ขอเชิญร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย พันวฤทธิ์, 29 พฤศจิกายน 2007.

  1. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,096
    ประมวลภาพ “หลวงพ่อฤาษีลิงดำ”

    วัดท่าซุง (วัดจันทาราม)
    บ้านท่าซุง ต.น้ำซึม อ.เมือง จ.อุทัยธานี


    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]


    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]





    ขอขอบคุณเป็นอย่างสูงสำหรับรูปภาพทั้งหมดจากเวบ

     
  2. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,096

    ในนามคณะทุนนิธิฯ ขอขอบคุณและโมทนาในกุศลและผลบุญกับคุณ nathaphat สำหรับการบริจาคปัจจัยมาในครั้งนี้ ขออาราธนาพระฉัพพรรณรังสี และพระเมตตาบารมีแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามพระกกุธสันโธเจ้า ให้คุณและครอบครัวจงมีแต่ความสุข พ้นจากความทุกข์ทั้งปวงตราบจนกว่าจะถึงซึ่งฝั่งพระนิพพานด้วยครับ


    [​IMG]




     
  3. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,096
    รูปถ่ายนี้น่าจะมีปัญหาเสียแล้วนะ


    [​IMG]

    (รูปแรกนั่นไม่ใช่หลวงปู่มั่นค่ะ เป็นรูปท่านอาจารย์ชอบ) ปรกติท่านไม่ค่อยได้ถ่ายรูปง่ายๆ นะพ่อแม่ครูจารย์มั่น จำได้ที่มาสกลนครถ่ายที่ธรรมาสน์แห่งหนึ่ง แล้วก็ไปถ่ายที่บ้านฝั่งแดงนั้นแห่งหนึ่งที่มีต้นค้อ ท่านยืนพาดสังฆาฏิ ท่านสงเคราะห์ลูกศิษย์ท่าน ชื่อโยมทองอยู่ นครพนม เขาอยู่พระธาตุพนม เขามาจังหันที่นั่นกับลูกๆ เขา เพราะเขาเป็นลูกศิษย์เก่าแก่ ท่านมาพักอยู่ที่บ้านฝั่งแดงกับเรา เราไปรอรับท่าน แล้วไปนิมนต์ท่านมาจากวัดเกาะแก้วนั่น ที่นี่ไม่สะดวกเราว่า ที่สะดวกคือที่นั่น คือที่เราพักอยู่นั้นสะดวกสบาย ท่านถามเป็นยังไงๆ สะดวกหมดเราว่า เลยพากันเดินมานะนั่นกับท่าน เรากับท่านเดินมา แล้วก็มาอยู่ที่นั่น

    ทีนี้พวกโยมทองอยู่เขาเป็นลูกศิษย์เก่าของท่าน เขาก็มาจังหันตอนเช้า พอเสร็จเรียบร้อยแล้วเขาก็ขอถ่ายรูปท่าน ท่านอนุโลมลูกศิษย์เก่าของท่านนะ ที่ไม้ค้อ ท่านยืนถ่ายพาดผ้าสังฆาฏิอะไรนี้ เราอยู่ที่นั่น นั่นละท่านถ่ายนั้นหนหนึ่ง ท่านอนุโลมให้ลูกศิษย์เก่าท่าน ให้ท่าขัดสมาธิหรือท่ายืนพาดสังฆา ท่านทำให้ทั้งนั้นนะ จากนั้นไม่ค่อยได้มีใครมาถ่ายท่านง่ายๆ นะ เราจำได้เท่านั้น

    (วันนี้เป็นวันคล้ายวันมรณภาพท่านอาจารย์ปัญญา ลูกศิษย์ถวายเช็คหนึ่งหมื่นเจ้าค่ะ) วันนี้หรือวันท่านปัญญามรณภาพ วันที่ ๑๘ เดือนสิงหาเหรอ แน่ะ เราลืมแล้ว ท่านปัญญาท่านสุขุมมาก เราพูดถึงว่าท่านมาขออยู่ถึงห้าหนเลยยังไม่จบนะ หนที่ห้าเสียท่าท่าน ท่านมาขอพักชั่วคราว จนกระทั่งท่านจากไป ๔๑ ปีมาพักชั่วคราว ท่านเขียนอะไรอยู่ที่ครัวนั่น ท่านกำลังทำอะไรๆ เราก็เดินไปนั้น เรามันเป็นนิสัยลิง ท่านนิสัยแมวนิสัยราชสีห์สุขุมมาก เรามันนิสัยลิง ไปก็แหย่โน้นแหย่นี้ไป แล้วก็พอเสร็จเรียบร้อยแล้วก็เห็นรูปอันหนึ่ง ตัวหนังสือแผ่นกระดาษแข็งๆ เขียนไว้ว่า อย่ายุ่ง เขาเขียนไว้ข้างล่าง

    เราไปเห็นอันนั้นมันก็เข้ากับเรื่องตลกได้ดี เราเลยจับขึ้นมา นี่อะไร ท่านอ่านได้ไหม ถามท่านปัญญา ท่านฉลาดนะ เราจับขึ้นมาให้ ตัวหนังสือแผ่นกระดาษหนาๆ นี่อ่านได้ไหม อ่านว่าไง อ่านได้ไหม ท่านตอบว่า คิดว่าอ่านได้ ดูซิน่ะท่านฉลาด คิดว่าอ่านได้ แล้วอ่านดูซิ เอ้า อ่านว่าไง ว่าอย่ายุ่ง ใช่ไหมว่างั้นนะ ท่านว่าคิดว่าอ่านได้ ท่านฉลาดพูด แล้วอ่านว่าไง อ่านว่าอย่ายุ่ง อย่ายุ่งมันหมายความว่าไงเราถามอีก อย่าอย่างนี้ ขบขันดีนะ อย่าอย่างนี้ๆ ใช่ไหมท่านว่า อ่านแล้วเราก็ทิ้งไว้นั้นละ ทีนี้เด็กมันมาเห็นอย่ายุ่ง มันเอาไปติดหน้าวัดประตูต้นเสาใหญ่เท่าขานี่น่ะ ไปติดป้ายไว้นู้น แล้วคนมายุ่งเราทั้งวันเลย มาอะไร ว่าอย่ายุ่ง อย่ายุ่งอะไร เลยยุ่งใหญ่เลย แล้วยุ่งอะไรนี่ ก็ติดป้ายไว้ที่หน้าวัดว่างั้น ไปถามดู เด็กมันเอาไปติดไว้นู้น อย่ายุ่งคืออันนั้นเองเขามายุ่งเรา นั่นละเรื่องราวเราก็เลยไม่ลืม ว่าอย่ายุ่งนี้มันไปอยู่โน้น อย่ายุ่งโน้นเลยกลับมายุ่งเรา

    เอ๊ นี่รูปใครถ้าว่าไม่ใช่รูปหลวงปู่มั่น ใครเอามาไว้สุ่มสี่สุ่มห้า ว่ารูปเรา มันรูปยังไงนา เราไม่เคยอาจเอื้อมที่จะไปถ่ายรูปกับหลวงปู่มั่นนี่นะ ใครมาทำ (ไม่ใช่หลวงปู่มั่น เป็นหลวงปู่ชอบเจ้าค่ะ พ่อแม่ครูจารย์ไปดูใกล้ๆ) แล้วเขียนว่าหลวงปู่มั่นทำไม เขียนว่าหลวงปู่มั่น หลวงปู่หลุย แล้วหลวงตาบัว เราเลยไม่แน่ใจทั้งนั้น (พระท่านเคยเห็นรูปขาวดำ ท่านบอกไม่ใช่หลวงปู่มั่นเหมือนกันครับ ท่านบอกเป็นหลวงปู่ชอบครับ) ก็นั่นซี ก็ไม่เคยเห็นท่านถือไม้เท้า เราไปอยู่กับท่านจนกระทั่งท่านมรณภาพไม่เห็นท่านถือไม้เท้าเลย และรูปท่านก็ไม่ได้ถ่ายง่ายๆ นะ ท่านไม่ให้ถ่าย ที่ธาตุพนมนั่นท่านอนุญาตให้ลูกศิษย์เก่าของท่าน โยมทองอยู่ ธาตุพนม ถ่าย ท่านอนุญาตให้แล้วก็ท่านให้ทุกท่าเลย นั่งขัดสมาธิ ไม้ค้ออยู่ที่ศาลาวัดป่า แล้วก็ยืน ท่านให้ทั้งนั้นละ เราก็อยู่ที่นั่นนี่


    คัดบางส่วนมาจาก...ฤทธิ์คำสัตย์คำจริง
    วันที่ 18 สิงหาคม 2549 เวลา 8:10 น. ความยาว 52.3 นาที
    สถานที่ : วัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี
    <!-- m -->http://www.luangta.com/thamma/thamma_ta ... 71&CatID=2<!-- m -->

    รับฟังรับชมพระธรรมเทศนาของหลวงตา ได้ที่
    <!-- m -->http://www.Luangta.com<!-- m --> หรือ <!-- m -->http://www.Luangta.or.th<!-- m -->
    และรับฟังจากสถานีวิทยุสวนแสงธรรม กรุงเทพฯ
    และสถานีวิทยุอุดร FM 103.25 MHz
     
  4. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,096
    บางส่วนจากงานล้างป่าช้า "ที่สุดก็เท่านี้เอง ไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่" คงมีแต่ "บุญ" กับสิ่งที่เรียกว่า "ไม่ใช่บุญ" เท่านั้นที่ตามเราไป ตอนนี้เรายังไม่ตาย ยังมีลมหายใจอยู่ สำรวจตัวเองดูว่า เราอยากได้สิ่งใดตามเราไป ทานเป็นเบื้องต้น ศีลเป็นเบื้องกลาง ภาวนาเป็นที่สุด หากกายพร้อม ใจพร้อม ไม่ต้องรอนาน ทุนนิธิฯ ขอเอากำลังใจช่วยด้วยอีกแรงนึง....ขอโมทนาล่วงหน้า...


    โอ้....กราบสวัสดีกัลยาณมิตรทุกท่านค่ะ วันนี้ สาวเก็บศพ นำภาพบรรยากาศที่ไปล้างป่าช้ามาให้ดูนะคะ เป็นภาพของทางมูลนิธิเราเอง อยากให้ช่วยอนุโมทนาบุญกันหน่อย น่ะค่ะ สาธุ............

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    มีอาหารเจกินฟรีนะคะ ^^

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    มาดูกุมารทอง ตัวน้อยๆ น่ารักๆ กันบ้างนะคะ

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    ขอขอบคุณสำหรับภาพมรณานุสสติกรรมฐานข้างต้นนี้จากคุณที่ใช้ชื่อว่า "สาวเก็บศพ" จากเวบ

    ลานธรรมจักร &bull; แสดงกระทู้ - ล้างป่าช้าที่โคราชค่ะ งานมหากุศล 10 ปี มีครั้ง
     
  5. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,096
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)

    สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ ๑๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
    วัดสุทัศนเทพวราราม ราชวรมหาวิหาร
    แขวงราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร


    [​IMG]

    เมื่อครั้งทรงดำรงสมณศักดิ์ที่ พระเทพโมลี

    [​IMG]

    เมื่อครั้งทรงดำรงสมณศักดิ์ที่ พระพรหมมุนี

    [​IMG]

    เมื่อครั้งทรงดำรงสมณศักดิ์ที่ สมเด็จพระพุฒาจารย์

    [​IMG]



    [​IMG]

    เมื่อครั้งทรงดำรงสมณศักดิ์ที่ สมเด็จพระวันรัต


    [​IMG]

    แถวหน้าองค์ที่ ๒ จากขวา :
    สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)
    เมื่อครั้งทรงดำรงสมณศักดิ์ที่ สมเด็จพระวันรัต

    [​IMG]

    สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)
    ทรงฉายร่วมกับคณะกรรมการพุทธสมาคม


    [​IMG]

    สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)
    ทรงฉายร่วมกับพระภิกษุสามเณรของวัดสุทัศนเทพวราราม


    ขอขอบคุณ

    http://www.dhammajak.net
     
  6. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,096
    หนึ่งเดียวจากเมืองใต้



    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    รูปปั้นหุ่นขี้ผึ้ง “หลวงปู่ทวดเหยียบน้ำทะเลจืด”
    ณ พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งไทย ต.ขุนแก้ว อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม

    ขอขอบคุณ
    หน้าหลัก
     
  7. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,096
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD class=A2 vAlign=top>
    พระพยอม เฮฮา

    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=center bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD class=A2 vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=center bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD class=A2 vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=center bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD class=A2 vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=center bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD class=A2 vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=center bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD class=A2 vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=center bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD class=A2 vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=center bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD class=A2 vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=center bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle>ขอบคุณที่มา:Fw mail</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
  8. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,096
    คืนวันศุกร์ต่อวันเสาร์มาแนะนำพระดีที่น่ากราบและพระเครื่องดีที่น่าเก็บเป็นประจำครับ วันนี้นึกถึงคอลัมภ์หนึ่งของคุณอำพล เจน แห่งนิตยสารศักดิ์สิทธิ์สมัยเมื่อนานมาแล้ว เรื่องพระยอดขลังสายอิสานรูปหนึ่ง ท่านเป็นลูกศิษย์ของ "สำเร็จลุน" ดังนั้น อภิญญาจิตของคณาจารย์สายนี้ไม่ต้องห่วงในเรื่องความขลัง มาลองอ่านบทความดูก็แล้วกัน แต่ถ้ามีโอกาสเจอพระเครื่องของท่าน อย่าลืมเก็บเอาไว้ตามเคยก็แล้วกัน


    [FONT=Arial,MS Sans Serif]
    [​IMG]
    (D)


    [/FONT]เทพเจ้าบ้านปราสาทเยอร์
    พระครูประสาธน์ขันธ์คุณ “หลวงพ่อมุม อินฺทปญฺโญ”
    วัดปราสาทเยอร์เหนือ อ.ไพรบึง จ.ศรีสะเกษ




    นครพนม มี เจ้าคุณปู่จันทร์ อุดรธานี มี หลวงปู่ขาว เชียงใหม่ มี หลวงปู่แหวน สกลนคร มี หลวงปู่ฝั้น สุรินทร์ มี หลวงปู่ดุลย์ โคราช มี หลวงพ่อพุธ ร้อยเอ็ด มี หลวงปู่ศรี อุบลราชธานี มีหลวงพ่อชา หนองคาย มีหลวงปู่เทสก์ ศรีสะเกษมีหลวงพ่อมุม ฯลฯ

    หัวใจแห่งศรัทธาจังหวัดละดวง หรือมากกว่านั้น

    นี่ยังไม่นับไปถึงภาคใต้ ตะวันออก ตะวันตกและกลาง ที่มีดวงใจโต ๆ คับอกชาวพุทธแต่ละจังหวัดชั่วนิรันดร์

    ความ เคารพเลื่อมใสในหลวงพ่อมุม ของชาวศรีสะเกษนั้นเป็นประวัติศาสตร์ไปแล้ว นี่ไม่ได้กล่าวเกินเลย แต่มันเป็นความจริงที่ใคร ๆ สามารถพิสูจน์ได้

    คุณเกียรติ สำราญ ผู้จัดการสีรุ้งคาร์แคร์ เยื้องวัดเจียงอี ในเมืองศรีสะเกษ เป็นผู้หนึ่งที่ศรัทธาในหลวงพ่อมุมตั้งแต่ยังเด็กจนล่วงเข้ากลางคน เขาแขวนเหรีญรุ่นแรกหลวงพ่อมุมตั้งแต่อายุราว 12 ขวบ จนทุกวันนี้ 38 หรือ 39 เข้าให้แล้ว

    20 กว่าปีที่หลวงพ่อมุมไม่เคยห่างคอ

    ไม่เคยมีของคณาจารย์อื่นใดนอกจากหลวงพ่อมุมอีกต่างหาก

    คุณ เกียรติเล่าว่า เดิมไม่รู้จักหลวงพ่อมุม วันหนึ่งมีรายการชกมวยใกล้บ้าน ไปป้วนเปี้ยนหาช่องจะดูมวย พบเพื่อนเด็กคนหนึ่งอยากดูมวยแต่ไม่มีเงิน จึงร้องขายเหรียญหลวงพ่อมุมที่แขวนอยู่ในคอ คุณเกียรตินึกอยากได้โดยไม่ทราบว่าทำไม และได้กลับไปบ้านขโมยเงินแม่มาซื้อเหรียญหลวงพ่อมุมจากเพื่อนในราคา 20 บาท พอกลับบ้านถูกแม่จับได้และตี ฐานทำตัวไม่สุจริต

    เหรีญหลวงพ่อมุมที่ ซื้อจากเพื่อนนั้นคือ เหรียญรุ่นแรก สร้างราวๆ ปี 2507-2508 เหรียญนั้นได้ช่วยชีวิตและร่างกายของคุณเกียรติหลายครั้ง เฉพาะที่ประทับใจคือคราวเกิดอุบัติเหตุมอเตอร์ไซค์ชนกองหิน

