp (แนวโค้งงอด้านลึกของแรงโน้มถ่วง) ในอวกาศ เรียกว่า หลุมดำประเภท Stellar-mass (มวลจากดาว)

    หลุมดำประเภทนี้ ไม่มีพื้นผิวเช่นดาว เกิดขึ้นที่ใดก็ได้ มีขอบเขตเท่าใดก็ได้โดย
    มองไม่เห็นในอวกาศเรียกว่า Event horizon (ขอบเขตเหตุการณ์) หากมีวัตถุใด
    ก็ตาม ผ่านเข้าสู่ Event horizon ก็จะถึงวาระถูกกำจัด ด้วยแรงโน้มถ่วงบีบอัด
    ไม่เห็นแสง ไม่สามารถ X-rays ได้ในขณะเกิด ไม่มีรูปแบบ Electromagnetic
    radiation(รังสีสนามแม่เหล็ก) ไม่แสดงอนุภาคใดๆ ไม่แสดงค่าพลังว่ามีเท่าใด
    จากมวล แต่ความสามารถดูดกลืนบีบอัด

    Mid-mass black holes

    เป็นประเภทใหม่ที่สำรวจพบ ประกอบด้วยความหนาแน่นมวล 500 – 1,000 เท่า
    ของดวงอาทิตย์ เกิดขึ้นด้วยการพัฒนาการวงจรดาว ขั้นสุดท้ายเป็นการเกิดสืบ
    เนื่องด้วยธรรมชาติ พัฒนาการวงจรดาวแบบมวลแน่นหนา สามารถค้นหาสังเกต
    จากดาวที่มีการเร่งความเร็วของวงโคจรอย่างไม่เคยพบ มาก่อนหน้านี้

    Supermassive black holes

    ประกอบด้วยความหนาแน่นของมวล นับล้านเท่าของดวงอาทิตย์ หรือเทียบระดับ
    กาแล็คซี่ขนาดเล็ก เป็นแบบฉบับความพิศวงของจักรวาล สำรวจพบในบริเวณจุด
    ศูนย์กลางกาแล็คซี่ ยังไม่ทราบถึงสภาพรูปแบบตั้งต้นว่า เป็นการยุบตัวของ
    กลุ่มหมอกก๊าซในกาแล็คซี่ หรือจากสะสมทีละน้อยจากหลุมดำ ในกลุ่ม Stellar
    black holes ที่ท่วมล้นทับถมกัน หรือผสมรวมกันของหลุมดำจาก กลุ่มกระจุกดาว
    หรืออาจจากกลไกอื่นๆในจักรวาล

    สามารถค้นหาสังเกตจากกลุ่มหมอกก๊าซ หมุนวนแบบ Swirling (คล้ายวังวนน้ำ)
    รอบๆ หลุมดำ (โดยมองไม่เห็นตำแหน่งหลุมดำ) ด้านเทคนิค ใช้วิธีตรวจสอบ
    X-ray ค่าสะท้อนของแสง เพื่อหาค่าจากมวลรอบๆหลุมดำ ที่ท่วมล้นออกมาด้วย
    ความกดดัน

    การหมุนปั่นตัวเองด้วยความเร็วสูง สร้างพลังความแข็งแกร่งสนามของแรงโน้มถ่วง
    (Powerful gravitational field) ความสามารถหมุนปั่นรอบแกน ด้วยความเร็วโดย
    ไม่มีขีดจำกัด ปราศจากแสงที่โผล่ออกมา แม้มีประจุไฟฟ้าเพราะจะหักล้างประจุ
    อย่างรวดเร็วจากการดูดกลืนวัตถุ สวนทิศทางสนามแม่เหล็กในทันที </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="296">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="40"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="40">
    กลุ่มหมอกก๊าซหมุนวนคล้ายวงวนน้ำรอบๆหลุมดำ
    ทำให้ตรวจสอบพบหลุมดำได้ในเบื้องต้น ​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="450">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="60"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="60">
    สัดส่วนทีเกิดหลุมดำ เริ่มต้นด้วยความหนาแน่นด้วยขนาดมวล
    1,000,000 เท่าของดวงอาทิตย์จึงมีโอกาสเกิด
    หลุมดำในประเภท Supermassive black holes​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="511">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="40"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="40">
    สำรวจพบ Supermassive black holes บริเวณด้านลึกของ
    จักรวาล 9-11พันล้่านปีแสง จำนวนมากถึง 1,000 แห่ง ​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10">




