พระมหากษัตริย์ไทย กับพระราชสมัญญา มหาราช

ในห้อง 'จักรวาลคู่ขนาน' ตั้งกระทู้โดย บุญญสิกขา, 4 พฤษภาคม 2009.

  1. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    <TABLE class=MsoNormalTable style="WIDTH: 97%; mso-cellspacing: 2.2pt; mso-padding-alt: 1.5pt 1.5pt 1.5pt 1.5pt" cellSpacing=3 cellPadding=0 width="97%" border=0><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">

    พระมหากษัตริย์ไทย กับพระราชสมัญญา มหาราช
    <O:p</O:p



    <O:p</O:p

    [​IMG]



    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">คำว่า “มหาราช” มีความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕ หมายถึง คำซึ่งมหาชนถวายเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระเจ้าแผ่นดิน หรืออีกความหมายหนึ่งคือ ธงประจำพระองค์ พระเจ้าแผ่นดิน ที่เรียกว่า ธงมหาราช<O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 2"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">การถวายพระราชสมัญญา มหาราช แด่ พระมหากษัตริย์ของไทยในอดีตที่ผ่านมานั้น ไม่มีการประกาศอย่างเป็นทางการ แต่เป็นมติของมหาชนในสมัยต่อมาที่สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ จึงได้ถวาย พระสมัญญาต่อท้ายพระนามว่า มหาราช หรือพระราชสมัญญาอื่นที่แสดงถึงพระเกียรติคุณเฉพาะพระองค์ และเป็นที่ยอมรับในการขานพระนามสืบมา</TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 3"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 4"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">การเริ่มการถวายพระราชสมัญญา มหาราช ต่อท้ายพระนามพระมหากษัตริย์นั้นสันนิษฐานว่าเริ่มมีขึ้นในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ประมาณรัชกาลที่ ๔ หรือ ๕ เนื่องจาก เป็นสมัยที่เริ่มมีการศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์ของชาติและบรรพบุรุษมากขึ้น ทำให้ประจักษ์ถึงวีรกรรมและพระราชอัจฉริยภาพของพระมหากษัตริย์ในสมัยนั้นๆ จึงได้มีการยกย่องพระมหากษัตริย์บางพระองค์ที่ทรงมีพระเกียรติคุณเด่นกว่าพระองค์อื่นขึ้นเป็น มหาราช ในเรื่องของการริเริ่มถวายพระราชสมัญญามหาราชต่อท้ายพระนามพระมหากษัตริย์ในยุค สมัยต่างๆ นั้นสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงอธิบายไว้ในลายพระหัตถ์ที่ทรงมีถึงพระบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ดังนี้</TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 5"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent"><O:p</O:p

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 6"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">“...ที่เพิ่มคำ “มหาราช” เข้าต่อท้ายพระนามพระเจ้าแผ่นดินนั้น ในหนังสือไทยมีหนังสือพระราชพงศาวดาร เรียก “สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ” ก่อนที่ใช้คำ “มหาราช” หมายอย่าง The Great ของฝรั่ง คนอื่นเขาก็ใช้มาก่อนหม่อมฉัน เป็นแต่ตามเขาหาได้เป็นผู้ริใช้ไม่ สังเกตดูพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งที่มีคำ ธีเกรตอยู่หลังพระนาม คำนั้นย่อมเพิ่มเข้าต่อเมื่อพระเจ้าแผ่นดินพระองค์นั้นล่วงลับไปแล้วบางที่ก็ช้านาน และเพิ่มเข้าต่อเมื่อมีพระเจ้าแผ่นดินพระนามพ้องกัน โดยปกติมักเรียกพระองค์ก่อนว่า “ที่ ๑ ” พระองค์หลังว่า “ที่ ๒ ” และเปลี่ยนตัวเลขต่อไปตามลำดับ ถ้าพระองค์ใดเป็นอัจฉริยบุรุษจึงใช้คำธีเกรตแทนที่เลข จะยกตัวอย่างดังเช่น เอมเปอเรอวิลเฮมเยอรมัน เมื่อพระเจ้าวิลเฮม (ไกเซอ) เสวยราชย์ก็เรียกพระองค์แรกว่า ที่ 1 พระองค์หลังว่าที่ ๒ มาหลายปี จนเยอรมันต่อเรือใหญ่ลำ ๑ อย่างวิเศษสำหรับพาคนข้ามมหาสมุทรแอตแลนติค พระเจ้าไกเซอ ประทานนามเรือนั้นว่า เอมเปอเรอวิลเฮม ธีเกรต แต่นั้นมาจึงเรียกเอมเปอเรอ พระองค์นั้นว่า ธีเกรต คือ มหาราช ที่ไทยเราเอามาใช้ไม่ตรงตามแบบฝรั่ง เพราะไม่ได้เรียกพระนามซ้ำกัน เรียกเพราะเป็นอัจฉริยบุรุษอย่างเดียว...” <O:p</O:p

