ผู้ให้สัตว์ตาย เป็นผู้ใหญ่ ผู้ให้สัตว์ถึงความตาย ในพระไตรปิฏก

ในห้อง 'พระไตรปิฎก' ตั้งกระทู้โดย หลับอยู่, 23 สิงหาคม 2015.

  1. หลับอยู่

    หลับอยู่ http://www.pramontien.com/shop.php?shop_no=185

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    928
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +293
    <CENTER> พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑
    ขุททกนิกาย มหานิทเทส</CENTER>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" background="" align=center><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TR><TD bgColor=darkblue width="100%" hspace="0" vspace="0">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>






    <CENTER></CENTER>








    </PRE>


    [๙๔๖]
    ผู้ให้สัตว์ตาย
    ผู้มีกรรมดำ
    เป็นผู้ใหญ่
    ผู้ให้สัตว์ถึงความตาย
    ผู้ไม่ให้สัตว์พ้นไป
    ผู้เป็นเผ่าพันธ์แห่งผู้ประมาท
    ชื่อว่าผู้มีกรรมดำ

    ในคำว่า เมื่อนั้น พึงบรรเทาเสียด้วยมนสิการว่า นี่เป็นฝักฝ่ายแห่งมารผู้มีกรรมดำ. คำว่า เมื่อนั้น พึงบรรเทาเสียด้วยมนสิการว่านี่เป็นฝักฝ่ายแห่งมารผู้มีกรรมดำ. คำว่า พึงละ บรรเทา ทำให้สิ้นไป ให้ถึงความไม่มีด้วยมนสิการว่า
    นี่เป็นฝักฝ่ายผู้มีกรรมดำ
    เป็นฝักฝ่ายมาร
    เป็นบ่วงมาร
    เป็นเบ็ดมาร
    เป็นเหยื่อมาร
    เป็นวิสัยมาร
    เป็นเครื่องให้เดือดร้อนของมาร
    เป็นอาหารมาร
    เป็นเครื่องผูกของมาร
    แม้ด้วยเหตุอย่างนี้ ดังนี้ จึงชื่อว่า เมื่อนั้น พึงบรรเทาเสียด้วยมนสิการว่า นี่เป็นฝักฝ่ายแห่งมารผู้มีกรรมดำ.
    อีกอย่างหนึ่ง พึงละ บรรเทา ทำให้สิ้นไป ให้ความไม่มี ด้วยมนสิการว่า นี่เป็น
    ฝักฝ่ายผู้มีกรรมดำ
    เป็นฝักฝ่ายมาร
    เป็นฝักฝ่ายอกุศล
    เป็นเครื่องให้เกิดทุกข์
    เป็นสภาพมีวิบากเป็นทุกข์เป็นเหตุให้เป็นไปในนรก
    เป็นเหตุให้เป็นไปในกำเนิดดิรัจฉาน
    เป็นเหตุให้เป็นไปในเปรตวิสัยแม้ด้วยเหตุอย่างนี้ ดังนี้ จึงชื่อว่า เมื่อนั้น พึงบรรเทาเสียด้วยมนสิกาว่า นี่เป็นฝักฝ่ายแห่งมารผู้มีกรรมดำ. เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า ภิกษุไม่พึงทำความเป็นขโมย ไม่พึงพูดเท็จ พึงแผ่เมตตาไปยังสัตว์ทั้งที่ สะดุ้งและผู้มั่นคง เมื่อใด ภิกษุพึงรู้ความขุ่นใจ เมื่อนั้น พึงบรรเทา เสียด้วยมนสิการว่า นี่เป็นฝักฝ่ายแห่งมารผู้มีกรรมดำ.





    <CENTER></CENTER>
    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๙ บรรทัดที่ ๑๑๒๔๘ - ๑๑๒๖๒. หน้าที่ ๔๗๒.
    http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=29&A=11248&Z=11262&pagebreak=0
     
  2. หลับอยู่

    หลับอยู่ http://www.pramontien.com/shop.php?shop_no=185

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    928
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +293
    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๖
    อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต</CENTER><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" background="" align=center><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TR><TD bgColor=darkblue width="100%" hspace="0" vspace="0">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>




    <CENTER></CENTER>





    </PRE>



    <CENTER>ปัจโจโรหณีสูตรที่ ๒</CENTER>





    </PRE>

    [๑๒๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงพิธีปลงบาปอันเป็นอริยะแก่เธอ





    </PRE>ทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟังพิธีปลงบาปอันเป็นอริยะนั้น จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวภิกษุเหล่านั้นทูลรับแด่พระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็พิธีปลงบาป อันเป็นอริยะเป็นไฉน
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า
    วิบากแห่งมิจฉาทิฐิแล เป็นสิ่งที่ชั่วช้าทั้งในปัจจุบันทั้งในสัมปรายภพ
    อริยสาวกนั้น ครั้นพิจารณาเห็นดังนี้แล้ว ย่อมละมิจฉาทิฐิ ย่อมปลงบาปจากมิจฉาทิฐิ ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า
    วิบากแห่งมิจฉาสังกัปปะ ...
    แห่งมิจฉาวาจา ...
    แห่งมิจฉากัมมันตะ ...
    แห่งมิจฉาอาชีวะ ...
    แห่งมิจฉาวายามะ ...
    แห่งมิจฉาสติ ...
    แห่งมิจฉาสมาธิ ...
    แห่งมิจฉาญาณะ ...
    แห่งมิจฉาวิมุติแล เป็นสิ่งที่ชั่วช้าทั้งในปัจจุบันทั้งในสัมปรายภพ อริยสาวกนั้นครั้นพิจารณาเห็นดังนี้แล้ว ย่อมละมิจฉาวิมุติ



    ย่อมปลงจากบาปจากมิจฉาวิมุติดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้เรากล่าวว่า เป็นพิธีปลงบาปอันเป็นอริยะ ฯ <CENTER>จบสูตรที่ ๘</CENTER>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 สิงหาคม 2015

แชร์หน้านี้

Loading...