    เรื่อง มีอยู่ว่า คุณเกียรติและเพื่อนอีก 2 คน ซ้อนมอเตอร์ไซค์คันเดียวกันคือซ้อนสาม คุณเกียรตินั่งท้ายสุด มอเตอร์ไซค์เสียหลักพุ่งเข้าชนกองหินที่พวกก่อสร้างตึกได้กองไว้ข้างทาง คุณเกียรติตัวลอยขึ้นสูงอย่างน่ากลัวแล้วหล่นพลั่กสู่พื้นแน่นิ่งไป ทุกคนที่เห็นเหตุการณ์บอกว่าคุณเกียรติไม่รอด เพราะสถานการณ์ที่เห็นนั้นน่ากลัวกว่าเพื่อนอีกสองคนซึ่งล้มไปธรรมดา แต่ปรากฏว่าคุณเกียรติกลับลุกขึ้นได้ ส่วนเพื่อนอีกสองคนสลบเหมือด

    จริงๆแล้วการเกิดอุบัติเหตุแต่ละครั้งของแต่ละคนถ้าหากมีการรอดพ้นอันตรายมาได้ก็ไม่
    น่า จะถือว่าเป็นไปโดยปาฏิหาริย์ หรือความศักดิ์สิทธิ์อย่างเดียว อุบัติเหตุหลายครั้งแม้ไม่มีของศักดิ์สิทธิ์ติดตัวก็เคยมีผู้รอดปลอดภัย อย่างเหลือเช
    ื่อมาแล้ว ผู้เชื่อในวิทยาศาสตร์จึงไม่ยอมรับ และผู้เชื่อในไสยศาสตร์หรือศาสตร์แห่งอภินิหารก็ไม่อาจกล่าวได้เต็มปาก เนื่องจากว่าวิทยาศาสตร์จะเถียงเอา

    แต่สิ่งที่วิทยาศาสตร์งุนงงถกเถียงไม่ได้ก็มีอยู่

    คุณ เกียรติเล่าว่า วัตถุมงคลของหลวงพ่อมุมนั้นมีข้อห้ามอยู่ 2 ประการคือ 1. ห้ามลอดไม้ค้ำต้นกล้วย 2. ห้ามกอบน้ำจากห้วยหนองบึง หรือปลักควายมาดื่มกินด้วยฝ่ามือทั้งสอง ถ้าฝ่าฝืนข้อห้ามแล้วจะเกิดอะไรขึ้นคุณเกียรติไม่รู้เหมือนกัน

    วัน หนึ่งไปเที่ยวสระบุรีได้ลงเล่นน้ำในหนองแห่งหนึ่ง เล่นเพลินจนลืมข้อห้ามนี้ ได้กอบน้ำในหนองที่ตนเองลงว่ายเล่นใส่ปาก เมื่อขึ้นบนฝั่งปรากฏว่าพระเครื่องของหลวงพ่อมุมหลายองค์หลุดหายหมด เหลือแต่สร้อยคอเปล่าๆ พระหลุดไปทุกองค์ได้อย่างไรไม่รู้

    เหรียญรุ่นแรกที่ได้จากเพื่อนเด็กหน้าสนามมวยก็หายไปด้วยในคราวนี้ เดือดร้อนต้องหาใหม่มาแทนของที่หายไป

    เกียรติคุณ ของหลวงพ่อมุม ของชาวศรีสะเกษ ไม่ได้อยู่ที่ความขลังในวัตถุมงคลอย่างเดียว ทุกคนที่ศรัทธาในองค์ท่านล้วนเชื่อว่าท่านคืออริยสงฆ์องค์หนึ่ง วัตรปฏิบัติของท่านไม่ได้ดุเดือดเลือดพล่านเหมือนของขลังของท่านที่โลดทะยาน ไปบนถนนข
    องมีดและปืน ซึ่งคนทั่วไปให้ความเชื่อมั่นว่าถ้าหากจะต้องเสี่ยงภัยจากอาวุธยุทโธปกรณ์ แล้ว มีหลวงพ่อมุมติดตัวเป็นอุ่นใจได้ องค์ท่านเป็นพระที่อยู่อย่างเรียบง่าย มีเมตตาต่อคนทั้งหลายเสมอกัน ไม่โอ้อวดแสดงฤทธิ์ เยือกเย็น ใจดี และหมดโกรธ

    เซียนน้อย สำราญ นักสะสมพระเครื่องชื่อเด่นในศรีสะเกษ ได้เล่าว่า เพื่อนของเขาคนหนึ่งเดินทางไปหาหลวงพ่อมุม สมัยที่ถนนเปื้อนโคลน ไปด้วยรถจักรยาน เขาไปกับเพื่อนอีกคนซึ่งมีศักดิ์เป็นหลานหลวงพ่อมุม ไปเพื่อจะขอท่านทำตะกรุดให้ ถนนที่มุ่งไปสู่วัดแฉะลื่นจนไม่สามารถจะขี่จักรยานได้ถึงขั้นต้องช่วยกันแบก จักรยานเ
    ดินไป

    ถึงวัดแล้วก็พบว่าหลวงพ่อมุมนั่งรออยู่กับโยมคนหนึ่ง ท่านทำตะกรุดให้เดี๋ยวนั้น ทำเสร็จแล้วส่งมอบให้และบอกว่าให้เอาไปลองดู

    เท่ากับเป็นการแสดงความเชื่อมั่นในตะกรุดของท่านเอง

    โยม ที่นั่งอยู่กับหลวงพ่อมุมได้บอกว่า จริงๆแล้วหลวงพ่อมีนิมนต์จะไปงานบุญอะไรสักอย่าง แต่ท่านบอกให้รอก่อน มีแขกมาหาสองคน สงสารเขา อุตส่าห์มาลำบาก ก็ปรากฏว่าคนทั้งสองแบกจักรยานมาอย่างลำบากจริง ๆ

    นี่ก็ถือเป็นญาณหยั่งรู้ของพระอริยเจ้าได้เช่นกัน

    พูด ถึงการลองของหรือลองวัตถุมงคลของครูบาอาจารย์ต่างๆ เท่าที่ทราบมักไม่ค่อยมีใครยินดีให้ลอง ท่านว่าเป็นการประมาทในครูบาอาจารย์ เว้นตู้ไม่ศรัทธา มีความรู้สึกหมิ่นแคลน ไม่เชื่อถืออยู่ในใจ ท่านอาจทราบโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ท่านก็มักจะอนุญาตให้ลองได้ บางทีเพื่อนเซียนน้อยอาจรู้สึกอย่างนั้นในใจก็ได้

    มีเรื่องหนึ่ง ซึ่งทุกคนทราบดีว่า ถ้าใครไปเจิมรถกับท่านแล้ว รถมักจะต้องมีอุบัติเหตุเสียก่อน คือพอท่านเจิมเสร็จเป็นอันว่าไม่ช้านานรถจะต้องชน หรือพลิกคว่ำสักครั้งหนึ่ง หลังจากนั้นรถจะปลอดภัยจากอุบัติเหตุ มีรถใหม่ๆหลายคันต้องพลิกคว่ำเสียเงินซ่อมไปมากมาย แม้ว่าคนรถจะปลอดภัยก็ตาม

    รู้จึกมักแนะนำกันว่า ถ้าหากหลวงพ่อ มุมเจิมรถให้แล้ว เวลาออกจากวัดให้หาต้นกล้วยสักคันหนึ่งแล้วขับรถที่เพิ่งเจิมเข้าชนเป็นการ แก้เคล็ด นับว่าเป็นวิธีการที่แยบคายดี

    หลวงพ่อมุมเป็นพระที่มี อภินิหารมาก ลูกศิษย์ของท่านมักกลายเป็นผู้ประกาศเกียรติคุณของท่านโดยไม่รู้ตัว คือไปเกิดเรื่อง ไปประสบภัยแล้วปลอดภัย ทำให้ชื่อเสียงของท่านขจรไกลยิ่งขึ้น

    อาจารย์เบิ้ม หรืออาจารย์สุวัฒน์ พบร่มเย็น ได้เล่าถึงสมัยที่ตัวท่านเองเป็นทหารอาสา รบที่ประเทศลาว สมัยลาวยังไม่แตก ท่านเล่าว่ามีเพื่อนทหารร่วมกองร้อยคนหนึ่ง สังเกตดูแล้วเห็นว่ามีลักษณะพิเศษกว่าคนอื่นๆ ผิวกายของเขาดำเป็นเงา ทำให้เชื่อว่าเขาต้องมีอะไรดีอยู่ในตัว ครั้นคุ้นเคยกันแล้วจึงทราบว่าเขาเป็นลูกศิษย์หลวงพ่อมุม พกเหรียญเล็ก ๆ ในคอ 1 เหรียญ คาดตะกรุดโทนที่เอว 1 ดอก และก่อนมาออกสนามรบที่นี่ หลวงพ่อมุมได้อาบน้ำว่านให้ 7 วัน

    ครั้งหนึ่งเกิดการปะทะกัน เขาลุกขึ้นจากเบิมยิงใส่พวกญวนที่กำลังตีโอบเข้ามา อาจารย์เบิ้มเห็นกับตาว่า มีลูกอาร์พีจีพุ่งเข้าชนกลางลำตัวของเขาถึงกับล้มลง ในใจคิดว่าไม่รอด เพราะว่าเสียงระเบิดของลูกอาร์พีจีนั้นบอกให้รู้ว่าอย่างน้อย ๆ เขาต้องขาดเป็นสองท่อน อย่างมากๆก็หาซากไม่เจอ

    แต่ครู่เดียวเขากลับ ลุกขึ้นมาได้และยิงใส่พวกญวน ศึกสงบ และเมื่อสิ้นเสียงปืนแล้วเขาถูกหามเข้าโรงพยาบาล เพราะว่ามีเลือดออกทางหูและจมูก แต่ตลอดตัวเขาไม่มีริ้วรอยบาดเจ็บอะไรเลย พอออกจากโรงพยาบาลแล้วก็กลับเข้ามารบอีก

    อาจารย์เบิ้มเล่าว่า ทหารรับจ้างทุกคนมักมีของดีและมักมีอาจารย์ของตนทั้งนั้น และได้เห็นความขลังของแต่ละคนว่ามีอยู่ระดับไหน บางคนไม่เป็นอะไรเลย บางคนรอดตายแต่พิการ ส่วนอาจารย์เบิ้มเองมีลูกสะกดปรอทของอาจารย์รอด ซึ่งเป็นศิษย์ของหลวงปู่ศุข วัดมะขามเฒ่า คาดเอว 4 ลูก และมีของดีของหลวงปู่โต๊ะเต็มตัว ท่านก็ปลอดภัยแคล้วคาดเป็นอันดีตลอดมา

    อาจารย์เบิ้มได้บอกว่าเห็นลูกศิษย์หลวงพ่อมุมคนนั้นแล้วทำให้เชื่อถือในหลวงพ่อมุมเป
    ็นอย่างยิ่ง ท่านจึงสามารถจำชื่อหลวงพ่อมุมได้แม่นจนทุกวันนี้


    เซียนน้อยได้บอกว่า คุณชลอ อินทรนัฏ อยู่บริษัทปูนซีเมนต์ไทย จำกัด ได้เล่าเรื่องต่อไปนี้ให้ฟัง ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่น่าสนใจมาก

    มี นายตำรวจยศพันตำรวจโทท่านหนึ่ง (ขอสวนนาม) สมัยที่ยังประจำการอยู่ที่อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม ได้จับตัวคนอันตรายคนหนึ่งซึ่งจะกล่าวให้ชัดเจนในที่นี้ไม่ได้ เอาเป็นว่าคนๆนี้จะต้องตายเท่านั้นจึงสมควร

    พ.ต.ท.ท่านนั้นได้ชัก ปืนออกยิงใส่ศีรษะของชายคนนั้นถึง 3 นัด แต่กระสุนด้านหมด จึงฉุกใจคิดได้ว่า คนๆนี้ต้องมีอะไรดี และได้รุกเร้าถามว่ามีอะไรดีในตัว เพราะว่าค้นตลอดตัวแล้วไม่พบว่ามีพระเครื่องหรือวัตถุมงคลสักชิ้นเดียว คน ๆ นั้นไม่ยอมบอก คงนิ่งเงียบไม่พูดอะไร

    “ถ้ารับว่ามีของดีในตัวและเอาออกมาให้ดูจะปล่อยไป” นายพันตำรวจโทบอกและย้ำอีกว่า “รับรองไม่ฆ่า ให้เอาออกมาให้ดูเท่านั้น”

    คนๆนั้นจึงคายพระเครื่ององค์เล็กๆออกมาจากในปาก

    เป็นเหรียญหลวงพ่อมุม ไม่ทราบรุ่นไหน (เขาว่าเป็นรุ่น 1)

    นายพันตำรวจโทรับเหรียญมาดูแล้วเกิดใจอ่อนยวบ ทั้งๆที่ปากว่าจะปล่อยแต่ใจไม่คิดปล่อย ในตอนแรกก็คิดปล่อยตัวคนๆนั้นจริง ๆ

    คนๆ นั้นเมื่อถูกปล่อยตัวแล้ว ได้หลบหนีออกไปจากพื้นที่จังหวัดนครพนมไปอยู่ที่เพชรบูรณ์ และกลับเนื้อกลับตัวทำมาหากินเป็นชาวไร่มะขามหวาน กระทั่งปัจจุบันนี้มีฐานะมั่นคงดี และทุกๆปีจะส่งมะขามหวานมาเป็นของฝากแก่นายพันตำรวจโทท่านนั้นโดยสม่ำเสมอ นับว่าสำนึกในบุญคุณที่ปล่อยตัวเขา

    นายพันตำรวจโทท่านนั้นทุกวันนี้สะสมแต่หลวงพ่อมุมจนลืมบ้าน มีศรัทธาในหลวงพ่อมุมเกินกว่าครูบาอาจารย์อื่นๆ เพราะว่าได้ประสบกับตนเอง

    อีกราย หนึ่ง ถ้าหากไปสอบถามชาวเมืองศรีสะเกษที่ศรัทธาหลวงพ่อมุม จะทราบตัวเจ้าของเรื่องทันที แต่เมื่อจะบันทึกลงหนังสือพิมพ์อย่างนี้ คงต้องงดออกชื่อและฐานะของเขา

    เรื่องมีอยู่ว่าเขาจะต้องเก็บนักเลง หัวไม้หรืออันธพาลคนหนี่ง ก็สุดจะเรียกไป คนที่ต้องถูกเก็บนั่งกินก๋วยเตี๋ยวอยู่ในร้านก๋วยเตี๋ยวแห่งหนึ่ง ขณะนั้นเป็นเวลากลางคืนมีไฟส่องสว่างพอเห็นตัวเขาได้ชัด

    เรียกว่าเป็นเป้าบินได้สบาย ๆ

    ผู้ลงมือเก็บได้ขับรถเข้ามาจอดตรงหน้าร้าน และเปิดกระจกรถลง แย่งปืนคาร์บินออกมาเล็งใส่ในระยะหวังผลที่หมดโอกาสพลาด

    ปรากฏ ว่าเขาเหนี่ยวไกไปแล้วสองสามนัด กระสุนไม่ถูกเป้า คนถูกเก็บก็ไม่รู้ตัวว่าถูกยิง ต่างได้ยินเสียงระเบิดของปืน และคงคิดว่าเป็นเสียงปะทัด ทุกอย่างจึงเป็นปกติไม่มีอะไรแตกตื่นกัน

    ผู้ ยิงได้ส่งลูกน้องลงไปสอบถามกับเจ้าตัวว่ามีอะไรดี เขาไม่บอก แต่ก็สามารถเห็นได้ว่ามีเหรียญหลวงพ่อมุมแขวนอยู่ใต้คอ คนที่จะถูกเก็บพอถูกถามก็เริ่มรู้ตัว รีบลุกขึ้นแล้วเดินหนีไปอย่างรวดเร็ว

    ประสบการณ์ ทางป้องกันตัว หรือช่วยเหลือผู้คนอย่างนี้มีมากมายเหลือจะบันทึกได้หมด คนศรีสะเกษเล่าสู่กันปากต่อปาก จนบางเรื่องเลือนรางไป ไม่อาจทราบชัดว่าเรื่องเหล่านั้นเกิดกับใคร คนไหน อย่างแท้จริง ถ้าเก็บมาเล่าต่อก็ซ้ำๆกัน และยากจะแยกแยะออก เป็นเฉพาะเหตุการณ์ของใครต่อใครได้ แต่เมื่อรวมความแล้วล้วนแต่เกิดขึ้นด้วยอภินิหารหรืออะไรก็สุดแต่จะเรียกของ หลวงพ่อม
    ุม