    ข้อพิสูจน์อิทธิพลหลุมดำ ทำให้แสงโค้งงอ

    วัตถุหนึ่งวัตถุใด หากต้องให้มีความปลอดภัยจากหลุมดำ ต้องโคจรอยู่นอกเขต
    Outer event horizon ของหลุมดำ โดยในอวกาศเต็มไปด้วย หมู่ดาว เคลื่อนตัว
    โคจรยึดเหนี่ยวกันอย่างมั่นคง รวมถึงตัวของเราบนโลกด้วย

    แต่ระบบทั้งหมดสามารถถูกเปลี่ยนแปลงได้ ด้วยอำนาจแรงดึงดูด ของหลุมดำ
    อย่างง่ายดาย ตำแหน่งแสงเมื่อส่องผ่านเข้าใกล้บริเวณหลุมดำ จะสะดุดหยุดลง
    และหลีกไม่พ้น

    ส่วนแสงจาก กระจุกกาแล็คซี่ อยู่ห่างไกล เริ่มต้นแสงที่ส่องผ่านจะคืบหน้าเข้าไป
    ที่ละน้อยสู่หลุมดำ แต่ไม่สะดุด แต่เริ่มโค้งงอด้วยแรงดึงดูด มีการเปลี่ยนแปลง
    ผิดส่วน (Distorted) บูดเบี้ยวเกิดขึ้นหรือคล้ายกับภาพ ซ้อนไปซ้อนมาแบบผิดรูป
    เพราะแสงที่ส่องผ่านหลุมดำมีความโค้งงอมายังเรา

    ตามทฤษฎี General relativity (สัมพันธภาพทั่วไป) แสดงข้อพิสูจน์เรื่องแสงทำ
    ให้วัตถุบิดเบี้ยวโค้งงอ จากแรงโน้มถ่วง เรียกว่า Gravitational lensing แสงที่ส่อง
    มาจากดวงอาทิตย์ก็แสดงผลเช่นนั้น แต่น้อยมากเนื่องจากมีระยะใกล้สามารถใช้
    เครื่องมือวัดได้ แต่หากยิ่งไกลมากจะเห็นได้ชัดมากขึ้นของความโค้งงอ <table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="300">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="60"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="60">
    Abell 2218 Galaxy Cluster Lens ขนาด 3 พันล้านปีแสง กระจุกกาแล็คซี่
    ขนาดใหญ่แสดงให้เห็นความโค้งของแสง จากการผ่านหลุมดำ
    ด้วยแรงโน้มถ่วงเกิดจากหลุมดำที่มีทั่วไปจำนวนมากในจักรวาล​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="440">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td height="10"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="60"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="60">
    Giant Cluster Bends ทั้งหมดกาแล็คซี่จริงๆ มีเพียงอย่าง
    ละกาแล็คซี่เท่านั้นแต่ในภาพซ้ำซ้อนอยู่หลายตำแหน่ง
    จากการบิดเบี้ยวของแสงผ่านอิทธิพลหลุมดำหลายๆแหล่งก่อนถึงเรา ​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20"> </td> <td class="style83" width="430">เมื่อหลุมดำชนปะทะกันเอง

    การเข้าใกล้กันระหว่างหลุมดำ มีความเป็นไปได้ที่หลุมดำชนปะทะกัน โดยจะไม่
    ดูดกลืนกันเอง แต่กลับรวมตัวกันเป็นหนึ่งเดียวเพิ่มขนาดใหญ่ขึ้น เพิ่มพื้นที่อย่าง
    สุดขั้ว น่าอัศจรรย์

