เมื่อจิตเกิด-ดับ การดูจิตจะเป็นไปตามความเป็นจริงได้อย่างไร???

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย ธรรมภูต, 10 สิงหาคม 2009.

  1. albertalos

    albertalos เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    2,462
    ค่าพลัง:
    +1,137
    นานาเห็นคนกำลังทำขนมรู้ไหมว่าเค้าทำขนม รู้เพราะอะไรเพราะเวลาทำก้ต้องใช้อุปกรเดียวกันทำท่าทางแบบเดียวกัน ความจำมันก้บอกว่าคนนี้ทำขนมอยู่

    แล้วเค้าทำเป็นไม่เป็นอร่อยไม่อร่อยรู้ได้อย่างไร ก้ต้องชิม ใช่ไหม
     
  2. albertalos

    albertalos เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    2,462
    ค่าพลัง:
    +1,137
    ปัญญานี้ชี้กันไห้เห็นได้ ไม่ทราบว่าหาผู้ชี้ได้หรือป่าว
     
  3. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    เราก็ว่าปัญญามันมองไม่เห็น แต่ว่าทำไมชอบว่าคนอื่นโง่ล่ะ
    หมายถึงคนอื่น ๆ รู้วาระจิต ก็ไม่ได้รู้จิต แตกต่างกันมาก
    ปัญญาเท่าไร ไม่มีใครรู้ใครได้ แม้แต่พระอรหันต์เจ้า ท่านไม่รู้กันหรอก
    นอกจากพระพุทธเจ้า


    สิ่งที่ออกไม่ใช่ สิ่งที่ใช่ไม่ออก
     
  4. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    ท่านนิวร์นำมายังไม่ครบเลยอ่ะ ..ยังขาดอยู่
     
  5. albertalos

    albertalos เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    2,462
    ค่าพลัง:
    +1,137
    เราไม่ได้ว่าๆโง่นะ
    อย่าเอาภาษามาใส่ใจไห้มาก

    คำว่าปัญญานี้ มีลักษระอาการ ดั่งแสงส่องให้เห็นสิ่งที่ปิดคลุมไว้
    ไม่ใช่คำว่าไม่มีปัญญาที่ใช้ด่าว่ากันทั่วไป

    เราอทิบายว่า การดูจิตนี้ ใช้ สติเป็นตัวกำหนดรุ้ได้ แต่การจะแยกเอาอวิชาออกได้ต้องใช้ปัญญา

    เราเสนอแนะว่าไห้เข้าหาอาจาร์เพื่อไห้ท่านแสดงธรรมที่เอื้อต่อปัญญาที่จะเห็นชัด ในขันธ์ นี้ที่ถูกอวิชาคลุมไว้

    จากกระทู้ที่เราอทิบายเรื่องขัน ของร้าน ขนมปัง และนานาบอกว่าไห้เผาทำราย มัน เราก้บอกว่า การละขาดจากกันนั้นเหมือน พระอาทิดและพระจัน เท่านั้น

    การไปด่าว่าคนอื่นโง่นั้นมันไม่เกิดประโยชน์ มองบันยัติไห้ออก มองธรรมไห้เห็น

    จะรู้ว่าผู้ใดมีปัญญาเท่าไร นั้น จะบอกว่ามีพระพุทธเจ้าอย่างเดียวนั้น ไม่ใช่

    อย่างที่เราบอก เห็นคนทำขนมท่าเราทำเป็นเราก้รู้ว่าเค้าทำขนม

    รู้อาการรู้วิทีการ ส่วน รสชาติ และหน้าตาที่จะออกมานั้น มันอยู่ที่เทอ ทำ
    งั้นรู้ว่าทำได้ทำไม่ ทำถูกทำไม่ถุก ขาดอะไร ต้องเติมอะไรเนี่ย คนที่ทำเป็นเหมือนกันย่อมรู้

    ท่าไห้อวดอุตริเราก้จะบอกว่าเรา รู้ว่าเทอยังมองขันธืนี้เป็นอัตตา
    ไม่ใช่เห็นที่ภาษานะแล้วมานั่งเยงกันว่าอัตตาเป็นอย่างไรแต่

