พระโสดาบัน 5 จำพวก

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย แค่พลัง, 22 กรกฎาคม 2020.

  1. แค่พลัง

    แค่พลัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    2,792
    ค่าพลัง:
    +1,565
     
  2. แค่พลัง

    แค่พลัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    2,792
    ค่าพลัง:
    +1,565
    โสตานุคตาโน คือ ผู้ที่กำลังจะตกกระแส
     
  3. maokvid-1800

    maokvid-1800 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,923
    ค่าพลัง:
    +2,262
    ตือ ตะ ดือ ตะ ดือ ดึด ( จริงเก้อ เปิดรายการ คั่น )

    รายการต่อไปนี้ เป็น รายการสำหรับเด็กดี
    ไม่เหมาะ สมกับ คนกราบฆราวาสสร้างพระใหญ่
    ชัยภูมิสิ้นสัทธาใน พุทธวจน

    พ่อแม่ควรแนะนำ น้องๆ หนูๆ

    ........บาลี วันลาคลำ ........

    น ตัวเดียว หมายถึง ความสมบูรณ์

    นา เติมสระอา หมายถึง ความไม่มีวันหมดสิ้น
    คนทอยเอาไปเรียก สถาณที่ และกิจกรรมเก็บเกี่ยว
    พืชผลที่เรียกว่า ข้าว

    อ เป็น นิเสธ เติมข้างหน้า ความหมายจะเปลี่ยนเป็นตรง
    ข้ามบ้าง เปลี่ยนไปในทิศทางแตกต่างบ้าง

    อน ไม่เขียน บาลีท่านว่า อ่านแล้วจะ งง ดังนั้น
    จึงมีการเติม สระ หรือไม่ก็ ลงอาคม์ เปลี่ยนพยัญชนะ
    ให้แปลกไปจากเดิม เพื่อความหลากหลายในการใช้

    เลยเขียนใหม่ ว่า "อนุ" คนทอย นิยมแปลว่า ตาม หรือ น้อย(ไม่มาก)
    หรือ ไม่สมบูรณ์ หรือ ไม่ใช่ตัวหลัก

    โสตา อนุ คต ผู้มี หนทางในการฟังยังไม่สมบูรณ์
    [ แปลตาม ไวยากรณ์บาลี หลังไปน่า ควรแปล
    ว่า ผู้มีหนทางยังไม่สมบูรณ์ด้วยการสดับ ]


    แต่หาก คนทอยจะแปลว่า ผู้พาดกระแส เพื่อให้เห็น
    ความเที่ยงของบุคคลคู่ที่หนึ่ง ก็ว่ากันไป

    แต่ ....

    พระมหาชนก กล่าวกับ นางอัปสร ใน นิทาน ที่ในหลวง
    ในพระบรมโกฏิพยายาม จะให้ คน"ไทย" ได้พัฒนาจาก
    คนทอย ว่า....

    ปุถุชน เมื่อเอาแต่ปรารภ ยึดมั่นการเห็น รูปธรรม*(ผล) ของ ฝั่ง
    คนๆนั้น ย่อมตกอยู่ใน ความเกลียดคร้าน แน่แท้

    " เรา มหาบุรุษ ผู้เห็นแต่ ความไม่เห็นฝั่ง จึงเพียรว่าย
    ในห้วงมหาสมุทร ได้เพียงผู้เดียว นอกนั้น ถอดใจ
    หลงทำกาละ... "

    อ้างแต่คำสาวก แทน คำศาสดา


    เฮีย ส่งมาเกิด




    ปล : เทคนิค การกล่าวเน้นการเห็น รูปธรรม
    ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เป็นเทคนิคการ
    นำเสนอแบบกรีก แบบโรมัน แบบธรรมโฆษจารย์
    อรรถกถา เช่น การรวบรัดเขียนเป็น หัวข้อ แล้ว
    ร่ายเป็นข้อย่อย เสริม ตามด้วย บบสรุป และ
    อาจมี ตัวอย่าง เป็นเทคนิดแบบกรีก

    ส่วน การสอนแบบ พระมหาชนก จะไม่มีการ
    เอาส่วนผล มานำ จะกล่าวแต่ "มรรควิธี"
    อย่างเดียว จึงเป็น สุญญตา เป็น โลกุตระ
    ทุกคำพูด