    และเป็นเรื่องแปลกประหลาดอย่างยิ่งที่ครูบาอาจารย์อย่างหลวงพ่อมุมที่คนทั้งบ้านทั้ง
    เมือง รู้จักและศรัทธาเต็มหัวใจกลับหาตัวผู้ทราบประวัติองท่านได้อย่างลึกซึ้งไม่ มี ท่านจึงเป็นครูบาอาจารย์ที่มีความเป็นมาของท่านมัวซัวเหมือนมีหมอกขึงม่าน กั้นไว้ ไม่อาจมองเห็นหรือทราบชัด

    หลายคนไม่เชื่อว่าท่านเป็นชาว บ้านปราสาทเยอร์ แต่ในประวัติที่มีผู้ได้บันทึกไว้บอกว่าท่านเกิดที่บ้านปราสาทเยอร์ ข้อขัดแย้งนี้มีน้ำหนักมากพอๆกัน

    เหตุผลของฝ่ายที่ไม่เชื่อว่าท่าน เป็นชาวบ้านปราสาทเยอร์ คือท่านเป็นคนผิวขาวเกินไป ผิดวิสัยของชาวปราสาทเยอร์ที่ผิวคล้ำดำ เพราะว่าโดยมากถือเชื้อสายค่อนไปทางเขมร แต่หลวงพ่อมุมต่างเขาอื่นอยู่คนเดียว ถ้าหากว่าท่านเกิดที่บ้านปราสาทเยอร์จริง บิดามารดาของท่านก็คงจรมาจากที่อื่นเป็นคนต่างถิ่น ไม่ใช่คนบ้านปราสาทเยอร์ เหตุผลนี้น่าฟังอยู่เหมือนกัน

    ในประวัติที่ทางวัดบันทึกไว้อย่างสั้นที่สุดน้อยที่สุดก็ไม่บอกว่าท่านเป็นใคร มาจากไหน บิดา มารดาเป็นใคร

    เหลือเชื่อที่ไม่มีใครบันทึกไว้เลย

    ถามไถ่ท่านเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบันที่เคยอยู่ร่วมกัน หลวงพ่อมุมสมัยที่องค์ท่านยังมีชีวิตอยู่ ก็ยังไม่อาจบอกได้

    ประวัติ หลวงพ่อมุมที่ทางวัดบันทึกไว้ คงเริ่มบันทึกแต่สมัยที่ท่านมาอยู่วัดบ้านปราสาทเยอร์เป็นต้นมา ก่อนหน้านั้นไม่มีการบันทึก ไม่มีประวัติหรือรายละเอียดใด ๆ ของหลวงพ่อมุมแม้แต่น้อย

    คงกล่าวแต่เพียงว่าท่านมาอยุ่ที่วัดปราสาทเยอร์แล้วได้ดำรงตำแหน่งเป็นครูใหญ่คนแรกข
    องโรงเรียน บ้านประอาง เมื่อ พ.ศ. 2459-2474 เป็นเวลา 15 ปี นี่คือส่วนที่ลึกที่สุดของประวัติท่าน ต่อจากนั้นก็เริ่มบันทึกเรื่องราวของท่านตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 เรื่อยมาจนมรณภาพ

    การจะเขียนถึงประวัติของท่านจึงเป็นเหมือนคนตาบอดตาฟางคลำหาเป้าซึ่งข้อผิดพลาดย่อมม
    ีได้ แต่จะลองคลำดู ผิดหรือถูกก็ทิ้งไว้เป็นภาระของผู้รู้ตามแก้ไขภายหลังก็แล้วกัน


    ชาติ กำเนิดของหลวงพ่อมุม อินฺทปัญโญ ดูจะสับสนอยู่ไม่น้อย ไม่มีใครยืนยันชัดเจนว่าท่านเป็นชาวบ้านปราสาทเยอร์จริงหรือไม่ ผู้เชื่อว่าท่านเป็นชาวบ้านปราสาทเยอร์ก็มี ไม่เชื่อก็มี พื้นเพดั้งเดิมของท่านจึงคลุมเครือ ไม่อาจลงเป็นหลักได้

    กระทั่งวัน เดือนปีเกิดก็หาผู้บันทึกไว้อย่างแน่ชัดไม่ได้ แต่ก็มีผุ้ระบุว่าท่านเกิดวันที่ 30 พฤศจิกายน 2430 โดยเกิดที่บ้านปราสาทเยอร์นี่เอง เป็นบุตรของนายมากและนางอิ่ม นามสกุล บุญโญ มีพี่น้องร่วมอุทร 5 คน ท่านเป็นคนสุดท้อง

    วัน เดือนปีที่ปรากฏนี้ก็ไม่มีผู้สนับสนุนว่าถูกต้อง แต่ในรูปเหมือนหล่อด้วยโลหะเท่าองค์จริงที่ประดิษฐานอยู่ประจำวัดปราสาท เยอร์ ทุกวันนี้มีจารึกว่าถูกสร้างขึ้นอยู่ด้วยคือ “อายุครบ 90 ปี 4 มี.ค. 2520" บางทีวันที่ 4 มีนาคม จะเป็นวันเกิดของท่านก็ไม่รู้

    ชีวิตวัยเด็กของท่านนั้นหนังสืออนุสรณ์งานศพบันทึกว่า ท่านได้รับการศึกษาอักษรไทยจากเจ้าอธิการปริม จนอ่านออกเขียนได้ และได้ศึกษามูลกัจจายนะสูตรจนสอบได้นักธรรมตรี ในสนามหลวงและได้รับการแต่งตั้งให้เป็นครูใหญ่สอนหนังสือไทยในโรงเรียนวัด บ้านปราสาท
    เยอร์เหนือคนแรก ระหว่าง พ.ศ. 2459-2474 รวมเวลาที่เป็นครูใหญ่ 15 ปี ขณะที่เป็นครูใหญ่นั้นคำนวณอายุจาก พ.ศ. ที่ได้รับแต่งตั้งถอยหลังไปถึงปีเกิดคือ พ.ศ.2430 ท่านมีอายุ 29 ปี

    อีกแห่งหนึ่งบอกว่าท่านเริ่มบวชเป็นสามเณรขณะอายุ 12 ปี ที่วัดปราสาทเยอร์ใต้ กับหลวงพ่อบุญมานี้ ได้รับการยอมรับจากคนทั่วไปว่าท่านเป็นอาจารย์ยองหลวงพ่อมุมจริง เหรียญของท่านก็มีผู้นิยมสะสมไว้เหมือนกัน และที่มีวัดปราสาทเยอร์ได้นั้นก็เพราะว่ามีวัดปราสาทเยอร์เหนือด้วย วัดทั้งเหนือและใต้อยู่คนละฟากกัน ถ้าพูดลอยๆว่าวัดปราสาทเยอร์ ขอให้เข้าใจว่าหมายถึงวัดปราสาทเยอร์เหนือ ที่หลวงพ่อมุมเป็นเจ้าอาวาสจนมรณภาพ

    หลังจากบวชเณรแล้วท่านได้ออก ธุดงค์ไปยังสถานที่ต่างๆ ในการธุดงค์นี้ประวัติทุกแห่งบันทึกไว้ใกล้เคียงกันว่าท่านไปแสวงหาโมกขธรรม หาครูบาอาจารย์ประสิทธิ์ประสาทวิชาอาคมตามประเพณีนิยมของผู้ถือบวชสมัยนั้น ท่านธุดงค์ไปไกลถึงประเทศเขมร พม่า และลาว รวมทั้งมาเลซีย

    ที่ประเทศลาว ท่านได้พบกับสำเร็จลุน แห่งจำปาศักดิ์ ได้ฝากตัวเป็นศิษย์ศึกษาวิทยาคมจนแตกฉาน หลังจากนั้นจึงเดินทางกลับบ้านเกิดและได้พำนักอยู่วัดปราสาทเยอร์ได้ก่อน แต่ขณะนั้นวัดปราสาทเยอร์เหนือไม่มีเจ้าอาวาส ร้างผู้ครองวัดนาน 5 ปี ชาวบ้านจึงพร้อมใจกันนิมนต์ท่านมาอยู่ครองวัดปราสาทเยอร์เหนือ ท่านก็รับและได้ครองวัดปราสาทเยอร์เหนือเรื่อยมาจนมรณภาพ

    เริ่มครอง วัดปราสาทเยอร์เหนือเมื่อปี 2464 หลังจากที่ได้เป็นครูใหญ่โรงเรียนวัดปราสาทเยอร์มาก่อน 5 ปี ระหว่าง 5 ปี ที่ทำหน้าที่สอนหนังสือเด็กนักเรียนนั้น ชาวบ้านคงได้สังเกตเห็นจริยาวัตรและปฏิปทาของท่านจนแน่ใจและมั่นศรัทธาแล้ว ถึงได้นิม
    นต์ท่านมาครองวัดปราสาทเยอร์เหนือ เพราะว่าวัดนี้ได้ร้างเจ้าอาวสตั้งแต่ปีแรกที่ท่านกลับ้านเกิด คือปี 2459 แต่ชาวบ้านก็ปล่อยวัดร้างเรื่อยมา จนในที่สุดได้ตัดสินใจอาราธนาท่านดังกล่าว

    หลวงพ่อมุมได้รับสมณศักดิ์เป็นพระครูชั้นสัญญาบัตรในวันที่ 5 ธันวาคม 2499 คือเป็นเจ้าคณะตำบลชั้นตรีในราชทินนาม พระครูประสาธน์ขันธคุณ และได้รับเลื่อนชั้นเป็นพระสังฆาธิการ พระครูสัญญาบัตรชั้นโท ในนามเดิมเมื่อปี 2510

    เกียรติประวัติของหลวงพ่อมุม ที่ควรกล่าวถึงคือ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2514 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐินต้น เป็นการส่วนพระองค์ ณ วัดปราสาทเยอร์เหนือ ถือเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของจังหวัดศรีสะเกษที่พระเจ้าอยู่หัวพระราช ทานกฐินต้
    นในจังหวัดศรีสะเกษเป็นครั้งแรก และวัดปราสาทเยอร์ก็เป็นวัดแรกด้วย

    เกียรติคุณ ของหลวงพ่อมุมนั้นมีมากมาย ทั้งในด้านการปกครองและพัฒนาพระศาสนา ซึ่งคงไม่ต้องกล่าวถึงในที่นี้ และเกียรติคุณด้านอาคมขลัง ซึ่งเป็นที่ยอมรับนับถือของคนทั้งจังหวัดศรีสะเกษและคนถิ่นอื่นทั่วไป

    ประสบการณ์ ด้านวัตถุมงคลของหลวงพ่อมุมไม่อาจกล่าวถึงได้ไหว เพราะว่ามีมากมายหลายเรื่อง เล่าสู่กันฟังซ้ำแล้วซ้ำอีกไม่รู้เบื่อ ทุกวันนี้ท่านเป็นยอดนิยมอันดับหนึ่งในจังหวัดศรีสะเกษที่ยังไม่ถูกครูบา อาจารย์อื่น
    ใดมาช่วงชิงตำแหน่งได้

    อภินิหารของท่านมีอยู่หลายเรื่อง คนศรีสะเกษซาบซึ้งตรึงใจมากที่สุด แม้กระทั่งวันที่ท่านมรณภาพก็ได้เกิดปรากฏการณ์พิเศษที่ควรบันทึกไว้

    คุณเกียรติ สำราญ ได้เล่าว่า เมื่อปี 2522 เขาได้บวชเป็นพระอยู่ที่วัดเจียงอี วันหนึ่งทราบข่าวว่าหลวงพ่อมุมอาพาธ เข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลศรีสะเกษ จึงไปกราบนมัสการเยี่ยมท่าน ขณะที่ไปถึงนั้นได้เห็นสภาพของหลวงพ่อมุมแล้วสลดใจมาก ท่านนอนนิ่งเงียบ หลับตาหายใจระรวย มีสายยางโยงทั่วไป ผอมหนังหุ้มกระดูก คุณเกียรติเข้าไปกราบท่านแล้วกระซิบที่ข้างหูว่า ตนเองมากราบเยี่ยมโดยไม่คิดว่าท่านจะทราบหรือไม่

    ปรากฏว่าท่านกระดิกฝ่ามือทำนองโบกมือกวักขึ้นลง แสดงอาการตอบรับว่าทราบแล้วนอนนิ่งเงียบอยู่อย่างเดิม

    คุณ เกียรติบอกว่าได้ถอยออกมาจากเตียงที่ท่านนอน แล้วลงนั่งพิจารณาท่านอยู่เป็นเวลานาน รู้สึกสลดสังเวชและสงสารท่านเป็นกำลัง นั่งพิจารณาไปจนกระทั่งเกิดง่วง จึงลุกขึ้นไปกราบลาท่าน และกระซิบที่ข้างหูเหมือนดิม ว่ากระผมจะกราบลาแล้ว ท่านก็กวักมือโบกขึ้นลงรับทราบแล้วนิ่งเงียบไม่ลืมตาเหมือนเดิม

    คุณ เกียรติบอกว่า แม้ท่านจะมีทุกขเวทนาแสนสาหัส แต่จิตของท่านแน่วแน่มั่นคง ไม่ได้มีอาการหวั่นไหวในอาพาธ ท่านรับรู้ทุกอย่างไม่ว่าใครจะทำอะไร พูดอะไร เป็นแต่ท่านควบคุมบังคับกายสังขารของท่านไม่ได้ เพราะว่ามันอ่อนแอแล้ว

    วันรุ่งขึ้นตอนเช้ามืด คุณเกียรติเตรียมตัวจะออกบิณฑบาต ขณะนั้นเกิดเหตุไม่คาดฝัน คือมีพายุพัดกระหน่ำใส่วัด จนกระทั่งมะพร้าวหล่นตูมตาม พัดรุนแรงจนหน้าต่างกุฏิเปิดเปิงและพายุนั้นก็ทราบภายหลังว่าพัดแต่ในวัด เจียงอีเท่า
    นั้น

    พอพายุสงบก็มีโทรศัพท์มาถึงวัดแจ้งข่าวว่าหลวงพ่อมุมมรณภาพแล้ว

    มี รายละเอียดทางแพทย์บันทึกไว้ว่าท่านสิ้นลมเมื่อเวลา 05.20 น. ของเช้าวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2522 ณ โรงพยาบาลศรีสะเกษ ศพของท่านตั้งบำเพ็ญกุศล 100 วัน จึงพระราชทานเพลิงศพในวันที่ 28-29 มีนาคม 2524 คือเสร็จจาก 100 วันแล้วได้เก็บศพของท่านต่อมาอีกนับปี

    เกี่ยว กับปรากกฏการณ์พิเศษในเช้ามืดของวันที่ท่านมรณภาพ ที่คุณเกียรติได้ประสบในรูปของพายุนั้น ใช่แต่คุณเกียรติคนเดียวจะได้พบ แต่ลูกศิษย์ใกล้ชิดของหลวงพ่อมุมในท้องที่ต่าง ๆ กันก็ประสบเหมือนกัน แต่ละแห่งที่เกิดพายุในเวลาเดียวกันคือตอนเช้ามืดนั้น อยู่ไกลกันข้ามจังหวัดก็มี

    “วันที่ 9 กันยายน 2522 เวลาประมาณ 06.00 น. หลังจากที่ข้าพเจ้าได้ตื่นนอนเล็กน้อยที่บ้านพักอุบลฯ ได้มีลมฝนโหมกระหน่ำพัดบ้านข้าพเจ้าอย่างรุนแรง ซึ่งบรรยากาศไม่น่าจะมีลมฝนมาก่อน เดชะบุญ หน้าบ้านและหลังบ้านข้าพเจ้า มีต้นมะม่วงบังเอาไว้ มิฉะนั้นบ้านคงหักพังลงอย่างแน่นอน ลมฝนกระหน่ำอยู่ประมาณ 20 นาทีก็หายไป เสมือนหนึ่งไม่มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นเลย สิ่งที่น่าแปลกใจมากที่สุดคือบ้านที่อยู่บริเวณใกล้เคียง ไม่มีลมพัดเลย ซึ่งทำให้ข้าพเจ้าสังหรณ์ใจอยากจะรีบกลับอำเภออยู่ตลอดเวลา ตอนเย็นข้าพเจ้าได้เดินทางกลับ และได้แวะที่จวนผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ จึงได้ทราบว่าหลวงพ่อได้มรณภาพเสียแล้ว ปรากฏกากรณ์เช่นนี้มีอยู่หลายแห่ง แต่มิได้เกิดขึ้นทั่ว ๆไป นี้แสดงให้เห็นว่าหลวงพ่อเป็นผู้มีบุญบารมีสูง ย่อมแสดงปาฏิหาริย์ให้ศิษยานุศิษย์และผู้เคารพนับถือรู้ว่าในขณะนี้ได้มีการ เปลี่ยนแ
    ปลงเกิดขึ้นแล้ว”