    <O:p</O:p



    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 7"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">พระมหากษัตริย์ไทยที่ทรงได้รับการยกย่องเป็นมหาราชมีดังนี้<O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 8"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">. พระเจ้าพรหมมหาราช ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ไทย ที่ทรงปรากฏพระนามในตำนานเมืองต่างๆ ทาง เหนือของไทย ทรงได้รับการยกย่องจากประชาชนว่าเป็นมหาราช เนื่องจากทรงกอบกู้อิสรภาพของนครโยนกจากขอมได้ทรงสร้างเมืองไชยปราการ และเสริมสร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่ดินแดนฝ่ายเหนือขณะนั้น<O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 9"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent"> . พระเจ้าเม็งรายมหาราช ทรงสร้างเมืองเชียงรายเวียงกุกาม เมืองเชียงใหม่และการรวบรวมอาณาจักรล้านนา ให้เป็นปึกแผ่นมั่นคงทั้งด้านการปกครอง การศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ทรงได้รับยกย่องให้เป็นมหาราชแห่งอาณาจักรล้านนา<O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 10"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">. พ่อขุนรามคำแหงมหาราช พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ ๓ แห่งกรุงสุโขทัย ทรงสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้แก่อาณาจักรสุโขทัยอย่างสูงสุดทั้งด้านการปกครอง การศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และความสัมพันธ์กับอาณาจักรใกล้เคียง และยังทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นเมื่อปีพุทธศักราช ๑๘๒๖ พระเกียรติคุณดังกล่าวทรงได้รับการยกย่องให้เป็นมหาราช<O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 11"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ ๑๘ แห่งกรุงศรีอยุธยา ทรงมีพระปรีชาสามารถด้านการรบ ทรงมีความเด็ดเดี่ยวกล้า หาญสามารถกอบกู้อิสรภาพจากพม่า ทรงสถาปนาบ้านเมืองให้เป็นปึกแผ่นมั่นคง พระบรมเดชานุภาพระบือไปทั่วสารทิศนำความ ร่มเย็นสู่ชาติบ้านเมืองและอาณาประชาราษฎร์ ทรงเป็นวีรบุรุษผู้ยิ่งใหญ่ ทรงได้รับการยกย่อง และเทิดพระเกียรติให้เป็นมหาราช<O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 12"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ ๒๘ แห่งกรุงศรีอยุธยา ทรงได้รับการเทิดพระเกียรติเป็นมหาราช เนื่องจากทรงพระปรีชาสามารถด้านการปกครอง การต่างประเทศ การศาสนา และวรรณกรรม<O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 13"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงได้รับการเทิดพระเกียรติให้เป็นมหาราช เนื่องจากทรงกอบกู้ เอกราชจากพม่า ทรงสร้างกรุงธนบุรีและทรงสถาปนาราชอาณาจักรไทยให้เป็นปึกแผ่นมั่นคงอีกครั้งหนึ่ง พระนามของพระองค์มีการเรียกต่างๆ กัน ได้แก่สมเด็จพระเจ้าตากสิน สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี และสมเด็จพระเจ้าตากสินกรุงธนบุรี ต่อมาคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๒๔ ให้ใช้พระนามสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช<O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 14"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ขึ้น