    คนไทยเวลาอ่าน พระไตรปิฏก จึงรู้สึกว่า
    ยาก เหมือน จับหลัก(ไม่เห็นฝั่ง)ไม่ได้ นั่นก็เพราะ
    ไปหลงวิธีการศึกษาแบบ สาวกในปัจจุบัน
    ที่เป็น คนไทย ที่ได้รับการอบรมด้วยวิธี
    การเรียนแบบ ฟรั่ง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 กรกฎาคม 2020
  4. แค่พลัง

    แค่พลัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    2,792
    ค่าพลัง:
    +1,565
    เมืองทอย นับถือ พุทธ? แล้วทำไม ภาษาทอยถึงมีอิทธิพล

    แล้วภาษามคธ กับ ภาษาทอย ?
    FF = T
    หรือ
    TT = F

    ทำให้ งง ไปหมด
     
  5. maokvid-1800

    maokvid-1800 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,923
    ค่าพลัง:
    +2,262
    เมืองทอย นับถือพุทธ

    แต่ เมืองไทย ถวายเป็น พุทธบูชา

    ภาษาโบราณ คำว่า "ใจ" คำเดียว
    หากยังใช้แบบคน โบราณ ที่มีอรรถรส
    แปลว่า "กลาง" "ของกลาง" จะ ผั๊วะ

    แต่พอเป็นภาษาทอย "ใจ" เป็นเรื่อง
    ความ"ฟิน"เป็นใหญ่ กลายเป็นเรื่อง
    ขนมยาย

    เป็นต้น

    ปล : เวลา สนทนาธรรม อย่าเน้น เป้าหมาย
    ที่เป็น "รูปธรรม" แบบเทคนิคฝรั่ง ดังนั้น
    การสนทนาธรรม อย่าไปเน้นว่า ฟังแล้ว
    จะบรรลุ ฟังแล้วมีอะไรเหลือ สรุปได้ บ้างสิ
    หาก สามารถ เน้นโอนลอยได้ ก็จะไม่มีทาง
    งง ( พอจะ งง ความ งง จะถูก ตรวจได้ทัน
    ทีว่าเป็น สิ่งแปลกปลอม ตัดกระแส อาการจิตเพียร )
     
  6. แค่พลัง

    แค่พลัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    2,792
    ค่าพลัง:
    +1,565
    โสตานุคตานํ ภิกฺขเว ธมฺมานํ วจสา ปริจิตานํ มนสานุเปกฺขิตานํ ทิฏฺฐิยา สุปฺปฏิวิทฺธานํ จตฺตาโร อานิสํสา ปาฏิกงฺขา กตเม จตฺตาโร อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ธมฺมํ ปริยาปุณาติ สุตฺตํ เคยฺยํ เวยฺยากรณํ คาถํ อุทานํ อิติวุตฺตกํ ชาตกํ อพฺภุตธมฺมํ เวทลฺลํ ตสฺส เต ธมฺมา โสตานุคตา โหนฺติ วจสา ปริจิตา มนสานุเปกฺขิตา ทิฏฺฐิยา สุปฺปฏิวิทฺธา โส มุฏฺฐสฺสติ กาลํ กุรุมาโน อญฺญตรํ เทวนิกายํ อุปปชฺชติ ตสฺส ตตฺถ สุขิโน ธมฺมปทาปิลปนฺติ ทนฺโธ ภิกฺขเว สตุปฺปาโท อถ โส สโต ขิปฺปํเยว วิเสสคามี โหติ โสตานุคตานํ ภิกฺขเว ธมฺมานํ วจสา ปริจิตานํ มนสานุเปกฺขิตานํ ทิฏฺฐิยา สุปฺปฏิวิทฺธานํ อยํ ปฐโม อานิสํโส ปาฏิกงฺโข ฯ ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ธมฺมํ ปริยาปุณาติ สุตฺตํ เคยฺยํ เวยฺยากรณํ คาถํ อุทานํ อิติวุตฺตกํ ชาตกํ อพฺภุตธมฺมํ เวทลฺลํ ตสฺส เต ธมฺมา โสตานุคตา โหนฺติ วจสา ปริจิตา มนสานุเปกฺขิตา ทิฏฺฐิยา สุปฺปฏิวิทฺธา โส มุฏฺฐสฺสติ กาลํ กุรุมาโน อญฺญตรํ เทวนิกายํ อุปปชฺชติ ตสฺส ตตฺถ นเหว โข สุขิโน ธมฺมปทาปิลปนฺติ #๑ ม. ตสฺสุทฺทานํ # โยธา ปาฏิโภคสุตํ อภยํ สมณฺสจฺเจน ปญฺจมํ # อุมฺมคฺควสฺสกาโร อุปโก สจฺฉิกิริยา จ อูโปสโถติ ฯ