    อีกท่านหนึ่งได้บันทึกคำอาลัยไว้เหมือนกัน ท่านผู้นี้คือ นายอภิวัฒน์ วงศ์สวัสดิ์ ครูใหญ่โรงเรียนบ้านปราสาทเยอร์

    “วัน ที่ 8 กันยายน 2522 ก่อนวันมรณภาพของท่าน ข้าพเจ้าได้ไปกราบคารวะ และเยี่ยมอาการอาพาธของหลวงปู่ที่โรงพยาบาลศรีสะเกษ ท่านอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถได้ยินฟังอะไรแล้ว เหลือเพียงลมหายใจถี่บ้างห่างบ้าง อาการอาพาธของหลวงปู่คงไม่มีโอกาสอยู่กับพวกเราแน่นอน

    จากนั้น ข้าพเจ้าได้เลยไปทำธุรกิจต่อในวันเดียวกันที่จังหวัดสุรินทร์ และพักค้างคืนที่จังหวัดสุรินทร์ในวันนั้นตอนเช้าอากาศแจ่มใส แต่ได้เกิดพายุพัดมาอย่างรุนแรงเหมือนปาฏิหาริย์ทำให้ประตูหน้าต่างที่เปิด ไว้ปิดมาเ
    องเพราะแรงลม สักครู่ก็หายไป ข้าพเจ้าระลึกได้ว่าหลวงปู่คงมรณภาพแน่ รีบเดินทางกลับศรีสะเกษ และทุกอย่างก็เป็นความจริง”

    เท่าที่ทราบ พายุตอนเช้ามืดได้เกิดขึ้นแก่ลูกศิษย์ของหลวงพ่อหลายคน หลายสถานที่ต่าง ๆกัน นับว่าเป็นเรื่องประหลาดอย่างยิ่ง

    เป็นการอธิษฐานฤทธิ์ครั้งสุดท้ายที่ท่านฝากไว้กับมวลศิษย์เป็นการสั่งลาก็อาจกล่าวได


    หรือจะเป็นโดยเหตุบังเอิญ ที่บังเอิญพร้อม ๆ กันหลายคนหลายแห่ง

    ปัจจุบันนี้ วัตถุมงคลของหลวงพ่อมุมได้รับความนิยมเป็นอันมากในจังหวัดศรีสะเกษ ยังไม่มีใครมาลบความนิยมนี้ลงได้ เหรียญรุ่นแรกที่สร้างเมื่อปี 2507-08 นั้นมีราคาแพงที่สุด ซื้อขายกันหลายพัน สภาพไม่ค่อยสวยก็สามหรือสี่พัน ถ้าสวย ๆ ไม่ต้องพูดถึง

    ที่นิยมรองลงมาได้แก่ พระกริ่ง ศก. ซื้อขายกันในราคาใกล้เคียงเหรียญรุ่นแรก ทราบว่ามีสองเนื้อคือ เนื้อทองเหลือง หรือบางคนเรียกว่าทองฝาบาตรกับเนื้อทองแดง ค่านิยมพอ ๆกัน แต่เนื้อทองเหลืองมีภาษีดีกว่า

    แหวนรุ่นแรกของ ท่านก็ขึ้นชื่อไม่น้อย แต่ความนิยมไม่อยู่ที่แหวน ภปร. ซึ่งสร้างรุ่นหลัง นั่นเห็นจะเป็นเพราะว่าแหวนรุ่นหลังนี้สร้างด้วยเนื้อที่ดีกว่า มีทั้งเนื้อเงิน และทองคำ ส่วนรุ่นแรกได้ยินว่ามีแต่เพียงเนื้ออัลปาก้าและทองแดงเท่านั้น
    วัตถุมงคลของหลวงพ่อมุมมีมากมายหลายรุ่น ถ้าไม่เลือกจะถือของท่านเพื่ออวดกันแล้ว รุ่นไหนก็ดีเท่ากัน ขอเพียงให้เป็นของ ๆ ท่านเป็นพอ
    ชื่อว่าหลวงพ่อมุมแล้วนอนใจได้...



    ข้อมูลจากนิตยสารศักดิ์สิทธิ์ ฉบับที่ 248-249 ปีพ.ศ.2536
    [FONT=Arial,MS Sans Serif]http://www.suankhlang.com/ipb//index.php?showtopic=201[/FONT]
    [FONT=Arial,MS Sans Serif][/FONT]
     
  9. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,096
    มาดูพระเครื่องของท่านบางส่วนครับ

    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"><tbody><tr><td width="300">

    [​IMG] </td> <td class="story02black" valign="top" width="300">
    เหรียญหลวงพ่อมุม รุ่นแรก เนื้ออัลปาก้า สร้างปี 2507 โดยคุณ
    วรวัฒน์ รุ่งแสง ร่วมกับศิษย์ดำเนินการจัดสร้าง ด้านหน้าออกแบบ
    เป็นรูปเหมือนครึ่งองค์ของหลวงพ่อ ข้างบนเหรียญเขียนว่า "วัด
    ปราสาทเยอร์" ในปัจจุบันชื่อวัดเป็นทางการ คือ "วัดปราสาทเยอ
    เหนือ"ข้างล่างมีคำว่า "พระครูประสาธน์ขันธคุณ" ซึ่งเป็นสมณศักดิ์
    หลวงพ่อมุม ด้านหลังของเหรียญเรียบ แต่จะมี รอยจาร ที่เป็น
    เอกลักษณ์พิเศษ พบเห็นที่ไหนก็ทราบได้ทันทีว่าเป็นลายมือของ
    หลวงพ่อ มีด้วยกัน 2 พิมพ์ คือ พิมพ์ ส. ติบขอบ หรือ ส. หางยาว
    โดยสังเกตที่ตัวอักษร "ส" ของคำว่า "วัดปราสาทเยอร์" หาง "ส"
    จะยาวจดขอบ อีกพิมพ์คือ พิมพ์ ส. ไม่ติบขอบ หรือ ส. หางสั้น พบ
    อยู่ 2 บล็อค คือ บล็อคหน้าใหญ่กับหน้าเล็ก โดยสังเกตง่ายๆตรงตัว
    "ส" เช่นกัน แต่หางตัว "ส" จะยาวไม่ถึงขอบ

    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">

    [​IMG] เหรียญหลวงพ่อมุม พิมพ์ ส.หางยาว เนื้ออัลปาก้า
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="400">[​IMG]</td> <td width="200">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="395">[​IMG] เหรียญหลวงพ่อมุม รุ่นแรก พิมพ์ ส.หางสั้น บล็อคหน้าเล็ก หาง "ส" จะยาวไม่จดขอบ
    </td> <td width="10">
    </td> <td width="195">
    [​IMG] เหรียญหลวงพ่อมุม รุ่นแรก พิมพ์ ส.หางสั้น บล็อคหน้าใหญ่

    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td class="story01blue" valign="top" width="295">[​IMG] พระกริ่งหลวงพ่อมุม รุ่น ศ.ก. หรือที่เรียกกันสั้นๆว่า กริ่ง ศ.ก. สร้างปี 2509 มีเนื้อทองแดงกับทองเหลือง
    </td> <td width="10">
    </td> <td class="story01blue" width="295">[​IMG] ใต้ฐานพระกริ่ง ศ.ก.เนื้อเหลือง จะเห็นว่าการอุดกริ่งสนิทเรียบกว่าเนื้อแดง-เนื้อเหลือง(บน) เนื้อแดง(ล่าง)
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td class="story02black" valign="top">






    พระกริ่งต้นแบบ ศ.ก.วัดปราสาทเยอร์ ตัวหนังสือที่ด้านหลังแกะ
    สลักลงไปในเนื้อพระอุดกริ่งใต้ฐานเนื้อทองเหลือง ทางวัดได้ดำเนิน
    การจัดสร้างจำนวนไม่มากนัก เนื่องจากเห็นว่ามีขนาดเล็ก และถ้า
    แกะตัวหนังสือลงในเนื้อพระทีละองค์จะเป็นการเสียเวลามาก จึง
    เปลี่ยนไปจัดสร้างกริ่ง ศ.ก.ที่แกะตัวหนังสือลงในพิมพ์เลย

    ด้านหลังของพระกริ่งต้นแบบ ศ.ก. จะเห็นว่าเป็นการแกะสลักตัว
    หนังสือในเนื้อพระด้วยลายมือที่งดงามมาก

    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">
    [​IMG] พระกริ่งต้นแบบ ศ.ก.
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td class="story02black" valign="top" width="300">








    พระชัยวัฒน์หลวงพ่อมุม แท้จริงแล้วถือเป็นพระกริ่งรุ่น 2 สร้างใน
    ปี 2512 ภายหลังจากที่ออกพระกริ่ง ศ.ก. ได้ 3 ปี ทำด้วยเนื้อทอง
    เหลืองเพียงเนื้อเดียว มีขนาดเล็กกว่าพระกริ่งทั่วๆไป และใหญ่กว่า
    พระชัยวัฒน์ของสำนักอื่นอยู่เล็กน้อย แต่เนื่องจากลักษณะรูปทรงที่
    คล้ายพระชัยวัฒน์ นักสะสมสายหลวงพ่อมุมจึงเรียกว่า "พระ
    ชัยวัฒน์"

    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td>
    </td> <td>
    </td> <td width="300">
    [​IMG] พระชัยวัฒน์หลวงพ่อมุม
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td class="story02black">
    หลวงพ่อมุมพิมพ์คอตึง(ปั้มทองแดง) ลักษณะองค์พระเป็นรูปหลวงพ่อลอยองค์ ลำ คอจะยาวคล้ายๆกับกำลังยืดคอ จึงเรียกชื่อว่า "พิมพ์
    คอตึง" แต่นักสะสมบางท่านเห็นว่า การสร้างพระใช้วิธีการปั้มและทำด้วย เนื้อทองแดง จึงเรียกชื่อพระอย่างง่ายๆว่า "ปั้มทองแดง"
    พระพิมพ์นี้ได้นำไปแจกที่วัดกุดโง้งและวัดบ้านประอาง แต่เป็นคนละพิมพ์ กัน ให้สังเกตที่ใต้ฐาน พิมพ์ที่แจกที่วัดกุดโง้งจะกลึงเป็นรูป
    ก้นหอย(ฐานกลม) ส่วนพิมพ์ที่แจกที่วัดบ้านประอาง ฐานจะตกแต่งจนมีขนาด เท่ากับองค์พระ สำหรับพิมพ์คอตึงที่สร้างด้วยเนื้อทอง
    เหลือง เป็นการสร้างในภายหลังจากที่หลวงพ่อมรณภาพแล้ว และแจกเนื่องในโอกาสทำบุญอายุครบ 100 ปีของหลวงพ่อ

    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="300">
    [​IMG]
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="295">
    [​IMG] หลวงพ่อมุมพิมพ์คอตึง เนื้อทองแดง แจกที่วัดกุดโง้ง
    </td> <td width="10">
    </td> <td width="295">
    [​IMG] หลวงพ่อมุมพิมพ์คอตึง แจกที่วัดบ้านประอาง
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td class="story02black" valign="top">วัดปราสาทเยอเหนือ ได้จัดสร้างรูปหล่อลอยองค์ของหลวงพ่อมุม
    ขนาดบูชาติดตัว ด้วยกัน 4 รุ่น และมีชื่อเรียกกันดังนี้ รุ่นแรก หลัง
    ค่อม องค์อ้วน รุ่นสอง หลังค่อม องค์ผอม รุ่นสาม พิมพ์แขนทะลุ
    และรุ่นสี่ พิมพ์รัดประคด

    รูปหล่อรุ่นแรก สร้างในปี 2509 ลักษณะองค์พระดูแล้วจะอ้วนเล็ก
    น้อย และหลังค่อม จึงเรียกว่า พิมพ์หลังค่อมองค์อ้วน ด้านหลังมี
    ตัวหนังสือว่า "ศ.ก." เป็นตัวหนังสือบุ๋มลงไปในเนื้อพระ ทำด้วยทอง
    เหลือง มีทั้งบรรจุกริ่งและไม่บรรจุกริ่ง

    รูปหล่อรุ่นสอง องค์พระมีลักษณะเช่นเดียวกับรุ่นแรก แต่ลำตัวจะดู
    ผอมกว่าจึงเรียกว่า หลังค่อมพิมพ์ผอม สร้างต่อจากรุ่นแรกประมาณ
    1 ปี ด้านหลังมีตัวหนังสือว่า "ศ.ก." เช่นเดียวกันแต่ตัวหนังสือจะมี
    2 แบบ คือ แบบตัวนูน และแบบตัวอักษรบุ๋มเหมือนรุ่นแรก

    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">
    [​IMG] รูปหล่อรุ่นแรก สร้างในปี 2509
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="295">[​IMG] รูปหล่อรุ่นสอง พิมพ์ตัวหนังสือนูน จะสังเกตเห็นหางตัว "ศ"
    จะกลับข้าง

    </td> <td width="10">
    </td> <td width="295">[​IMG] รุ่นสอง พิมพ์ตัวหนังสือบุ๋ม นอกจากจะสังเกตที่องค์พระจะผอม
    กว่ารุ่นแรกแล้ว ให้ดูที่สังฆาฏิจะเห็นว่ายังอ่อนช้อยสู้รุ่นแรกไม่ได้

    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td class="story02black">รูปหล่อรุ่นสาม ออกในปี 2516 ลักษณะพิเศษของรุ่นนี้ที่สังเกตง่ายๆก็คือ ซอกแขนขวาขององค์พระจะเจาะทะลุออกไป จึงเรียกว่า พิมพ์
    แขนทะลุ หล่อด้วยเนื้อทองเหลือง ส่วนเนื้อตะกั่วชุบทองแดงนั้นยังไม่มีข้อยุติที่แน่ชัดว่าสร้างในโอกาศใด แต่ยืนยันได้ว่าทันหลวงพ่อมุม
    ปลุกเศกอย่างแน่นอน

    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="295">
    [​IMG] รูปหล่อรุ่น 3 พิมพ์แขนทะลุเนื้อทองเหลือง
    </td> <td width="10">
    </td> <td width="295">
    [​IMG] รูปหล่อรุ่น 4 ออกประมาณปี 2517-2518 ต่างจากรุ่น 1-3
    ตรงที่มีสายรัดประคดอย่างชัดเจน หล่อด้วยเนื้อทองเหลือง

    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td class="story02black" valign="top" width="300">









    พระบูชาหลวงพ่อมุม รุ่นแรก ขนาดหน้าตัก 5 นิ้ว ออกในปี 2517
    ลักษณะเป็นปูนผสมผง ใต้ฐานฝังตระกรุดทองแดง 3 ดอก และตอก
    เลขไทยบอกลำดับจำนวนการสร้าง คาดว่าไม่เกิน 300 องค์

    </td> <td width="300">
    [​IMG]
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td>
    </td> <td>
    </td> <td width="300">
    [​IMG] พระบูชารุ่นแรกแห่งวัดปราสาทเยอร์
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td class="story02black">
    พระบูชาหลวงพ่อมุม รุ่นอนุสรณ์อายุครบ 90 ปี มีขนาดหน้าตัก 3 นิ้ว 5 นิ้ว และ 9 นิ้ว หล่อด้วยโลหะทองเหลืองรมดำ มีตัวหนังสือบอก
    วัตถุประสงค์ในการจัดสร้างบริเวณฐาน รวม 3 บรรทัด (ท้องถิ่นเรียก 3 แถว) เฉพาะขนาดหน้าตัก 9 นิ้วบางองค์ตัวหนังสือบริเวณฐานมี
    เพียง 2 บรรทัด (2 แถว) แต่ข้อความเหมือนกันกับ 3 บรรทัด ยังไม่ทราบถึงความแตกต่างของการสร้างที่แน่ๆ

    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td>[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="295">
    [​IMG] พระบูชาหลวงพ่อมุม ขนาด 9 นิ้ว ตัวหนังสือ 2 แถว
    </td> <td width="10">
    </td> <td width="295">
    [​IMG] พระบูชาหลวงพ่อมุม รุ่นอนุสรณ์อายุครบ 90 ปี หน้าตัก 5 นิ้ว
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td class="story02black" valign="top" width="300">







    เหรียญหลวงพ่อมุม รุ่น 2 สร้างประมาณปี 2508 เป็นเหรียญเพียง
    รุ่นเดียวที่ทางวัดให้บูชาโดย ไม่คิดมูลค่าแต่อย่างใด (แจกฟรี)
    ลักษณะเหรียญจะกลม เล็ก มีหูในตัว ด้านหน้าเป็นรูปหลวงพ่อครึ่ง
    องค์ ด้านหลังเรียบ มีทั้งเนื้อทองแดงและอัลปาก้า