    ขณะนี้เพียงเป็นการวิเคราะห์ จากซูเปอร์คอมพิวเตอร์ พบว่ามีพลังงานมหาศาล
    น่าสยดสยอง เกรงขาม ด้วยการส่งต่อกระเพื่อมไปยัง โครงสร้าง Space-time
    เรียกว่า Gravitational waves (คลื่นแรงโน้มถ่วง)

    แม้ว่าเป็นเรื่องที่ไม่เคยสำรวจพบ เรารู้ว่าเป็นมหันตภัยครั้งใหญ่ของจักรวาลต่อ
    การชนกันของหลุมดำ ตามหลักการแสดงถึงการหมุนเข้าหากันได้ จนถึงกันชน
    ปะทะรวมตัวกัน

    จากทฤษฎี General relativity (สัมพันธภาพทั่วไป) ความเข้าใจเรื่องนี้มีการทบ
    ทวนถึง ผลกระทบต่ออวกาศ แต่ต้องใช้เครื่องมือขนาดใหญ่ เพื่อตรวจจับหาค่า
    ใช้เวลานับปีขณะนี้อยู่ใน ระหว่างการสร้างเพื่อ การตรวจจับคลื่นแรงโน้มถ่วงเป็น
    ครั้งแรกของโลก </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="450">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450" height="20"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="40"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="40">
    การชนกันของหลุมดำ ด้วยการโคจรแบบ
    Black hole binary (โคจรระบบคู่ เป็นตุ้มถ่วงกัน)​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20"> </td> <td class="style83" width="430">อายุขัยของหลุมดำ

    เดิมทีเดียวเราไม่เคยรู้จักหลุมดำ ว่าเกิดจากอำนาจแรงโน้มถ่วง แต่เมื่อเกิดการ
    ทำลายล้างผลาญจากหลุมดำ ด้วยการหายไป ลดถอยไป ของพลังงานในจักรวาล

    ค.ศ.1974 นักฟิสิกส์ได้ใช้กฎเกณฑ์ Quantum mechanics ศึกษาทำให้ทราบถึง
    แหล่งพื้นที่ใกล้ๆวงขอบของหลุมดำ เชื่อว่าอนุภาคที่เล็กจิ๋วและแสงเกิดขึ้นนั้นได้
    สูญสิ้นถูกทำลาย ย่อยเล็กลงในหลุมดำอย่างไม่ขาดสายต่อเนื่อง บางครั้งแสงซึ่ง
    เล็กมากหนีหลุดพ้นจากการทำลาย สู่ด้านนอกหอบเอาพลังออกมาด้วยจนวงรอบ
    นอกเรืองแสง เป็นการทำให้หลุมดำ ลดอำนาจลงในที่สุด

    แต่ต้องประหลาดใจ ด้วยหลุมดำ มีระบบกำเกิดในจักรวาลได้อย่างสมบูรณ์แบบ
    สำหรับหลุมดำแล้ว การมีอุณหภูมิสูงจนเหลือเป็นศูนย์ มีปัญหาของการสูญเสีย
    พลังงานเล็กน้อยเท่านั้น หลุมดำต้องใช้เวลานาน แบบนึกไม่ออกเลยว่าเท่าใด
    จึงทำให้สูญเสียมวลพลังงานได้ทั้งหมด </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="297">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="25"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="25">
    แสงที่เกิดขึ้นรอบๆ เป็นบางส่วนของพลังงานหลุดไหลจากหลุมดำ ​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20"> </td> <td class="style83" width="430">จักรวาลมีหลุมดำมากน้อยเท่าใด

    หลุมดำเป็นระบบท้ายที่สุดของจักรวาล เท่าที่เราทราบในขณะนี้ ด้วยเป็นสิ่งที่มอง
    ไม่เห็นการสำรวจเป็นเรื่องยากลำบาก การสำรวจทราบจากการสืบค้นรอบๆของ
    หลุมดำ เชื่อว่ามีจำนวนมากมหาศาลจากสมมุติฐานดังนี้