    [๑๙๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ ๔ ประการแห่งธรรมทั้งหลายที่บุคคลฟังเนืองๆ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิ อันบุคคลพึงหวังได้ อานิสงส์ ๔ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมเล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ...เวทัลละ ธรรมเหล่านั้น เป็นธรรมอันภิกษุนั้นฟังเนืองๆ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิ เธอมีสติ หลงลืม เมื่อกระทำกาละ ย่อมเข้าถึงเทพนิกายหมู่ใดหมู่หนึ่ง บทแห่งธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏแก่เธอ ผู้มีความสุขในภพนั้น สติบังเกิดขึ้นช้า แต่สัตว์นั้นย่อมเป็นผู้บรรลุคุณวิเศษ เร็วพลัน ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย นี้เป็นอานิสงส์ประการที่ ๑ แห่งธรรมทั้งหลายที่บุคคลฟังเนืองๆ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิอันบุคคลพึงหวังได้ ฯ อีกประการหนึ่ง ภิกษุย่อมเล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ...เวทัลละ ธรรมเหล่านั้น เป็นธรรมอันภิกษุนั้นฟังเนืองๆ คล่องปากขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิ เธอมีสติหลงลืม เมื่อ กระทำกาละ ย่อมเข้าถึงเทพนิกายหมู่ใดหมู่หนึ่งบทแห่งธรรมทั้งหลายย่อมไม่ปรากฏแก่เธอ ผู้มี ความสุขอยู่ในภพนั้นเลย แต่ภิกษุผู้มีฤทธิ์ ถึงความชำนาญแห่งจิต แสดงธรรมแก่เทพบริษัท เธอมีความปริวิตกอย่างนี้ว่า ในกาลก่อนเราได้ประพฤติพรหมจรรย์ในธรรมวินัยใด นี้คือธรรมวินัย นั้น สติบังเกิดขึ้นช้า แต่ว่าสัตว์นั้นย่อมบรรลุคุณวิเศษ เร็วพลันดูกรภิกษุทั้งหลาย บุรุษผู้ฉลาดต่อ เสียงกลอง เขาเดินทางไกล พึงได้ยินเสียงกลอง เขาไม่พึงมีความสงสัย หรือเคลือบแคลงว่า เสียงกลองหรือไม่ใช่หนอที่แท้เขาพึงถึงความตกลงใจว่า เสียงกลองทีเดียว ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้น เหมือนกัน ย่อมเล่าเรียนธรรม ฯลฯ ย่อมเป็นผู้บรรลุคุณวิเศษ เร็วพลัน ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น อานิสงส์ประการที่ ๒ แห่งธรรมทั้งหลายที่ภิกษุฟังเนืองๆคล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดี ด้วยทิฐิ อันบุคคลพึงหวังได้ ฯ อีกประการหนึ่ง ภิกษุย่อมเล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ...บทแห่งธรรมทั้งหลาย ย่อมไม่ ปรากฏแก่เธอผู้มีความสุขอยู่ในภพนั้นเลย ทั้งภิกษุผู้มีฤทธิ์ถึงความชำนาญแห่งจิต ก็ไม่ได้แสดง ธรรม ในเทพบริษัท แต่เทพบุตรย่อมแสดงธรรมในเทพบริษัท เธอมีความคิดอย่างนี้ว่า ในกาลก่อน เราได้ประพฤติพรหมจรรย์ในธรรมวินัยใด นี้คือธรรมวินัยนั้นเอง สติบังเกิดขึ้นช้า แต่ว่าสัตว์
     
  7. แค่พลัง

    แค่พลัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    2,792
    ค่าพลัง:
    +1,565
    คืออันนี้เป็นการเผยแพร่นะ ปกติฟังธรรมไม่ค่อยกินอานิสงค์ เพราะไม่รู้จะเอาอานิสงค์ไปทำอะไรเหมือนกัน ปกติมุ่งแจ้งแทงตลอด ตื่นมาปรารภทุกครั้ง ว่า " ชาตินี้เป็นชาติปุถุชนชาติสุดท้าย"
    ที่ตั้งแบบนี้อยากให้เป็นสัจจะอธิฐานไป พอมันเป็นทุกวันอาการเฟ้นหาธรรมมันดันไม่ยอมหยุดน่ะ
    พยายามคุมตัวเองอยู่อ่ะพี่แสง
     