    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">
    [​IMG] เหรียญหลวงพ่อมุม รุ่น 2 เนื้อทองแดง
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="295">
    [​IMG] เหรียญรุ่น 3 เป็นรูปไข่ สร้างปี 2509 ท้องถิ่นถือว่าเป็นเหรียญ
    รุ่นที่มีประสบการณ์มากที่สุด มี 2 เนื้อ คือ ทองแดง และ อัลปาก้า

    </td> <td width="10">
    </td> <td width="295">[​IMG] เหรียญหลวงพ่อมุม พิมพ์ใบตำลึง ปี 2517 มีเพียงเนื้อทองแดง</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td>[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td>
    [​IMG] เหรียญหลวงพ่อมุม รุ่น 3 เม็ดแตง และ ใบเสมา
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td>
    <script type="text/javascript"><!-- google_ad_client = "pub-3997257244759694"; //468x60, created 11/22/07 google_ad_slot = "2691599497"; google_ad_width = 468; google_ad_height = 60; //--></script> <script type="text/javascript" src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js"> </script><script>google_protectAndRun("ads_core.google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</script><ins style="border: medium none ; margin: 0pt; padding: 0pt; display: inline-table; height: 60px; position: relative; visibility: visible; width: 468px;"><ins style="border: medium none ; margin: 0pt; padding: 0pt; display: block; height: 60px; position: relative; visibility: visible; width: 468px;"><iframe allowtransparency="true" hspace="0" id="google_ads_frame4" marginheight="0" marginwidth="0" name="google_ads_frame" src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-3997257244759694&dt=1247245545495&lmt=1219814442&prev_slotnames=8153840049%2C2691599497%2C9050079971&output=html&slotname=2691599497&correlator=1247245541493&url=http%3A%2F%2Fwww.mistercleanweb.com%2Fsisaket_station%2Fsisaket-station-pra-01.html&eid=68120021&ref=http%3A%2F%2Fimages.google.co.th%2Fimgres%3Fimgurl%3Dhttp%3A%2F%2Fwww.mistercleanweb.com%2Fsisaket_station%2Floung-por-moom%2Floung-por-moom-02.jpg%26imgrefurl%3Dhttp%3A%2F%2Fwww.mistercleanweb.com%2Fsisaket_station%2Fsisaket-station-pra-01.html%26usg%3D__1U_gGwfQNvAM4mRLolj3VtWo2bo%3D%26h%3D200%26w%3D300%26sz%3D8%26hl%3Dth%26start%3D7%26tbnid%3D99dFdTX8SdLPjM%3A%26tbnh%3D77%26tbnw%3D116%26prev%3D%2Fimages%253Fq%253D%2525E0%2525B9%252580%2525E0%2525B8%2525AB%2525E0%2525B8%2525A3%2525E0%2525B8%2525B5%2525E0%2525B8%2525A2%2525E0%2525B8%25258D%2525E0%2525B8%2525AB%2525E0%2525B8%2525A5%2525E0%2525B8%2525A7%2525E0%2525B8%252587%2525E0%2525B8%25259E%2525E0%2525B9%252588%2525E0%2525B8%2525AD%2525E0%2525B8%2525A1%2525E0%2525B8%2525B8%2525E0%2525B8%2525A1%252B%2525E0%2525B8%2525A7%2525E0%2525B8%2525B1%2525E0%2525B8%252594%2525E0%2525B8%25259B%2525E0%2525B8%2525A3%2525E0%2525B8%2525B2%2525E0%2525B8%2525AA%2525E0%2525B8%2525B2%2525E0%2525B8%252597%2525E0%2525B9%252580%2525E0%2525B8%2525A2%2525E0%2525B8%2525AD%2525E0%2525B8%2525A3%2525E0%2525B9%25258C%252B%2525E0%2525B8%2525A3%2525E0%2525B8%2525B8%2525E0%2525B9%252588%2525E0%2525B8%252599%2525E0%2525B8%2525AB%2525E0%2525B8%252599%2525E0%2525B8%2525B6%2525E0%2525B9%252588%2525E0%2525B8%252587%2526gbv%253D2%2526hl%253Dth%2526client%253Dfirefox-a%2526rls%253Dorg.mozilla%3Aen-US%3Aofficial%2526sa%253DG&frm=0&dff=MS%20Sans%20Serif&dfs=12&adx=723.5&ady=5325&biw=1267&bih=680&ga_vid=416226484.1247245542&ga_sid=1247245542&ga_hid=1617483894&flash=10.0.22&w=468&h=60&u_h=1024&u_w=1280&u_ah=994&u_aw=1280&u_cd=32&u_tz=60&u_his=12&u_java=true&u_nplug=13&u_nmime=60&dtd=28&xpc=yZAzusLpZn&p=http%3A//www.mistercleanweb.com" style="left: 0pt; position: absolute; top: 0pt;" vspace="0" frameborder="0" height="60" scrolling="no" width="468"></iframe></ins></ins>



    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td>
    เหรียญหลวงพ่อมุม รุ่น 3 ขนาดเล็ก หรือเหรียญเม็ดแตง ลักษณะเป็นเหรียญรูปไข่ เนื้อทองแดงกะไหล่ทอง สำหรับแจกสุภาพสตรี และ
    เด็ก ส่วนเนื้อทองคำก็มีเหมือนกัน แต่สร้างพิเศษเพียงไม่กี่องค์เท่านั้น

    เหรียญรูปใบเสมาหรือเหรียญเสมา ออกในปี 2509 เช่นเดียวกับเหรียญเม็ดแตง สร้างด้วยเนื้ออัลปาก้า มี 2 พิมพ์ด้วยกัน คือ พิมพ์ใหญ่
    หลังเรียบ และพิมพ์เล็กหลังตัวหนังสือ

    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td class="story02black" valign="top">















    แหวนรุ่นแรกของหลวงพ่อมุม สร้างในปี 2509 ด้วยเนื้ออัลปาก้า
    หัวแหวนออกแบบเป็นรูปหลวงพ่อมุมครึ่งองค์ ด้านบนจะมีเลข "๑"
    กำกับไว ้ ที่จริงแล้วจำนวนการสร้างคงมากพอสมควร แต่ทว่าได้
    ชำรุดและสูญหายไปไม่น้อย จึงทำให้ในปัจจุบันหาชมที่สวยๆได้ยาก

    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td>
    </td> <td>
    </td> <td width="300">
    [​IMG] แหวนรุ่นแรก หลวงพ่อมุม
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td class="story02black" valign="top">












    แหวนลงยา สร้างต่อจากแหวนรุ่นแรก มีรูปทรงลักษณะเดียวกัน
    แต่ได้นำไปลงยาบริเวณพื้นของหัวแหวน มีสีฟ้า สีแดง และสีดำ
    ส่วนใหญ่แล้วจะทำเป็นวงเล็กๆสำหรับแจกสุภาพสตรีและเด็ก

    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">
    [​IMG] แหวนลงยา หลวงพ่อมุม
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="200">[​IMG]</td> <td width="200">[​IMG]</td> <td width="200">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="195">
    [​IMG] แหวนหลวงพ่อมุม รุ่น 3
    </td> <td width="10">
    </td> <td width="195">[​IMG] แหวนรุ่น 4 ออกประมาณปี 2514 หัว
    แหวน จะมีลายกนกล้อมรอบรูปหลวงพ่อ
    งดงามมาก สร้างด้วยเนื้ออัลปาก้า

    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top">[​IMG] แหวนหน้าทองคำ ออกเนื่องในงานพระ
    ราชทานกฐินส่วนพระองค์
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="200">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="195">
    [​IMG] แหวนหลวงพ่อมุม ศ.ก. ปี 2517
    </td> <td width="10">
    </td> <td width="395">
    [​IMG] แหวนชุดนี้ สร้างในภายหลัง หัวแหวนเป็นรูปหลวงพ่อมุม
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td>
    แหวนคุณพระของหลวงพ่อมุม นอกจากสร้างรุ่นแรกออกมาแล้ว ก็ยังสร้างอีกหลายๆรุ่นในโอกาสต่างๆกัน เนื่องจากลูกศิษย์ และผู้
    เคารพศรัทธาต่อท่านมีความต้องการแหวนของหลวงพ่อเพื่อไปบูชาเป็นศิริมงคล และป้องกันภยันตรายแก่ตนเองเป็นจำนวนมาก อย่างเช่น
    แหวนรุ่น 3 ออกประมาณปี 2512 แหวนรุ่นนี้จะสังเกตเห็นว่า มีเม็ดไข่ปลาล้อมหัวแหวนอยู่

    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="400">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="395">
    [​IMG] แหวนหลวงพ่อมุม ทองคำ รุ่นแรก เนื้อเงิน นาค อัลปาก้า ก็มีเหมือนกัน
    </td> <td width="10">
    </td> <td width="195">[​IMG] แหวนเงิน หัวแหวนทำจากล็อกเก็ตรูป
    ถ่ายของหลวงพ่อ
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="150">[​IMG]</td> <td width="150">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="290">
    [​IMG] ล็อกเก็ตหลวงพ่อมุม
    </td> <td width="10">
    </td> <td width="195">[​IMG] ล็อกเก็ตภาพถ่ายหลวงพ่อมุม เข้าใจ
    ว่าภาพนี้เป็นต้นแบบ ในการสร้างแม่
    พิมพ์ของเหรียญรุ่นนักกล้าม
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="145">
    [​IMG] แหนบรูปพัดยศหลวงพ่อมุม
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="295">
    [​IMG] เหรียญอาร์มหลัง ภ.ป.ร. ออกปี 2515 เนื้อทองคำ
    </td> <td width="10">
    </td> <td>[​IMG] เหรียญนักกล้ามเนื้อเงิน ตอกโค๊ตด้านล่างใต้คำว่า"หลวงพ่อมุม"
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td>
    เหรียญหลวงพ่อมุมที่ออกในปี 2517หรือพิมพ์นักกล้าม เป็นเหรียญที่ออกแบบได้สวยงามและมีประสบการณ์สูง จัดสร้างโดยพระอาจารย์
    ฟื้น ธมมธโร(สุพัฒนิยกุล) ร่วมกับมูลนิธิประสาธน์ขันธคุณ มีด้วยกัน 4 เนื้อ คือ ทองคำ เงิน นวโลหะ และทองแดง เหรียญทองคำสร้าง
    เท่าจำนวนผู้สั่งจอง ปัจจุบันหาชมเหรียญได้ยากมาก เหรียญเงินสร้างจำนวน 1499 เปรียญ นวโลหะ 999 เหรียญ และทองแดง 29009
    เหรียญ รวมกับเหรียญทองแดงกะไหล่ทองอีก 999 เหรียญ หลวงพ่อได้อธิฐานจิตแล้วนำไปให้บูชาที่วัดอินทรวิหาร บางขุนพรหม กทม.
    โดยจะตอกโค๊ตตัว "มะ" กำกับไว้ ส่วนเหรียญที่ไม่ได้ตอกโค๊ตก็มีเหมือนกัน ส่วนใหญ่จะแจกที่วัดปราสาทเยอร์
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="295">[​IMG] เหรียญนักกล้าม นวะ ตอกโค๊ตด้านหลัง บางองค์มีเลข ๙๙๙
    หมายถึงแจกกรรมการ
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="295">
    [​IMG] เหรียญนักกล้าม นวะโลหะ
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="295">
    [​IMG] เหรียญนักกล้ามทองแดง มีโค๊ตด้านขวาขององค์พระ
    </td> <td width="10">
    </td> <td width="295">[​IMG] เหรียญ ปี 2517 ทองแดงกะไหล่ทอง อยู่ในชุดกรรมการ ส่วนที่ ไม่ได้ตอกเลข ๙๙๙ ก็มี เพราะให้ผู้ศรัทธาเช่าโดยตรงด้วย จำนวนการสร้าง 999 องค์ </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="295">
    [​IMG] เหรียญทองแดง ไม่ได้ตอกโค๊ต
    </td> <td width="10">
    </td> <td width="295">
    [​IMG] เหรียญนักกล้ามเนื้อเงิน
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td>
    เหรียญนักกล้ามเนื้อเงินในรูปด้านบนนี้ เป็นพิมพ์ของวัดปราสาทเยอร์ แต่มีโค๊ต ซึ่งพิจารณาดูแล้วเป็นโค๊ตตัว "มะ" คนละตัวกับโค๊ตของ
    วัดอินทรวิหาร สันนิษฐานได้ว่า ทางวัดปราสาทเยอร์จัดทำโค๊ตขึ้นใหม่สำหรับตอกเหรียญเงิน เท่านั้น ซึ่งหายากมาก เหรียญเงิน 100
    เหรียญ จะพบพิมพ์ของวัดปราสาทเยอร์ไม่เกิน 10 เหรียญ


    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="295">[​IMG] พิมพ์หลังเตารีด มีตัวหนังสือ หลวงพ่อมุม วัดปราสาทเยอร์
    ์ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="295">
    [​IMG] พิมพ์หลังเตารีด มีตัวหนังสือ "วัดปราสาทเยอร์"
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td>
    หลวงพ่อมุม พิมพ์หลังเตารีด ออกปี 2514 มีทั้งเนื้อทองคำ เนื้อเงินและทองแดงรมดำ ด้านหน้าเป็นรูปหลวงพ่อนั่งเต็มองค์ ส่วนด้าน
    หลังจะมีอยู่ 2 แบบ คือ มีคำว่า "หลวงพ่อมุม วัดปราสาทเยอร์ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ" กับ "วัดปราสาทเยอร์" เข้าใจว่าแต่เดิมคง
    เป็นแบบแรกทั้งหมด แต่ต่อมาได้ฝนตัวหนังสือที่ไม่ต้องการออก อาจเป็นเพราะมีตัวหนังสือยาวเกินไป จึงกลายเป็นแบบที่สอง
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="295">
    [​IMG] เหรียญหลวงพ่อบุญมา วัดปราสาทเยอร์ใต้
    </td> <td width="10">
    </td> <td width="295">
    [​IMG] เหรียญสองอาจารย์ สร้างประมาณปี 2510
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td>
    เหรียญหลวงพ่อบุญมา แห่งวัดปราสาทเยอร์ใต้ ท่านเป็นอาจารย์ของหลวงพ่อมุม เจ้าอาวาสวัดปราสาทเยอร์เหนือ ด้วยความกตัญญ ูและ
    รู้สำนึกในบุญคุณของพระอาจารย์ จึงได้สร้างเหรียญพระอาจารย์ขึ้น ในปี 2509 เป็นเนื้ออัลปาก้าและทองแดง จำนวนสร้างไม่มากนัก

    เหรียญสองอาจารย์ เป็นเหรียญกลมขนาดเล็ก ด้านหน้าเป็นรูปครึ่งองค์ของหลวงพ่อบุญมาและหลวงพ่อมุม ด้านหลังเรียบ และมีรอยจาร
    อันเป็นเอกลักษณ์เช่นเหรียญอื่นๆ สร้างประมาณปี 2510 ด้วยเนื้อทองแดงและอัลปาก้า
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="295">
    [​IMG] เหรียญนาวิกโยธิน(ป่าป๊ามุม)
    </td> <td width="10">
    </td> <td width="295">
    [​IMG] รุ่นเปิดที่ทำการ สภอ.เมือง ศรีสะเกษ สร้างปี 2515 มีเนื้อเงิน
    และทองแดง
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td>
    ทหารเหล่านาวิกโยธินของสหรัฐอเมริกา มาตั้งฐานปฏิบัติการต่อสู้สงครามเวียตนามที่จังหวัดอุบลราชธานี แล้วมีศรัทธาต่อหลวงพ่อมุม
    เป็นอย่างยิ่ง ด้วยเหตุที่นำปืนไปทดลองยิงกับเหรียญที่หลวงพ่อปลุกเศก ปรากฏว่ากระสุนด้านทุกนัด จึงได้มากราบขอขมาแล้วขออนุญาต
    จัดสร้างเหรียญเพื่อเป็นที่ระลึก ลักษณะเป็นรูปไข่ เนื้อทองแดงรมดำ ตัวหนังสือเป็นภาษาอังกฤษ เหรียญนี้พิสูจน์ได้ว่า ถ้าหลวงพ่อมุมไม่
    เก่งจริง คนต่างชาติต่างภาษาคงไม่มานับถือ และขอสร้างเหรียญเพื่อนำไปบูชาเป็นแน่