    หลุมดำประเภท Stellar-mass black holes เกิดขึ้นหลังจากฉากสุดท้ายของดาว
    กาแล็คซี่ ของเรามีดาวไม่น้อยกว่า 100 พันล้านดวง ถ้าเทียบว่า ทุกๆ 1,000 ดวง
    มีความหนาแน่น พอที่จะเกิดหลุมดำได้ 1 แห่ง นั้นหมายความว่าต้องมี 100 ล้าน
    แห่ง แต่ในประเภทนี้ การสำรวจพอจะระบุได้เพียง 12 แห่ง โดยจุดที่ใกล้ที่สุด
    จากโลก 1,600 ปีแสง

    หากรวมกาแล็คซี่ในจักรวาล จำนวนมากกว่า 100 พันล้าน ต้องมีหลุมดำประเภท
    Stellar-mass black holes อีกมหาศาล

    หลุมดำประเภท Supermassive black holes เชื่อว่ามีระหว่าง 100 พันล้านแห่ง
    โดยสำรวจทราบว่าอยู่ในใจกลาง Milky Way Galaxy จำนวน 1 แห่ง ห่างจากโลก
    26,000 ปีแสง </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="338">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="25"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="25">
    เครื่องมือที่ใช้สำรวจหลุมดำในอวกาศขณะนี้ ค.ศ.2007 ​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="310">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="25"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="25">
    หลุมดำ GRO J1655-40 ​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20"> </td> <td class="style83" width="430">หลุมดำที่ค้นพบ

    หลุมดำ GRO J1655-40 ประเภท Stellar-mass black holes หมุนโคจรท่องไป
    ในทางช้างเผือกตามแนวเส้นสีเหลือง ด้วยความเร็ว 400,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

    หลุมดำ XTE J1118+480 ประเภท Stellar-mass black holes พบจุดศูนย์กลาง
    พลังสูงมีระบบ Black hole binary system บางครั้งเรียกว่า X-ray nova เพราะมี
    การเปลี่ยนแปลงจู่ๆระเบิดขึ้นยาวนานติดต่อกัน 7.5 ชั่วโมง จากที่สงบนิ่งมีระยะ
    ทางห่างจากโลก 5,000 ปีแสง เส้นสีแดงแสดงเส้นทางโคจรที่สืบค้นพบระยะทาง
    ผ่านมาเป็นเวลา 230 ล้านปี จุดสีเหลืองคือตำแหน่งดวงอาทิตย์ในระบบสุริยะ

    Galactic Center (Sgr A*) ใน Milky Way Galaxy ประเภท Supermassive
    black holes บริเวณตำแหน่งห่างจากจุดศูนย์กลางทางช้างเผือก 10 ปีแสง มีมวลหนาแน่น 4 ล้านเท่าของดวงอาทิตย์ เป็นสภาพกลุ่มหมอกของก๊าซร้อน
    อุณหภูมิสูงระดับ 1,000,0000 องศารอบๆหลุมดำ โดย Shock waves เกิดจาก
    การระเบิดตัวของ Supernova พุ่งชนปะทะกับดาวใหม่ ที่มีมวลหนาแน่นอยู่ห่าง
    จากโลกระยะทาง 26,000 ปีแสง</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="232">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="25"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="25">
    หลุมดำ XTE J1118+480 ​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="384">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="25"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="25">
    ภาพจริงของหลุมดำ XTE J1118+480​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="481">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="25"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="25">
    บริเวณ Galactic Center (Sgr A*) Milky Way Galaxy ​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="300">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="25"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="25">
    ภาพบริเวณหลุมดำ Galactic Center (Sgr A*) Milky Way Galaxy​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20"> </td> <td class="style83" width="430">มหัตภัยจากหลุมดำ

    แน่นอนในจักรวาล มีมากมายนับจำนวนไม่ได้ อย่างน้อยที่สุดหลุมดำในบริเวณ
    Milky Way Galaxy ยังไม่ใกล้พอที่จะทำอันตรายต่อโลก โดยความจริงหลุมดำมี
    มานานแล้ว การสำรวจตลอด 10 ปีที่ผ่านมา เราพบหลุมดำเพิ่มขึ้นเรื่อยๆด้วย
    เทคโนโลยีด้านเครื่องมือที่ทันสมัยขึ้น

    หลุมดำเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อยานอวกาศ ที่ผ่านเข้าสู่เขตรัศมี จะอันตรธานหาย
    ไปในทันที ด้วยการเกิดแสงวาวขึ้นเพียงเสี้ยววินาทีเท่านั้น หากตัวเราหลุดเข้าสู่
    หลุมดำ ท่าที่หลุดเข้าสู่หลุมดำเป็นท่าเหยียดตรง อย่างรวดเร็ว

    หากส่วนขาเข้าสู่หลุมดำก่อน ขาจะแข็งทื่อด้วยแรงกดอัดก่อนศีรษะ หลังจากนั้น
    ร่างกายถูกฉีกขาดจากกัน เพียงเสี้ยววินาทีตัวเราหายไปทันที ถูกบีบอัดหนาจน
    แบนสู่จุดศูนย์กลางด้าน (จุดพิศวง)

    กรณีศึกษา เมื่อมีวัตถุเข้าใกล้หลุมดำสามารถวิเคราะห์สถานะจะเกิดได้ดังนี้
    ถ้าวัตถุนั้นเคลื่อนตัวช้า จะถูกดูดกลืนม้วนเข้าไปเหมือนเกลียวสู่หลุมดำ
    ถ้าวัตถุนั้นเคลื่อนตัวมีความเร็วปานกลางจะถูกดูดหมุนเวียน อยู่รอบๆปากหลุมดำ
    ถ้าวัตถุนั้นเคลื่อนตัวมีความเร็วสูง ต้องหมุนหนีเป็นวงกลม ย้อนออกด้านนอก
    จึงจะได้เปรียบ และต้องมีระยะห่างไกลด้วยจึงจะพ้นแรงดูดกลืนได้

    แต่ระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์ โลก ดาวเคราะห์ต่างๆ หนีไม่พ้น เพราะทั้งหมดของ
    ระบบสุริยะเคลื่อนตัวไปด้วยความเร็ว 67,000 ไมล์ต่อชั่วโมง เพราะฉะนั้นคงไม่มี
    สิ่งใดสามารถหลุดพ้นอำนาจของหลุมดำได้</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="343">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="25"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="25">
    เส้นสีฟ้าแสดงเส้นทางการถูกอิทธิหลุมดำดูดกลืน​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="415">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="20" bgcolor="#333333" height="25"> </td> <td class="style98" width="430" bgcolor="#333333" height="25">
    สภาพอันตรายของหลุมดำ​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450" height="10">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="450" height="10"> </td> </tr> <tr> <td width="450"><table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="50"> </td> <td class="style108" width="400">References :
    The National Aeronautics and Space Administration -NASA
    Space Telescope Science Institute's Office -Hubble
    National Radio Astronomy Observatory
    Harvard-Smithsonian Center for Astrophysics
    Chandra X-ray Center </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>


    คัดลอกมาจาก http://sunflowercosmos.org
    </td></tr></tbody></table>
     
  2. โอซารัน

    โอซารัน Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มกราคม 2008
    โพสต์:
    873
    ค่าพลัง:
    +91
    ครับผม

    อยากถามากเลยว่า หลุมดำ กับแม่เหล็ก เหมือนกันไหม คับ
     
  3. นิรันตรพินทุ

    นิรันตรพินทุ สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    173
    ค่าพลัง:
    +10
    ไม่เหมือนครับ

    หลุมดำ ชื่อมันเป็นหลุม แต่ไม่ใช่หลุมจริงๆ
    มันเป็นเขตที่แรงโน้มถ่วงมีค่าเป็นอนันต์
    นึกถึงสรรพสิ่งในเอกภพที่เหมือนสระน้ำ
    หลุมดำมันเป็นรูระบายน้ำน่ะครับ

    ถามว่ามันเกี่ยวกับแรงแม่เหล็กไหม
    แรงแม่เหล็กก็โดนดูดไปด้วยล่ะ (แต่รังสีแม่เหล็กรอดบางส่วน)

    หลุมดำมันดูดทุกอย่าง
     
  4. Bacary

    Bacary เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    1,211
    ค่าพลัง:
    +23,196
    ขอบคุณข้อมูลความรู้ทางดาราศาสตร์ครับ
     