ทรงสร้างความเป็นปึกแผ่นมั่นคง ความร่มเย็นเป็นสุขให้แก่บ้านเมืองอย่างสมบูรณ์ เป็นรากฐาน แห่งความเจริญสูงสุดของไทย ในปัจจุบันด้วยพระปรีชาสามารถในทุกๆ ด้าน ในปีพุทธศักราช ๒๕๒๕ มีการสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี รัฐบาลและประชาชนเห็นสมควรเฉลิมพระเกียรต ิเป็นมหาราช และเพื่อให้เรียกขาน พระนามถูกต้องเหมาะสม คณะรัฐมนตรีจึงมีมติเมื่อ วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ ให้ใช้ พระนามว่า พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช<O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 15"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระปิยมหาราช พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ ๕ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ทรงเป็น นักปกครองที่ทรงมีความเป็น เลิศในทุกๆ ด้านทำให้บ้านเมืองมีความเจริญรุ่งเรือง ทัดเทียมกับอารยประเทศอื่นๆ ทรงเลิกทาส และสามารถรักษาเอกราชและอธิปไตยของประเทศ ให้รอดพ้นจากการเป็นอาณานิคมของประเทศฝ่ายตะวันตก ทรงห่วงใยความเป็นอยู่ของพสกนิกร และเสด็จทอดพระเนตรความเป็นอยู่ของพสกนิกร อย่างใกล้ชิดด้วยการเสด็จประพาสต้น มหาชนต่างเทิดทูนและจงรักภักดี ต่อพระองค์อย่างสูงสุด ในปีพุทธศักราช ๒๔๕๓ จึงร่วมกันบริจาคเงินสร้างพระบรม ราชานุสาวรีย์ถวาย และที่ฐานของพระบรมราชานุสาวรีย์มีคำจารึกซึ่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงเรียบเรียงประกาศพระเกียรติคุณว่าทรงเป็นปิยมหาราช ของพสกนิกรชาวไทยหลังจากนั้นมหาชนทั่วไป ได้ยอมรับในพระราชสมัญญาดังกล่าว และต่อท้ายพระนามว่าพระปิยมหาราช<O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 16"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระมหาธีรราชเจ้า พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ ๖แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงปรีชาสามารถในด้านการปกครองด้านการทหาร ด้านอักษรศาสตร์และวรรณกรรม เป็นที่ประจักษ์แก่พสกนิกรทั่วไปในปีพุทธศักราช ๒๔๖๙ คณะหนังสือพิมพ์ไทยเขษม จัดแสดงละครบทพระราชนิพนธ์ขึ้นในวันที่ ๑ มกราคม ๒๔๖๙ ได้มีการพิมพ์หนังสือสูจิบัตรแจกในวันงานพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) ได้คิดพระราชสมัญญา “พระมหาธีรราชเจ้า” พิมพ์เผยแพร่ในสูจิบัตรดังกล่าว หลังจากนั้นมหาชนทั่วไปได้ยอมรับและใช้แพร่หลายจนถึงในปัจจุบัน<O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 17"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">๑๐. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน สืบเนื่องจากคำถวายอาศิรวาทราชสดุดี และถวายชัยมงคลของ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรีขณะนั้น เมื่องานสโมสรสันนิบาต เนื่องในวโรกาสวันฉัตรมงคล วันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๓๐ ณ ทำเนียบรัฐบาล ดังปรากฏในเอกสารดังนี้<O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 18"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 19"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">....