    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="295">[​IMG] เหรียญรูปโล่ห์ หลัง ภ.ป.ร. ออกเมื่อ 25 พ.ย.2514 เนื่องในงาน
    พระราชทานกฐินส่วนพระองค์ เป็นเนื้อเงิน คาดว่าสร้างไม่มาก
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="295">[​IMG] เหรียญรูปอาร์มครึ่งองค์หลังช้างสามเศียร ออกที่วัดอินทร
    วิหาร ปี 2517 พร้อมๆกับเหรียญนักกล้าม สร้างด้วยอัลปาก้า
    2000 เหรียญ และทองแดง 8000 เหรียญ
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="295">[​IMG] เหรียญรุ่นพิเศษ ปี 2515 เหรียญกลมเล็กๆ ใช้แม่พิมพ์เหรียญ
    รุ่น 2 มาปั้มเหรียญใหม่ แต่ด้านหลังมีตัวหนังสือ "รุ่นพิเศษ"
    มีเนื้อทองแดงและอัลปาก้า
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="295">[​IMG] เหรียญศาลาการเปรียญหรือเหรียญหน้าบัน ออกเนื่องในโอกาส
    พระราชทานศาลาการเปรียญ ปี 2515 มีเนื้อทองคำ เนื้อเงิน
    และเนื้อทองแดง
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="295">
    [​IMG] หลวงพ่อมุม พิมพ์สมเด็จลายเสือ
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="295">
    [​IMG] หลวงพ่อมุมลายเสือ
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="295">
    [​IMG] หลวงพ่อมุม พิมพ์สมเด็จ ปี 2516
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="295">[​IMG] พระปิดตามหาลาภ ปี 2517 พิธีเดียวกันกับเหรียญนักกล้าม เป็น
    พระเนื้อผง เป็นพระปิดตาเพียงรุ่นเดียวของหลวงพ่อมุม
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td class="story02black" valign="top">




    พระหลวงพ่อมุม พิมพ์รูปเหมือนเนื้อว่าน หรือพิมพ์พระรอด เป็น
    พระเครื่องเพียงรุ่นเดียวที่มีส่วนผสมของว่านเป็นหลัก คล้ายๆกับ
    หลวงปู่ทวด วัดช้างไห้ เข้าพิธีพุทธาภิเศก ปี 2516 พร้อมกับพิมพ์
    สมเด็จ จำนวนการสร้างไม่มากนัก เนื่องจากว่านพุทธคุณ และผงยา
    ที่ใช้เป็นส่วนผสมของเนื้อพระหาได้ยาก แต่ที่พิเศษของรุ่นนี้ คือ
    หลวงพ่อได้เข้ามาดูแลในการสร้างเอง ตั้งแต่ให้จัดหาว่าน และส่วน
    ผสมของเนื้อพระจนถึงตอนการกดพิมพ์พระ
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td>
    </td> <td>
    </td> <td width="300">
    [​IMG] หลวงพ่อมุม พิมพ์รูปเหมือนเนื้อว่าน หรือพิมพ์พระรอด
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td class="story02black" valign="top">








    พิมพ์รูปเหมือนลอยองค์ เนื้อผง จัดสร้างปี 2516 เช่นเดียวกับพิมพ์ สมเด็จและรูปเหมือนเนื้อว่านวรรณออกขาว ขนาดเล็ก นิยมให้สุภาพ
    สตรี และเด็กบูชาติดตัวกัน
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">
    [​IMG] พิมพ์รูปเหมือนลอยองค์ เนื้อผง ปี 2516
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td>[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td>
    [​IMG] หลวงพ่อมุม พระชุดโลหะ
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td>
    พระชุดหลวงพ่อมุม โดยธนาคารกรุงเทพ จำกัด เป็นผู้ขออนุญาตจัดสร้างในปี 2520 มีหลายพิมพ์ หลายเนื้อด้วยกัน ไม่ว่าเป็นพิมพ์ฉล
    ซุ้มกนก หรือพิมพ์ใบบัวซึ่งเป็นสัญญลักษณ์ของธนาคารกรุงเทพ
    ุ </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td class="story02black" valign="top" width="300">







    หลวงพ่อมุม ปี 2534 สร้างหลังจากหลวงพ่อมรณภาพไปแล้ว 12 ปี
    ออกเป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสเปิดที่ทำการอำเภอไพรบึง และได้ขอ
    อนุญาต หลวงปู่เครื่อง สุภทโท เกจิดังของภาคอีสานเป็นผู้อธิฐาน
    จิตให้
    </td> <td>[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td>
    </td> <td>
    </td> <td width="300">
    [​IMG] หลวงพ่อมุม ปี 2534
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="295">[​IMG] พระรูปเหมือนพิมพ์นักกล้ามเนื้อผง สร้างปี 2517 ประมาณ
    5000 องค์
    </td> <td width="10">
    </td> <td valign="top" width="295">
    [​IMG] รุ่นมูลนิธิประสานขันธคุณ ปี2517 ปีเดียวกันกับนักกล้ามเนื้อผง
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="295">
    [​IMG] พิมพ์หลังเตารีดเนื้อผง
    </td> <td width="10">
    </td> <td width="295">[​IMG] พิมพ์นาคปรก หลังหลวงพ่อมุม ออกปี 2520 เป็นพระเนื้อผงอีก
    พิมพ์หนึ่งที่ไม่ค่อยได้พบเห็นกัน
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td valign="top">









    ตะกรุดหลวงพ่อมุม รุ่นแรก (ซ้าย)ปี 2509 เป็นเนื้อตะกั่ว หายากมาก
    และตะกรุดหลวงพ่อมุม ปี 2517(ขวา) แจกเฉพาะกรรมการเท่านั้น
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">
    ตะกรุดหลวงพ่อมุม
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="300">[​IMG]</td> <td>[​IMG][​IMG]</td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="620"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="295">
    งาแกะ รูปนางกวัก เปี่ยมไปด้วยพุทธคุณมหาเสน่ห์
    </td> <td width="10">
    </td> <td align="center" valign="top" width="145">[​IMG] เหรียญ ร.5 เนื้อเงิน ผู้ศรัทธา
    นำไปให้หลวงพ่อลงจารด้านหน้า
    </td> <td align="center" width="10">
    </td> <td align="center" valign="top">[​IMG] เหรียญ ร.9 ครบ 3 รอบ ปี
    2506 นิยมนำไปให้หลวงพ่อ
    จารแล้วบูชาติดตัวกันมาก
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table>

    <table style="font-size: 11pt;" align="center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr align="left"><td>
    </td></tr> <tr height="25"><td width="10">
    </td><td width="10">
    </td></tr> </tbody></table> <center>
    </center>
    <center>
    </center>
    <center>
    </center>
     
  10. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,096
  11. ชิน9

    ชิน9 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +247
    สวัสดีครับทุกท่าน ผมได้โอนเงินบริจาคจำนวน 2,000.-บาท

    11/07/2009 08.02 น.โอนผ่าน TMB internet banking


    ด้วยบุญอุทิศนี้ให้อาม่า,ป๋า,แม่,อาโกว,ชิน9,น้องๆ,หลานๆ,เพื่อนๆ,บริวาร,ผู้มีพระคุณ,ครู,อาจารย์,คนไทยทุกคน,ลูกค้าทุกคน,ผู้เช่าบ้านและร้านของชิน9

    ขอเชิญเพื่อนๆมาร่วมอนุโมทนาบุญด้วยกันนะครับ<!-- google_ad_section_end -->
     
  12. ไชยชุมพล

    ไชยชุมพล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    246
    ค่าพลัง:
    +1,873
    วันที่ 9 ก.ค. ที่ผ่าน เวลาประมาณ 9 โมงเช้า คุณแม่ได้โอนเงินเข้าบัญชีทุนนิธิฯ ประจำเดือนนี้ จำนวน 500 บาทเรียบร้อยแล้วครับ ขออนุโมทนากับทุกท่านด้วยครับ
     
  13. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,096

    ส อ น เ ด็ ก : หลวงพ่อชา สุภัทโท

    [​IMG]
    [ภาพจากภาพยนตร์เรื่อง "The Way Home"]

    ส อ น เ ด็ ก
    พระโพธิญาณเถร (หลวงพ่อชา สุภัทโท)
    วัดหนองป่าพง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี

    ฉะนั้นการปฏิบัตินี้จึงว่านั่ง นั่นแหละปฏิบัตินั่ง
    ดูไปมันมีอารมณ์ดี อารมณ์ชั่ว
    สลับซับซ้อนกันไปเป็นธรรมดาของมัน

    อย่าไปสรรเสริญจิตของเราอย่างเดียว
    อย่าไปให้โทษมันอย่างเดียว


    ให้รู้จักกาล รู้จักเวลามัน

    เมื่อถึงคราวสรรเสริญก็สรรเสริญมันหน่อย
    สรรเสริญให้พอดีอย่าให้หลง

    เหมือนกับสอนเด็กนั่นแหละ

    บางทีก็เฆี่ยนมันบ้าง
    เอาไม้เรียวเล็กๆ เฆี่ยนมัน ไม่เฆี่ยนไม่ได้
    อันนี้บางทีก็ให้โทษมันบ้าง

    อย่าให้โทษมันเรื่อยไป

    ให้โทษมันเรื่อยไป
    มันก็ออกจากทางเท่านั้นแหละ

    ถ้าให้สุขมัน ให้คุณมันเรื่อยๆ มันไปไม่ได้



    (ที่มา : “เหมือนกับใจ คล้ายกับจิต” : รวบรวมคำอุปมาของ หลวงพ่อชา สุภัทโท
    (พระโพธิญาณเถร), พิมพ์แจกเป็นธรรมทาน โดย กองทุนพลังชีวิต อาคมธรรมทาน, หน้า ๗๒)



     
  14. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,096
    พระโพธิญาณเถระ (ชา สุภทฺโืท)
    วัดหนองป่าพง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี



    [​IMG]



    วั ด กั บ ท า ง ม า วั ด
    พระโพธิญาณเถร (หลวงพ่อชา สุภัทโท)
    วัดหนองป่าพง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี


    ศีลก็ดี สมาธิก็ดี ปัญญาก็ดี
    ทั้งสามประการนี้ท่านเรียกว่า
    “มรรค”


    มรรคนี้ยังมิใช่ศาสนา
    อีกทั้งยังมิใช่สิ่งที่พระศาสดาทรงต้องการอย่างแท้จริงเลย
    แต่ก็เป็นหนทางที่จะดำเนินเข้าไป


    เหมือนกับท่านมหามาจากกรุงเทพฯ
    จะมาวัดหนองป่าพง
    ท่านมหาคงไม่ต้องการหนทาง
    ต้องการถึงวัดต่างหาก


    แต่หนทางก็จำเป็นสำหรับท่านมหาที่จะต้องมา
    ฉะนั้นถนนที่ท่านมหาก็ไม่ใช่วัด
    มันเป็นเพียงถนนมาวัดเท่านั้น
    แต่จำเป็นต้องมาตามถนนจึงจะถึงวัดได้


    ศีล สมาธิ ปัญญา
    คือถนนที่จะเข้าไปถึงความสงบ
    ซึ่งเป็นจุดที่ต้องการ




    (ที่มา : “เหมือนกับใจ คล้ายกับจิต” : รวบรวมคำอุปมาของ หลวงพ่อชา สุภัทโท
    (พระโพธิญาณเถร), พิมพ์แจกเป็นธรรมทาน โดย กองทุนพลังชีวิต อาคมธรรมทาน, หน้า ๖๓)
     
  15. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,096
    <table align="center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" height="68" width="1"><tbody><tr><td valign="top">
    </td><td background="../img/orange2.gif">
    </td> <td valign="top">
    </td><td>
    </td> </tr> <tr> <td valign="top">
    </td><td background="../img/orange8.gif">
    </td> <td valign="top">
    </td><td background="../img/orange9.gif">
    </td> <td background="../img/orange4.gif">
    </td> </tr> <tr> <td valign="top">
    </td><td>
    </td> <td valign="top">
    </td><td background="../img/orange6.gif">
    </td> <td>
    </td> </tr> </tbody></table>
    [​IMG]


    ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง จิ ต ฝึ ก ไ ด้ เ ส ม อ
    พระโพธิญาณเถร (หลวงพ่อชา สุภัทโท)
    วัดหนองป่าพง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี


    ธรรมชาติของใจนี้มันฝึกกันได้ เอามาใช้ประโยชน์ได้

    เปรียบได้กับต้นไม้ในป่า
    ถ้าปล่อยทิ้งไว้ตามธรรมชาติของมัน
    เราก็จะเอามันมาสร้างบ้านไม่ได้
    จะเอามาทำแผ่นกระดานก็ไม่ได้
    หรือทำอะไรอย่างอื่นที่จะใช้สร้างบ้านก็ไม่ได้


    แต่ถ้าช่างไม้ผ่านมาต้องการไม้ไปสร้างบ้าน
    เขาก็จะมองหาต้นไม้ในป่านี้
    และตัดต้นในป่านี้เอาไปใช้ประโยชน์
    ไม่ช้าเขาก็สร้างบ้านเสร็จเรียบร้อย

    การปฏิบัติภาวนาและการพัฒนาจิตก็คล้ายกันอย่างนี้
    ก็ต้องเอาใจที่ยังไม่ได้ฝึกเหมือนไม้ในป่านี่แหละ
    มาฝึกมัน จนมันละเอียดประณีตขึ้น รู้ขึ้น และว่องไวขึ้น


    ทุกอย่างมันเป็นไปตามภาวะธรรมชาติของมัน

    เมื่อเรารู้จักธรรมชาติ เข้าใจธรรมชาติ
    เราก็เปลี่ยนมันได้ ทิ้งมันก็ได้ ปล่อยมันไปก็ได้
    แล้วเราก็จะไม่ทุกข์อีกต่อไป




    (คัดลอกบางตอนมาจาก : บทธรรมบรรยาย เรื่อง“การฝึกใจ”
    โดย พระโพธิญาณเถร (หลวงพ่อชา สุภัทโท))


     
  16. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,096
    คณะทุนนิธิฯ ขออนุโมทนาและสาธุบุญกับทั้ง 2 ท่านสำหรับจิตอันเป็นกุศลในครั้งนี้ บุญและกุศลใด ที่ท่านตั้งใจไว้ด้วยดีแล้ว ยินดีแล้ว และชอบแล้ว ขอกุศลและผลบุญนั้น จงส่งผลให้ท่านพร้อมด้วยครอบครัวและญาติๆ จงพบพานแต่สิ่งที่ดีจนกว่าจะถึงซึ่งฝั่งพระนิพพานด้วยเทอญ....สาธุ


    [​IMG]




     
  17. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,096
    เมื่อสัปดาห์ก่อนผมและภรรยา พร้อมด้วยนายสติได้ไปบ้าน อ.ประถมฯ ที่ จ.ชลบุรี คุยกันในเรื่องการปฏิบัติทางจิต และสาระธรรมต่างๆ รวมถึงเรื่องเฮฮา โดยพี่ใหญ่เป็นคนเปิดเรื่องเล่นเอา อ.ประถมฯ หัวเราะชนิดตบเข่าฉาดใหญ่ สักพักคุณหน่อยที่เป็นผู้่รับเหมา แถวมาบตาพุด เข้ามาสมทบด้วย หลังจากที่พี่ใหญ่ส่งไม้ต่อมาให้ผมให้ส่งคุณหน่อยไปอบรมกรรมฐาน ซึ่งนับเป็นรุ่นที่สอง ต่อจากคุณหมอเอก และคุณหมอเปิ้ล ที่ได้ค้นพบตัวเองไปแล้วถึงทางข้างหน้าที่จะพ้นทุกข์ คุณหน่อยจึงเป็นรายที่สาม ถึงกับขอบคุณผมไม่ขาดปาก "ผมพบแล้ว" คุณหน่อยบอกผม สาเหตุที่คุณหน่อยเอ่ยปากเช่นนี้ได้ เพราะไปอยู่วัดฝึกหัดทางจิตถึง 5 วัน พี่ใหญ่บอกว่า เดี๋ยววันที่สามเค้ารู้เอง และก็เป็นจริง วันที่สาม จิตคิดออกหน้าออกหลัง ถูกท่านอาจารย์ใหญ่ที่เคยอบรมผมมาเช่นกัน เทศน์ดักไว้หมด จิตเลยนิ่งสงบได้ พอวันที่สี่และที่ห้า จิตเลยเดินเต็มที่ คำว่า "ผมพบแล้ว" จึงไม่เกินเลยไป เพราะจิตนอนเนื่องในกิเลสมานานแสนนาน พอจิตสงบ ความสุขก็มาเยือน ประกอบกับคอยมีครูอาจารย์ที่พรรษาสูง และมีประสบการณ์ในการปฏิบัติทางจิตมานับสิบๆ พรรษามากำกับ จึงทำให้การปฏิบัติไม่คลาดเคลื่อน นี่จึงนับว่าเป็นผลบุญของคุณหน่อยเอง ที่มาเจอกันกับผมและพี่ใหญ่ที่ รพ.สงฆ์ และสนใจในการปฏิบัติธรรม โดยตั้งใจที่จะเข้าวัดก่อนเข้าพรรษาให้ได้ ผมจึงได้แนะนำสถานที่และนัดแนะกับพระอาจารย์ที่สนิทให้ดังนั้น เพื่อเป็นอุทาหรณ์ในเรื่องนี้ ผมจึงขอนำบทความเกี่ยวกับกรรมฐานมาลงไว้ให้อ่านกัน....