  5. บุคคลทั่วไป 3 คน

    บุคคลทั่วไป 3 คน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,938
    ค่าพลัง:
    +1,253
    หลุมดำ กับ LHC

    ก็คงรู้จักกันแลวเรื่อง LHC และก็รู้จักกันอยู่แล้วว่า เขาทดลองเกี่ยวกับเรื่องหลุมดำ

    ตามทฤษฏีเขาว่ามันจะเกิดขึ้นแป๊ปเดียว ตามมวลของอนุภาคที่ชนกัน เขาทดลอง
    ก็เพราะเชื่อว่า พลังงานบริสุทธิที่สุด หรือ ต้นกำเหนิดของพลังงาน หรือ ธาตุมาจาก
    กระบวนการของหลุมดำ หากเอามาศึกษาแล้วย้อนปฏิกริยาได้ ก็จะผลิตอะไรก็ได้
    จะสร้างจักรวาลเล่นก็ได้

    คนที่เขียนเรื่อง จักรวาลในเปลือกนัต เลยประกาศว่า ภายในปี 3000 ไม่เกินนี้เราจะ
    ได้เรียนรู้การใช้พลังของพระเจ้า ร้อนถึงวาติกันต้องออกมาโต้ตอบว่า

    "หากพลังของพระเจ้าถูกค้นพบ ก็ไม่ใช่พระเจ้าแล้ว พระเจ้าจะต้องมีความลับสูงสุด
    ที่ใครๆก็เข้าถึงไม่ได้" พระระดับ บิชอบ ท่านหนึ่งกล่าว ก็เรียกว่าเรื่อง LCH นี้สั่น
    ประสาทวาติกันพอสมควร หากเครื่องนี้พิสูจน์ทฤษฏีอะไรออกมา กรุงวาติกันจะค่อยๆ
    น้ำท่วมปากเรื่อยๆ ต่างจากเราที่ไม่เคยขัดแย้งกับใคร หรืออะไร นอกจากจะกล่าวว่า
    เป็นเรื่องอจิณไตย

    แต่อย่างไรก็ดี เรื่องของเรื่อง นักวิทย์เขาหวังแค่เรื่องของพลังงานเป็นหลัก ซึ่งมันจะ
    สมเหตุสมผลไหมก็ต้องดูกันต่อไป เพราะที่เขากะเอามาทำหลุมดำนั้นก็เพื่อเอาไว้ดูด
    มวลก๊าซและรังสีที่มีมากมายในอวกาศเข้ามาเพื่อเป็นพลังงานขับเคลื่อนยานอวกาศ
    ซึ่งหากทำได้ก็ท่องอวกาศกันมัน แถมสร้างอาหาร และน้ำเอามาป้อนใส่ปากได้อีก
    ชนิดเอนกอนันต์แบบว่า ไม่ต้องทำนาปลูกข้าวกันอีก ไปดูดก๊าซข้างนอกเอามา
    ควบแน่นตบแต่งให้เป็นขนม นม เนย พลังงานตามอำเภอใจ

    :)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 ตุลาคม 2008
  6. มนต์ชัยIM

    มนต์ชัยIM เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +473
    หลุมดำเนี่ย ผมว่าน่ากลัวมากๆเลย แค่เห็นรูปก็น่ากลัวแล้ว นึกดูสิครับ อยู่ดีๆเราหายไปไหนไม่รู้...
     
  7. csoysri

    csoysri Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    41
    ค่าพลัง:
    +25
    โอ้ววว เจ้าของกระทู้ หาข้อมูลจากไหนครับเนี่ย ข้อมูลแน่นมากครับ
     
  8. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    อ่านเรื่องดูรูปของหลุมดำนี้แล้ว มันรู้สึก หวิวๆ วังเวง วิเหว๋โหว๋ ยังงัยก็ไม่รู้ซิ **"

    สงสัยจะเกิดความกลัว หลุมดำ จับขั้วหัวใจ ซะแระ --"
     

แชร์หน้านี้

Loading...