  8. maokvid-1800

    maokvid-1800 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,923
    ค่าพลัง:
    +2,262
    อย่าง บาลี ที่ยกมา นี่

    เหมือน คนเรียนภาษาอังกฤษ native อ่านแล้วไม่ต้อง แปลไทย

    ใช้คำศัพท์ตามที่เป็น อังกฤษไปเลย

    กรณีใน บทบาลีที่ยกมา นั่น ปม อ่านแล้ว ร้อยละ 80 ไม่มี
    สะดุดใจ ต้องรอให้ วจีสังขาร แล่นไปหา ภาษาไทย มาปะผุ

    เนี่ยะ อ่านได้แบบนี้ ก็จะ โอ

    มันไม่ได้ ยาก

    แต่พอ กลับมาอ่าน สำนวนไทยข้างล่าง คำไหนผิดปรกติ
    ไม่ใช่ธรรม(ตามกระแสมรรค) จะตรวจจับได้ แล้วก็ไม่ต้อง
    ไป ดำริจะก้ง จะแก้ อะไร เพราะ มรรค นั้นเน้น การเห็น
    นิวรณ์ธรรมเกิดดับ ตรงไหนผิด ตรงไหนลง มันก็มีกิจ
    เดียว รสเดียว เพื่อความเพียร เพื่อธรรม สมบุรณ์แล้ว
    โดยไม่ต้องไป แก้ไข คำแปล แต่อย่างใด
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 กรกฎาคม 2020
  9. maokvid-1800

    maokvid-1800 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,923
    ค่าพลัง:
    +2,262
    ช่วย ม่ายล่าย

    มันเป็น ธรรมฤทธิ์ที่จะมีต่อ ผู้มีวาสนา นาน่วม

    มหาสมุทร เกิดคลื่นใหญ่ ซัดเข้ามา

    ผู้มีความเพียร ย่อมเฝ้นธรรม ยกฝ่ามือ ห้ามสมุทธ ได้ ฉันนั้น

    เหมือน หลวงพ่อเยื้อน ภาวนาคืนเดียว
    พาดกระแส จะไปให้ อรหันต์(ลป.ดูลย์)
    เอาออกให้หน่อย

    อรหันต์ตอบว่า ทำอะไรไม่ได้แล้ว เป็น

    "อนัตตาไปแล้ว"


    ปล. พินาให้ถูกส่วนนะ เพราะ ถ้าพินาไม่ถูกส่วน
    พอไปฟังคำสอน ลป.เยื้อน หลังๆ เหมือนจะ
    ไม่เหลือธรรม ( ท่านคงโดนพวก ไม่มีธรรม
    อัด อย่างนั้น อย่างนี้ คำเทศนา เลยต้อง
    ยอม กร่อนลง เพื่อไม่ให้เกิด การประลองกรรม
    ประลองธรรม )

    แต่ถ้า ใช้ พุทธวจน

    ฝั่งที่ชื่อว่า ความสามัคคีในพุทธบริษัท จะมีไหมหนอ

    หรือ ยอมจำนน

    เอา คำสาวก ยกขึ้น เพื่อมุ่ง มีฝั่ง เป็นรูปธรรม
    ( แตกสามัคคี ทุกหย่อมหญ้า )
     
  10. maokvid-1800

    maokvid-1800 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,923
    ค่าพลัง:
    +2,262
    เสวนา กับ ผม งง หน่อยนะ

    เพราะ จีจี ผมมี ปลาเด็น หรือ น้าเจนด่า(agenda)

    จึงไม่ได้เหมือน เสวนา ตอบ อะไร เท่าไหร่

    แหะ แหะ
     
  11. แค่พลัง

    แค่พลัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    2,792
    ค่าพลัง:
    +1,565
    ไม่ได้ยอมแพ้นะ
    อาการภายในมันขัดแย้งกับสิ่งที่เคยเป็นมา มันเป็นแบบนั้นจริงๆ
    และมันสวนทางกับชาวบ้านหมด
    ข้อเสียคือ ทำให้เกิดอาการที่อะไรที่ไม่ธรรมจะไม่มอง
    แต่นู๋ตัดโทษะไม่ได้ มันเกิดแรงดันขึ้นภายในใจ
    ทั้งๆ ที่ทำสติปัฐฐาน 4 นะ
    หรือจะเป็นบ้าไปแล้วนะ
     