    ชีวิตดีได้ด้วยบุญกรรมฐาน

    อนงค์ภัทร์ ปิติวรรณ

    วัน ที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๔๓ หลวงพ่อได้เมตตาเรียกให้ข้าพเจ้าและสามีปฏิบัติ กรรมฐาน ท่านบอกว่า “เรื่องผัวมีชู้เมียมีชู้ กรรมฐานเท่านั้นช่วยได้” เป็นลูกศิษย์เราวันนี้ เราเรียกแล้วนะ ถ้าไม่ทำระวังประสาทมันจะกิน เราจะช่วยอะไรไม่ได้ ท่านถามข้าพเจ้าว่า “รอวาสนาหรือ” ข้าพเจ้าก็นึกตอบในใจ “รอสิเจ้าคะ” เพราะมีเพื่อนบอกว่า “สิ้นปี พ.ศ.๒๕๓๙ กิจการต่างๆจะตกต่ำ และเขาบอกอีกว่าอายุ ๔๕ ปีจะดี มันคงจะต้องดีสิเจ้าคะ” พอนึกตอบหลวงพ่อในใจ หลวงพ่อท่านพูดกับข้าพเจ้าว่า “มันไม่เกิดหรอกในสิ่งที่คิดไว้ ถ้าหากไม่ปฏิบัติกรรมฐาน จำไว้นะ ชีวิตจะดีได้ด้วยกรรมฐานเท่านั้น”


    ทุกวันนี้ข้าพเจ้า คิดเสมอว่าจะทำอะไรต้องมีต้นทุนคือบุญด้วย ถ้าบุญเก่าไม่มี บุญใหม่ไม่เสริมให้ต่อเนื่อง บุญก็หมดได้ หลวงพ่อท่านเคยบอกว่า มีวาสนา แต่ถ้าไม่มีบุญ วาสนามันก็ไม่เกิด


    ข้าพเจ้าไม่ใช่คน เกียจคร้านหรือไม่รู้จักทำมาหากิน ที่จริงทำมามากพอประมาณแล้ว ตื่นตี ๕ ก็เริ่มไปซื้ออุปกรณ์วัตถุดิบในการทำขนม กลับถึงบ้านก็ลงมือทำกับลูกน้อง กว่าจะเสร็จก็มืดค่ำ จากนั้นก็ต้องขับรถนำขนมที่ทำไปส่งขายตามสถานที่ต่างๆ กว่าจะได้นอนประมาณตี ๒ ตี ๓ บางวันมีเวลาพักผ่อนแค่ ๑-๒ ชั่วโมง คนเราจะสู้ชีวิตขยันทำมาหากินอย่างเดียวไม่ได้ บุญสำคัญ ต้องมีบุญด้วย ถ้าบุญเก่าไม่ส่ง บุญใหม่ไม่เสริมให้ถูกต้อง ทำให้ตายสู้ให้ตายก็ไปไม่รอด


    ประมาณ ๗ ปีแล้วที่ข้าพเจ้าไหว้พระสวดมนต์ ปฏิบัติกรรมฐาน วันพระก็จะไปทำบุญใส่บาตร ฟังธรรมบรรยายของหลวงพ่อ เย็นก็กลับบ้าน เมื่อก่อนโบสถ์จะเปิดทุกวัน ไปกราบหลวงพ่อรับพรที่กุฏิ เวลา ๑๐.๐๐ น. แล้วก็ไปปฏิบัติกรรมฐานในโบสถ์ ถึงเวลา ๑๔.๐๐ น. ก็ไปที่กุฏิ รับพรหลวงพ่อแล้วก็โมทนาบุญกับญาติธรรมที่ไปถวายสังฆทาน เวลา ๑๗.๐๐ น. ข้าพเจ้าก็จะเข้าไปสวดมนต์ทำวัตรเย็นในโบสถ์ ข้าพเจ้าจะเข้าปฏิบัติกรรมฐานที่วัดเกือบทุกเดือน อย่างน้อย ๗ วัน


    ช่วง เข้าพรรษาที่วัดอัมพวัน จะมีระยะเวลา ๔ เดือน หลวงพ่อท่านจะลงโบสถ์ สวดมนต์ทำวัตรทุกวัน ตอนเวลาตี ๒ - ตี ๓ ข้าพเจ้าและสามีจะขับรถจากบ้านจังหวัดสระบุรี ไปสวดมนต์ทำวัตรเช้า ฟังหลวงพ่อสอนพระในไตรมาสเป็นประจำ รุ่งเช้าก็จะนำอาหารไปใส่บาตรพระตอนเช้า ข้าพเจ้าจะเก็บเกี่ยวบุญทุกอย่าง บุญใดที่หลวงพ่อทำ ข้าพเจ้าจะไปร่วมโมทนาทุกครั้ง


    มี ผู้ปฏิบัติธรรมท่านหนึ่งได้นำพระที่เขาได้รับจากหลวงพ่อมาให้ข้าพเจ้าดู และเขาบอกข้าพเจ้าว่าให้อธิษฐาน อยากได้อะไรก็ให้ขอ รุ่งขึ้นเป็นวันพระ ข้าพเจ้าเข้ากรรมฐาน เวลาหลวงพ่อท่านให้พร ข้าพเจ้าก็สาธุ ขอให้รวยๆ ขอให้ขายที่ดินได้ พอหลวงพ่อท่านบรรยายธรรม ท่านได้พูดขึ้นประโยคหนึ่งว่า “บุญไม่คิดสร้างให้ตัวเองเสียก่อน จะมาขอนั่นขอนี่ มันจะได้อย่างไร” ตั้งแต่วันนั้นมาข้าพเจ้าไม่เคยคิดขออะไรเลย ตั้งหน้าตั้งตาทำกรรมฐาน หลวงพ่อสอนให้ทำอย่างไรก็ทำตาม จะไม่ยอมเป็น “เรือสินค้าที่ว่างมาแล้วก็ว่างไป”


    วันที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๔๘ หลวงพ่อท่านเมตตาเรียกข้าพเจ้าไปพบ ท่านให้คุณชำนาญหยิบกระเป๋ามา ๒ ใบ และบอกข้าพเจ้าว่าหลวงพ่อให้เอาไปใส่เงิน ข้าพเจ้าเกิดปีติดีใจมาก หลวงพ่อบอกว่าโชคดีนะ ข้าพเจ้ากราบบอก หลวงพ่อว่า “จะเป็นคนดี จะปฏิบัติตามหลวงพ่อสอน และจะตั้งใจปฏิบัติกรรมฐาน” หลวงพ่อบอกว่าจำไว้ “กรรมฐานดีที่สุด”


    ประมาณเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ข้าพเจ้าได้มีโอกาสไปช่วยงานหลวงพ่อ เป็นระยะเวลาประมาณ ๑ เดือน คืนหนึ่งข้าพเจ้าฝันว่าหลวงพ่อไปบ้านข้าพเจ้า ผู้คนตามไปมากมาย หลวงพ่อไปถึงท่านก็พักผ่อน มีคนจะเข้าฟังธรรมจากหลวงพ่อมาก ขณะนั้นมีคนหนึ่งบอกว่าบ้านของข้าพเจ้ามืดมาก เปิดไฟไม่สว่าง จากนั้นหลวงพ่อท่านก็ลุกขึ้นจับหลอดไฟฟ้า ไฟก็สว่างขึ้นทันที


    หลัง จากนั้นประมาณ ๒ อาทิตย์ ได้มีคน โทรศัพท์ติดต่อขอซื้อที่ดิน ทำให้ทุกวันนี้ครอบครัวของข้าพเจ้าไม่ต้องทุกข์กับหนี้สินต่างๆอีกต่อไป


    จาก อานิสงส์ที่ข้าพเจ้าสวดมนต์ปฏิบัติกรรมฐาน ตามที่หลวงพ่อสอนอย่างต่อเนื่องและเป็นประจำ ทำให้ชีวิตครอบครัวดีขึ้นและมีความสุขตลอดมา ทุกวันนี้ข้าพเจ้าไม่ได้ทำงานอะไรนอกจากเป็นแม่บ้านและแม่ที่ดีของลูก ครอบครัวของข้าพเจ้าโชคดีจริงๆที่ได้รับเมตตาจากหลวงพ่อ


    ข้าพเจ้า จะตั้งใจปฏิบัติกรรมฐานต่อไป หลวงพ่อบอกเสมอว่าไม่มีอะไรดีเท่ากับการสวดมนต์ไหว้พระ ปฏิบัติกรรมฐาน อโหสิกรรม แล้วก็แผ่เมตตา



    เป็นไงครับ ผลจากการฝึกกรรมฐาน นี่แค่อย่างเบาะๆ ครับ อย่างอื่นยังมีอีกมาก แล้วแต่วาสนาของแต่ละท่าน แต่ถ้าไม่เริ่มเลยก็จะเป็น "เรือสินค้าเปล่า" อย่างที่เธอว่า แล่นมาแล้วก็แล่นไป หาประโยชน์หาสาระไม่ได้ ดีไม่ดี เจอมรสุมใหญ่ อัปปางซะก่อนที่จะถึงที่หมาย ลองหัดกรรมฐานกันดูครับ ร้านก๋วยเตี๋ยวร้านใหญ่มีตั้ง 40 ร้าน ลองเลือกชิมกันดู คงมีสักร้านหนึ่งละที่ถูกใจท่าน มัวแต่ฟังเค้าเล่าว่าร้านนี้ดี ร้่านนั้นอร่อย แต่ไม่เดินไปชิม แล้วจะรู้ได้ยังไงว่า "ร้านไหนเหมาะสำหรับเรา"...ตายไปก็เลยไม่ได้รู้สักที
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กรกฎาคม 2009
  18. active

    active เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    40
    ค่าพลัง:
    +278
    วันที่ 11 ก.ค.2552 เวลา17.38 น. ผมได้โอนเงินทำบุญเข้า บ/ช ทุนนิธิ จำนวน 400-บาทครับ ขอบคุณครับ
     
  19. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,096


    [​IMG]


    <table align="center" border="0" width="90%"> <tbody><tr> <td class="style2" height="492">พระสมบูรณ์แบบ
    พระเราที่จะเป็นพระสมบูรณ์แบบขึ้นอยู่กับพระวินัยเป็นหลักประกันพระในขั้น แห่งความเป็นพระทั่ว ๆ ไป ตามหลักนิยมของพุทธศาสนา การประพฤติทางกาย ทางวาจา มีใจเป็นธรรมนำมารับผิดชอบในการเคลื่อนไหวของร่างกาย วาจา อยู่ด้วยความระมัดระวังเสมอ นี่คือพระที่ชอบธรรมตามหลักของศาสดาที่สอนไว้ นี่เป็นขั้นหนึ่งแห่งความสมบูรณ์ของพระ เจ้าของก็มีความอบอุ่น คนอื่นมองเห็นก็น่าเคารพเลื่อมใส
    ขั้นที่สองก็คือธรรม เจริญธรรมขึ้นภายในใจ มีสมถธรรมหรือสมาธิธรรมเป็นขั้น ๆ ด้วยความพากเพียร และปัญญาธรรมถึงวิมุตติหลุดพ้นเรียกว่า วิมุตติธรรม ทรงไว้ซึ่งธรรมซึ่งวินัยโดยสมบูรณ์ในหลักธรรมชาติของพระ นี้เป็นพระสมบูรณ์แบบ เป็นพระที่ควรอย่างยิ่งต่อความเป็นสรณะองโลกได้ ดังพระในครั้งพุทธกาลที่ท่านได้เป็นสรณะของโลกเรื่อยมา
    พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ก็คือ พระพุทธเจ้าเป็นผู้บรรลุวิสุทธิธรรม อันล้ำเลิศ ด้วยการประพฤติปฏิบัติชอบยิ่งของพระองค์เอง
    ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ พระธรรมอันประเสริฐเลิศเลอยิ่งกว่าสิ่งอื่นใดในโลกได้ปรากฎขึ้นในพระทัย เพราะการปฏิบัติดีปฏิบัติชอบยิ่งของพระองค์
    สงฺฆ สรณํ คจฺฉามิ พระสงฆ์ได้เกิดความเชื่อ ความเลื่อมใสในหลักธรรมที่พระองค์ทรงสอน แล้วนำไปประพฤติปฏิบัติด้วยความเอาจริงเอาจัง เนื่องมาจากความเชื่ออย่างถึงใจ การทำทุกสิ่งทุกอย่างย่อมถึงใจ เมื่อถึงใจแล้วก็ถึงทั้งสิ่งที่ชั่วมีอยู่ภายในจิตใจของตนมาดั้งเดิม ทั้งสิ่งที่ดีซึ่งควรจะเกิดขึ้นได้เพราะความถึงใจในความเชื่อเหตุผลดีชั่ว นั้น แล้วประพฤติปฏิบัติด้วยความถึงใจ สุดท้ายก็ปรากฎเป็น สงฺฆ สรณํ คจฺฉามิ ขึ้นมาอย่างเต็มดวง นี่คือหลักแห่งความสมบูรณ์ของผู้ปฏิบัติตามหลักศาสนธรรมของพระพุทธเจ้าจริง ๆ
    เพราะฉะนั้นศาสนธรรมจึงไม่ใช่เป็นเครื่องประกาศอยู่ธรรมดา โดยหาตัวจริงไม่ได้ ธรรมที่ประกาศออกมา แต่ละแง่แต่ละกระทงของศาสนธรรมนั้น ออกมาจากความจริง และพร้อมที่จะแสดงความจริงให้แก่ผู้ปฏิบัติตามขั้นตามภูมิของตน อยู่ทุกระยะกาล จึงเรียกว่า อกาลิโก ธรรมไม่มีกาลไม่มีเวลา ให้ผลได้ทุกเมื่อจากการกระทำของผู้ไม่เลือกกาล เครื่องหล่อหลอมพระเราให้สมบูรณ์แบบ หรือให้มนุษย์สมบูรณ์แบบ ก็ไม่มีสิ่งใดนอกเหนือไปจากธรรม สิ่งใดงามก็ตาม ไม่ซาบซึ้ง ไม่ถึงใจ ไม่แน่ใจ ไม่ตายใจ ไม่อบอุ่นใจยิ่งกว่าธรรม ธรรมจึงเลิศ ธรรมจึงประเสริฐกว่าความดีอื่นใดทั้งสิ้น


    </td> </tr> </tbody></table>

    [​IMG]


    <table border="0" width="90%"><tbody><tr> <td height="438">ผู้บรรลุธรรมอัศจรรย์
    น้ำตาร่วงเหมือนกันหมด