ในอภิลักขิตมหามงคลสมัยแห่ง “วันฉัตรมงคล” ในรอบปีที่ ๓๗ ในวันนี้ (เมื่อปี ๒๕๓๐) บรรดาอาณาประชาราษฎร์ทั้งปวงและรัฐบาล สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมหาที่สุดมิได้ จึงขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต ประกาศความสมานฉันท์พร้อมเพรียงกันเฉลิมพระเกียรติ และถวายพระราชสมัญญาเป็น“มหาราช” ด้วยความจงรักภักดีมีในปวงข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าฯ ตั้งสัตยาธิษฐานเดชะคุณพระศรีรัตนตรัย เป็นประธาน พร้อมด้วยสิ่งศักดิ์สิทธิ์โปรด อภิบาลพระบรมราชจักรีวงศ์ให้สถิตธำรง อยู่คู่ดินฟ้าและโปรดประทานชัยมงคลแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ขอจงทรงพระเจริญสิริสวัสดิ์ในไอศูรย์ ราชสมบัติแห่งสยามรัฐสีมาขอพระมหาราชเจ้า เผยแผ่พระบรมกฤษฎาเดชานุภาพ คุ้มเกล้าคุ้มกระหม่อมเหล่าพสกนิกร ตลอดในจิรัฐิติกาล เทอญ<O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 20"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent"><O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 21; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">“...เมื่อประชาชนชาวไทยในปัจจุบันได้พิจารณาข้อความจารึกที่ฐานพระบรมราชานุสรณ์ ณ ลานพระราชวังดุสิต ถึงปัจจัยที่ประชาชนในกาล ๘๐ ปีก่อนโน้น (เมื่อปี ๒๕๓๐) น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระราชสมัญญา “มหาราช” แด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว ก็ประจักษ์ชัดว่าพระบรมราชคุณูปการแห่งพระมหาราชเจ้าพระองค์นั้น มิได้ผิดเพี้ยนไปจากพระมหากรุณาธิคุณแห่งใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทแม้แต่น้อย ดังนั้นอาณาประชาราษฎร์แห่งใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ก็ยิ่งทวีความปิติปราโมทย์ มีสามัคคีสมานฉันท์เทิดทูนไว้เหนือเศียรเกล้า และภาคภูมิใจนักที่ได้มีพระบรมธรรมิกราช ผู้ทรงยิ่งด้วยพระขัตติยวัตรธรรม จึงขอ พระราชทานน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระราชสมัญญา “มหาราช” แด่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ในขณะยังทรงดำรงพระชนมชีพอยู่ในไอศูรย์ราชสมบัติ ทำนองเดียวกับประชาราษฎร์ สมัยเมื่อ ๘๒ ปี ที่ล่วงมาได้พร้อมใจกันน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย พระราชสมัญญาแก่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบรมอัยกาธิราชเจ้าว่า “พระปิยมหาราช..."

    <O:p</O:p(ที่มาข้อมูล : ขออภัย ไม่ปรากฎ เนื่องจากคัดลอกเก็บไว้ศึกษานานแล้ว ค่ะ) <O:p</O:p



    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  2. Satanina

    Satanina สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    39
    ค่าพลัง:
    +11
    ขอประนบน้อมกราบพระบาท พระภัทรมหาราชเจ้า ขอพระองค์ จงทรงพระเจริญ ยิ่งยืนนาน ค่ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 พฤษภาคม 2009
  3. ตรีทศบดี

    ตรีทศบดี Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มกราคม 2009
    โพสต์:
    87
    ค่าพลัง:
    +30
    ขอพระองค์จงทรงพนะเจริญยิ่งยืนนาน
     
  4. sammyreturn

    sammyreturn Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    25
    ค่าพลัง:
    +49
    ขอรองบาทราชวงศ์พงษ์จักรี จนชีวีสูญสิ้นดินกลบกาย
     
  5. datchanee

    datchanee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,947
    ค่าพลัง:
    +1,276
    Long Live The King
     

แชร์หน้านี้

Loading...