  12. maokvid-1800

    maokvid-1800 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,923
    ค่าพลัง:
    +2,262
    สำนวน ไทย โบราณ ได้ยินเสียงกลอง แล้ว ไม่ต้อง
    มา นั่งรอ วจีสังขาร ลั่นว่า เสียงกลอง

    อันนี้ ก็เหมือน คำว่า native หรือ fluently ใน ภาษา
     
  13. แค่พลัง

    แค่พลัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    2,792
    ค่าพลัง:
    +1,565
  14. maokvid-1800

    maokvid-1800 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,923
    ค่าพลัง:
    +2,262
    เขาไม่ได้ ให้ไปตัด

    ให้ จำแนก แยกแยก ว่า

    โทษะ ขณะใด เป็น อกุศลมูลจรมา
    ( เป็น กรรมใหม่ หาก คว้า หรือ ฉวย
    ด้วย เลห์อะไร จะจัดเป็น กรรมใหม่
    ปรากฏ หรือ ภัย5ประการถูกต้อง-ให้ผล )

    โทษะ ขณะใด เป็น ภาวสวะ จำเป็น
    ต้องใช้ เพื่อ ยังภพ หน้าที่ การงาน
    หากไม่ใช้ มีโทษคือ ทำผิดหน้าที่
    เข้าคุก ( เป็นเรื่อง ฉลาดใน ฐานา อฐานะ )

    โทษะ ขณะใด เป็น อานุสัย อันนี้
    ไปทำอะไรไม่ได้ อรหันต์บางองค์
    ก็ทำอะไรมันไม่ได้ เจอใครก็เรียก
    คนถ่อย คนถ่อย ( แต่ ต้องกำหนดรู้
    ซึ่งจะมี การขาดสะบั้นให้เห็น เพียง
    แต่ว่า อาจจะยังล้างไม่หมด จนกว่า
    จะ ปรินิพพาน ) ส่วนนี้ เป็น ปัจจัตตัง
    อรหันต์ด้วยกัน ก็แก้ให้กัน ไม่ได้

    สาสวะ ภวสวะ อาสวะ ต้องจำแนก

    กำหนดรู้
     
  15. แค่พลัง

    แค่พลัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    2,792
    ค่าพลัง:
    +1,565
    I‘ve got to go now. moment i come back
     
  16. maokvid-1800

    maokvid-1800 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,923
    ค่าพลัง:
    +2,262
    วสี อย่าไปแปล แบบ คนบางคน ที่ ผมพยายาม
    ห้าม ว่า อย่าไปเสวนากับเขาเด็ดขาด


    วสี พุทธ ให้ พินา พระสารีบุตร เป็น หลัก
     
  17. ปราบเทวดา

    ปราบเทวดา ลอยลำ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    6,265
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +4,762
    ทำไม่ถูกสติปัฏฐานไง

    ความเฟ้นธรรมไม่ใช่ไปเอาเทศน์ องค์นั้นองนี้มาโพส มาอ่าน

    อ่านองค์นั้นทีองค์นี้ที

    ถ้าฟังธรรมที่สมบูรณ์ ก็ว่าไปอย่าง
     
  18. แค่พลัง

    แค่พลัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    2,792
    ค่าพลัง:
    +1,565
    ธรรมที่สมบูรณ์ คือ ไฉน
     
  19. ปราบเทวดา

    ปราบเทวดา ลอยลำ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    6,265
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +4,762
    ไปอ่าน อาหาร วิชชา และวิมุติ
     
  20. แค่พลัง

    แค่พลัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    2,792
    ค่าพลัง:
    +1,565
    พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์
    พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
    พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)
    [​IMG]
    [​IMG]

    สัปปุรุษ เป็นคำเลือนปะปนระหว่าง สัปปุริส ที่เขียนอย่างบาลี กับ สัตบุรุษ ที่เขียนอย่างสันสกฤต มีความหมายอย่างเดียวกัน
    (ดู สัตบุรุษ)
    แต่ในภาษาไทยเป็นคำอยู่ข้างโบราณ ใช้กันในความหมายว่า คฤหัสถ์ผู้มีศรัทธาในพระศาสนา เฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ที่ไปร่วมกิจกรรมทางบุญทางกุศล รักษาศีลฟังธรรมเป็นประจำที่วัดใดวัดหนึ่ง
    บางทีเรียกตามความผูกพันกับวัดว่า สัปปุรุษวัดนั้น สัปปุรุษวัดนี้
    ..............................................................

    ความหมายมันแบบนี้จริงๆ เปล่า
     

แชร์หน้านี้

Loading...