    หลวงปู่มั่น ก็หนัก พรรษา ๒๒ เป็นพรรษาที่ท่านเริ่มเปิดโลก แต่ยังไม่ได้เปิดเต็มที่ อยู่ถ้ำสาริกา พรรษา ๒๒ ท่านเล่าให้ฟัง เปิดจริง ๆ ไปเปิดที่เชียงใหม่ ๒๒ พรรษา ไปเปิดปฐมฤกษ์อยู่ที่ถ้ำสาริกา เรียกว่าเปิดปฐมฤกษ์ พอจากนั้นไปก็ไปเปิดวาระสุดท้ายที่เชียงใหม่ เราก็ลืมเสียว่าเป็นต้นไม้อะไร
    ท่านอยู่ต้นไม้ต้นเดียว ต้นไม้ต้นนั้นร่มหนาทึบเลย กลางวันท่านมาเดิรจงกรมได้สบาย ๆ เพราะปกติเป็นป่าอยู่แล้ว ไม่มีผู้มีคน อยู่ในภูเขา เหมือนอยู่หินดานลักษณะนั้นแหละ โล่งอากาศดี ทุกสิ่งทุกอย่างพร้อม กลางวันท่านเดินของท่านเพราะไม่มีผู้มีคนไปกวน เดินเวลาไหนจะเป็นไรไป ร่มก็มีตลอดทั้งวัน
    ตอนกลางคืนท่านนั่งภาวนาอยู่ที่นั่น โลกธาตุหวั่นไหว ฟ้าดินถล่มเป็นเหมือนกัน องค์ไหนก็พูดแบบเดียวกัน พอตรัสรู้ พูดตรัสรู้จะตรงกับศัพท์ที่ว่าสุดยอดของธรรม บรรลุนี้เป็นศัพท์ของพระสาวก ตรัสรู้เป็นศัพท์เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า จึงเรียกว่าตรัสรู้ สาวกเรียกว่าบรรลุ ความจริงก็ตรัสรู้ถึงแดนวิเศษเหมือนกันนั่นแหละ
    ฟังครูบาอาจารย์ที่เล่าให้ฟังถึงแดนสุดยอด นั่งน้ำตาร่วงเหมือนกันหมด คืนนั้นไม่นอนเลย นั่งน้ำตาร่วงแล้วกราบ ๆ อยู่อย่างนั้น คือกราบความอัศจรรย์ของพระพุทธเจ้า ความอัศจรรย์ของธรรม ที่ได้ครองธรรมเพราะพระพุทธเจ้ากระเทือนกันเลย พระพุทธเจ้ากับท่านก็เป็นอันเดียวกันแล้ว พอตรัสรู้ปึ๋ง พระพุทธเจ้าทั้งหลายก็เป็นอันเดียวกันแล้ว เป็นอันเดียวกัน ๆ
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ เป็นกิริยาเท่านั้น เหมือนกับเป็นกิ่งก้านสาขาของต้นไม้ ต้นใหญ่จริง ๆ มีต้นเดียว ธรรมะ คำว่าธรรมอันเดียวเท่านั้น พระพุทธเจ้าพระสงฆ์สาวก พอตรัสรู้ธรรมปึ๋งเข้าไปตรงนั้นแล้ว เป็นอันเดียวกันหมดเลย เพราะฉะนั้นคำว่า พระพุทธเจ้าปรินิพพานจึงเป็นแต่เพียงกิริยาเท่านั้น ธรรมชาตินั้นเป็นพื้นเพอยู่แล้ว เมื่อถึงขั้นธรรมกับจิตเป็น อันเดียวกันแล้วเป็นอย่างนั้น นี่ไม่ว่าองค์ไหนนั่งแล้วกราบแล้วไหว้ อยู่อย่างนั้น อย่างประวัติหลวงปู่มั่นนั่นแหละ เราก็เขียนจากคำบอกเล่าของท่านเอง นั่งแล้วกราบไหว้ คนเขาเห็นเขาก็จะว่าเป็นบ้าเป็นบอไป
    เพราะความอัศจรรย์นั่นแหละ ทำให้เป็นอัศจรรย์แล้วก็สงสารโลกประมาณ เราผ่านมาแล้ว ทีนี้เราหลุดพ้น แล้วจากที่คุมขังจากที่ทรมานในกองทุกข์ สามแดนโลกธาตุนี้เป็นแต่กองทุกข์แดนทรมานสัตว์ทั้งนั้น ผุดออกมาแล้วพ้นแล้วมองไปทางนี้ก็สงสารทางนี้ มองไปทางนี้ก็อัศจรรย์ทางนี้ มองทางนี้อัศจรรย์พระพุทธเจ้า ๓ อย่างน้ำตาร่วง องค์ไหนก็เหมือนกันบรรดาที่ได้เล่าสู่กันฟัง ผู้ที่ถึงแดนแห่งความหลุดพ้นอย่างสุดขีดแล้ว เป็นเหมือนกันหมด น้ำตาร่วงเหมือนกัน



    </td> </tr> <tr> <td height="1135">
    [​IMG]

    อัฐิเป็นพระธาตุคือพระอรหันต์องค์หนึ่ง
    คำว่าเป็นพระธาตุแล้วนั้น คือ พระอรหันต์องค์หนึ่งนั้นเอง ร้อยเปอร์เซ็นต์ คือพระธาตุนี่เป็นเครื่องหมายของวัตถุ ด้านวัตถุได้แก่ร่างกายซึ่งเป็นส่วนหยาบ คือจิตที่บรรลุถึงวิสุทธิธรรมแล้ว จิตนี้จะบริสุทธิ์
    นี่พูดตามหลักธรรมชาตินะ จิตที่บริสุทธิ์แล้วครองธาตุขันธ์อยู่นี่ ความบริสุทธิ์ของจิตนั้นละจะซักฟอกออกมาธาตุขันธ์เลยกลายเป็นธาตุขันธ์ที่ละ เอียดลอออ จึงกลายเป็นพระธาตุได้ ทั้ง ๆ ที่เป็นวัตถุธาตุเหมือนกันกับร่างกายของเรา แต่ร่างกายของพระอรหันต์ที่ครองด้วยจิตที่บริสุทธิ์ จิตที่บริสุทธิ์นั้นแหละซักฟอกออกมา แล้วก็กลายเป็นพระธาตุได้ ๆ
    นี่เป็นอย่างนั้น เรื่องราวมีอย่างนั้น ใครจะมากยิ่งกว่า หลวงปู่มั่น ที่อุตส่าห์พยายามแนะนำสั่งสอนลูศิษย์ลูกหามาถึงขั้นบำเพ็ญธรรมนี้ถึงขั้น สลบไสลเหมือนกัน แล้วต่อจากนั้นมาก็หมดไป ๆ แล้ว เดี๋ยวนี้จะไม่มีครูบาอาจารย์แล้วนะ ที่เป็นเพชรน้ำหนึ่ง ๆ รู้สึกมีน้อยมาก ๆ โดยลำดับ หากมีอยู่ เรื่องมีน่ะมี แต่รู้สึกว่ามีน้อยมาก ค่อย ๆ มี ไปตาม ๆ กันละ
    ท่านผู้ที่ทรงธรรมประเภทนี้จะไม่เหมือนโลกนะ มีเหมือนไม่มี เพราะธรรมในใจของท่านไม่ได้เหมือนกิเลสมีอยู่ในใจมีเหมือนไม่มี คือไม่ผลักไม่ดัน อยากพูดอย่างนั้นอย่างนี้ท่านไม่มี มีแต่ความพอดีตลอด ถึงกาลเวลาที่จะพูดออกไปเพื่อเป็นประโยชน์แก่โลกหนักเบามากน้อย ท่านก็ออกไปตามสัดตามส่วนที่เห็นว่าสมควร ถ้าไม่ควรแล้วก็เหมือนไม่มี ธรรมเป็นอย่างนั้นนะ

    หลักเกณฑ์การก่อเจดีย์
    การก่อเจดีย์นั้นตามตำราท่านแสดงไว้ ผู้ที่ควรแก่การก่อจดีย์ไว้กราบไหว้บูชานั้นมี ๔ ประเภท ขอให้พี่น้องทั้งหลายได้ทราบเอาไว้ ประเภทที่หนึ่ง คือ พระพุทธเจ้า ประเภทที่สอง คือ พระปัจเจกพุทธเจ้า ที่สาม คือ พระอรหันต์ ที่สี่ คือ พระเจ้าจักรพรรดิ ทั้งสี่ประเภทนี้ควรแก่การกราบไหว้บูชาของพุทธบริษัททั้งหลายทั่ว ๆ ไป นอกจากนั้นท่านไม่ได้กล่าวถึง



    [​IMG]

    พระอุบาลีคุณูปมาจารย์
    หลวงปู่มั่นเคารพท่านมากนะ เคารพท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ พูดคำไหน ๆ แย็บออกรู้ทันที ท่านพูดด้วยความเคารพเลื่อมใสด้วยความเทิดทูนจริง ๆ คือท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ ท่านหนักทั้งปฏิบัติด้วย ทั้งปริยัติด้วย ท่านเป็นแบบฉบับได้ เฉพาะอย่างยิ่งทางด้านปริยัตินำกรรมฐาน คือ หลวงปู่มั่น หลวงปู่เสาร์



    [​IMG]

    หลวงปู่เสาร์ ปรารถนาปัจเจกภูมิ
    หลวงปู่มั่น ปรารถนาพุทธภูมิ

    พระพุทธเจ้าพระองค์ใดก็ตาม ได้ทรงทำนายใครแล้วนั้น เรียกว่าลบไม่สูญเลย เช่น คนนี้ปรารถนาจะเป็นพระพุทธเจ้ากำลังเป็นพระโพธิสัตว์ปรารถนาพุทธภูมิจะเป็น พระพุทธเจ้าข้างหน้า พระพุทธเจ้าทรงเล็งญาณดูแล้วยืนยันแล้ว ว่านี้ในกัปนั้นกัลป์นั้น เธอจะได้เป็นพระพุทธเจ้าชื่อว่าอย่างนั้น แล้วสาวกข้างซ้ายชื่อว่าอย่างนั้น ข้างขวาชื่อว่าอย่างนั้น นี้ยังไงก็ลบไม่สูญเลย แน่แล้วนั่น จะต้องถึงจุดนั้นเลย
    ถ้ายังไม่ได้ทรงทำนายแล้วพลิกได้นะ คือจะไปนี้ยังไม่ถึงไหรเลย ปลีกออกเสียจากพุทธภูมิไปเป็นสาวกภูมิก็ได้ อันนี้ก็ยกตัวอย่างเช่นหลวงปู่มั่นเรา ท่านเคยเล่าให้ฟัง
    ทีแรกท่านปรารถนาเป็นพุทธภูมิ ท่านว่างั้นนะ เพราะฉะนั้นลวดลายของท่านจึงมี ความรู้ความฉลาดนี้เป็นลวดลายของพุทธภูมิยังติดอยู่ในนั้นนะ ทีนี้เวลาท่านพิจารณา พอจะเข้าด้ายเข้าเข็มทีไร เรื่องพุทธภูมิผ่านเข้ามาแล้ว ท่านว่างั้นนะ จิตพอจะเข้าด้ายเข้าเข็มทีไร มันจะพุ่งทีไร พุทธภูมิจะผ่านเข้ามา ๆ ก็ทำให้อาลัยเสียดายพุทธภูมิถอยเสีย ท่านว่างั้นนะ พอกำหนดเข้าไปที่จะเข้าด้ายเข้าเข็มทีไร เรื่องพุทธภูมิจะสวนกันเข้ามาเลย เสียดายพุทธภูมิ ก็ถอยเสีย
    ทีนี้หลายครั้งต่หลายครั้ง เอ๊ ว่าเป็นพุทธภูมิ ก็ไม่ได้ประมาทพระพุทธเจ้า ความสิ้นกิเลสสิ้นด้วยกัน เป็นแต่เพียงทำประโยชน์ให้โลกได้มากน้อยต่างกันกับสาวกเท่านั้นเอง เราได้แค่นี้เราก็เอาละ เราไม่ได้เป็นพระพุทธเจ้าก็ตาม ขอให้จิตบริสุทธิ์อย่างเดียวแค่นี้ก็เอาละ พออย่างนั้นท่านก็ขอหยุด อธิฐานเป็นพุทธภูมินะ จากนั้นจิตก็พุ่งเลยท่านว่า อย่างนั้นแล้วอารมรณ์อันนี้ไม่ครอบ นี้คือยังไม่ได้รับลัทธพยากรณ์ พระพุทธเจ้าพระองค์ใดพระองค์หนึ่งยังไม่พยากรณ์ ถ้าลงได้พยากรณ์แล้วยังไงก็ลบไม่สูญหาย พุ่งถึงนั้นเลย ถึงจุดนั้นเลย เรียกว่าลบไม่สูญ ต้องเป็นอย่างนั้นแน่นอน ถ้ายังไม่ได้ทำนายนี้มันเอียงได้ เอียงนั้นเอียงนี้ไปได้
    อย่างหลวงปู่มั่นท่านเล่าให้ฟัง เพราะฉะนั้นนิสัยพุทธภูมิของท่านจึงมีอยู่ ลวดลายของพุทธภูมิยังมี ความรู้ภายนอกภายในอะไรนี้คล่องแคล่วทุกอย่าง เรื่องจิตรวมฟาดนี้เหาะเหินฟ้าใครจะเก่งยิ่งกว่าท่านอาจารย์มั่นวะ พรึบนี้ลงพื้นปฐพี พรึบไปเลย ผึงนี้ก็ขึ้นเลย อันนี้ท่านเล่าให้ฟัง จนกระทั่งท่านอาจารย์เสาร์ท่านว่า ท่านมั่นนี่มันผาดโผนเกินไป
    ท่านอาจารย์เสาร์ ท่านไม่ค่อยชอบพูด ท่านปรารถนาพระปัจเจกภูมิ แต่ท่านก็พลิกอย่างเดียวกัน เพราะฉะนั้นนิสัยท่านจึงไม่ชอบพูด นั่งที่ไหนเหมือนหัวตอไม่พูดไม่คุยกับใครเลย ถ้าจะพูดก็ เออ พากันทำบุญนะ บาปมันเผาหัวเด้ เท่านั้นแหละไม่มาก บาปมันเผาหัวทั้งนั้นแหละ บุญเป็นความสุขเท่านั้น ท่านไม่พูดมากเป็นพระปัจเจก
    ทีนี้เวลาท่านอาจารย์หลวงปู่มั่นเรานี้เล่าเรื่องภาวนาสู่ท่านฟัง เล่าภาวนาทีแรกก็ฟาดไปแต่เรื่องปีติเรื่องตัวลอย สำหรับท่านหลวงปู่เสาร์นี้พอนั่งภาวนานี้ตัวลอยขึ้น ๆ ลอยทีแรกขึ้นไปได้เมตรหนึ่ง พอรู้สึก เอ๊ นี่เหมือนตัวลอย ลืมตาขึ้นมา จิตมันปล่อยหมด มันก็หนัก ตูมลงเลย เจ็บเอว โหย ตั้งหลายวัน ท่านว่า คือมันเป็นทีแรกท่านสงสัย เอ๊ นี่ทำไมมันเหมือนตัวลอย น้าท่านว่างั้น เหมือนว่าตัวลอยขึ้น ๆ เลยลืมตาขึ้น ลืมตามันสูงจริง ๆ เลยตกใจ จิตเลยออก ออกก็ตูมเลยซี มันไม่มีกำลังพยุงใช่ไหมละ
    ตั้งแต่นั้นมาท่านเลยทดลองใหม่ เอาใหม่ ทีนี้ท่านเอาเช่นอย่างท่านเอาเศษไม้หรือเอาอะไรไปเหน็บไว้ เพื่อความแน่นอนท่านว่า พอมันลอยขึ้นไป คือพยุงจิตไว้นะ นี่ละถ้ามันเจ็บแล้วต้องเข็ดเข้าใจไหม ต้องพยุง ทีนี้พยายามดู พอขึ้นไป ๆ ไปถึงหญ้า พอถึงหญ้าแล้ว ท่านก็เอามือคลำจับเอาอันนี้ออกมาแล้วท่านค่อยลืมตา จิตท่านก็ยับยั้งเอาไว้นะไม่ปล่อย ถ้าปล่อยก็ตูมเลย ค่อยพยุง ๆ แล้วค่อยลง ๆ กึ๊กถึงพื้น นี่พลังของจิตพยุงไว้ ถ้าปล่อยอย่างที่ท่านตกใจนั่นนะ พอขึ้น โอ๊ย มันตก พอว่างั้น จิตมันก็ออกทั้งตัวมันก็ตูมเลย จากนั้นมาท่านก็พยุง
    นี่ท่านพูดถึงเรื่องจิตของท่าน จิตของท่านเป็นอย่างนี้นะ จิตของผมมันไม่เป็นอย่างนั้น ว่างั้นนะที่นี่ มันเป็นยังไงท่านว่า โอ๊ย เวลามันลงนี้ฟาดนี้ทะลุแผ่นดินนี้ไม่มีเหลือ พุ่งลงเลย พื้นพิภพพิเภ็พที่ไหนก็ไม่ทราบ เวลามันขึ้นก็พุ่งเลย โอ๊ย มันพิลึกท่าน ท่านไม่พูดมากละ พิลึกท่าน ท่านพูดอย่างนั้นนะ จิตของผมยังไม่เป็นอย่างนั้นเป็นอย่างนี้แหละ จิตของท่านมันพิลึกท่านว่า นี่คือความผาดโผนของจิตหลวงปู่มั่นเรานี้ไปแบบหนึ่ง ส่วนหลวงปู่เสาร์นี้ก็ไปอย่างนั้นแหละ ไปเรื่อย ๆ นี่ก็อัฐิเป็นพระธาตุเหมือนกันนะ
    หลวงปู่เสาร์ อัฐิก็เป็นพระธาตุ หลวงปู่มั่น ก็เรียกว่าเป็นมาแล้ว นั่นก็เป็นตั้งแต่นู้นแหละ ตั้งแต่มรณภาพแล้วทีแรกหลวงปู่เสาร์ก็เป็นเหมือนกัน ท่านเป็นคู่กันนะ ไปที่ไหนไปด้วยกัน ท่านติดกันมาแต่นู่นแหละ นี่ละสององค์นี้เบิกกรรมฐานเรานะ จากนั้นก็หลวงปู่มั่นเป็นผู้เบิกจริง ๆ เบิกกรรมฐาน จึงได้มีร่องรอยมาจนกระทั่งทุกวันนี้ มาจากหลวงปู่มั่นเรา




    http://www.buddhismthailand.com/books/sudtai/sudtai0.php

    </td></tr></tbody></table>
     
  20. นุภาวัฒน์

    นุภาวัฒน์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    774
    ค่าพลัง:
    +270
    พรุ่งนี้ วันที่ 13 กรกฎาคม 2552 ผมจะโอนเงินทำบุญ จำนวน 300 บาท เพื่อร่วมทำบุญกับพระภิกษุสงฆ์ที่อาพาธครับ คงไม่มาแจ้งให้ทราบอีก อนุโมทนาบุญด้วยคนครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...