    เทอยังละอัตตาในขันธ์ยนี้ไม่ได้ ยังมีความเชื่อว่าทำอยางนี้ๆๆๆแล้วจะสำเร็จ
    เชื่อว่าทำบุญ อย่างเดียวจะสำเร็จ เชื่อว่าทำสมาทิอย่างเดียวจะสำเร็จ เชื่อว่า มีสติจะสำเร็จ

    อุปมา มีสติ ผุ้มีสติ แต่มีในเรื่องที่ไม่เกี่ยวกับการหลุดพ้นก้ไม่เกิดปัยญา

    ปัญญา ตัวนี้และสำคัญที่สุด สำคัญที่สุดที่ช่วยไห้ เห็นอริยะสัจได้

    การรู้ตัวหรือมีสติอย่างเดียวนั้นไม่พอ
     
  6. albertalos

    albertalos เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    2,462
    ค่าพลัง:
    +1,137
    ปันยานั้นมองไม่เห็นแต่จิตนั้นมองเห็นได้
     
  7. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    เอางี้นะ เธอไปพิจารณาคำว่า เผาร้านของเรา ดูดี ๆ
    pls พิจารณาอีกรอบ บอกตามตรงเราไม่ได้ด่า
    พิจาราณาอีกที อย่าได้ตีความหมายเพี้ยน หากเธอเคยบอกวว่าเธอได้ฌาน 4
    เธอต้องมองประโยคที่ฉันพูดออก และตีได้ไม่ผิดเพี้ยน

    เณรน้อยน่ะ เทศน์ได้
     
  8. albertalos

    albertalos เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    2,462
    ค่าพลัง:
    +1,137
    เรารู้ในความหมาย แต่เราก้ต้องการบอกเทอเช่นกันว่าไห้ศึกษาเพิ่มเติมเรื่อยๆอย่าหยุด
    หมายถึงว่าที่เห้นอยู่ตอนนี้ก้ว่าจริง พอเห็นมากขึ้นก้จะเห็นที่จริงกว่า ขึ้นไป แบบนี้ ๆ
     
  9. albertalos

    albertalos เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    2,462
    ค่าพลัง:
    +1,137
    เราไม่ได้ว่าเทอว่าโง่และไม่ได้คิดว่าเทอว่าเราว่าโง่ไม่ได้มองตรงนั้นเลย
     
  10. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    <table align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="800"><tbody><tr><td colspan="2"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="800"><tbody><tr><td colspan="2">[​IMG]</td> <td colspan="2">[​IMG]</td> <td colspan="3">[​IMG]</td> <td colspan="2">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td colspan="2">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td colspan="2">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top" width="31">



    [​IMG]
    </td> <td valign="top" width="780"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="769"> <tbody><tr> <td><table background="../../../images/kal_titlebar_bg.gif" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="left">[​IMG]</td> <td align="center">[​IMG]</td> <td align="right">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td valign="top" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"><!-- #BeginEditable "content" -->


    <object classid="clsid:D27CDB6E-AE6D-11cf-96B8-444553540000" codebase="http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,29,0" width="538" height="170">

    <embed src="http://www.kalyanamitra.org/chadok/mixchadok/chadok4710/aaa.swf" quality="high" pluginspage="http://www.macromedia.com/go/getflashplayer" type="application/x-shockwave-flash" width="538" height="170"></object>
    <table border="1" width="100%" height="310"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cc9966" width="62%" height="304">
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]..... านมาแล้ว ในถ้ำเชิงเขาแห่งหนึ่ง[/FONT][FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]<o>:p>
    </o>:p>เป็นที่อาศัยของราชสีห์กับเสือโคร่ง<o>:p>
    </o>:p>ทั้งสองอยู่ถ้ำเดียวกัน ด้วยความผาสุกตลอดมา
    [/FONT]<o>:p></o>:p>​
    </td> <td bgcolor="#66ccff" width="38%">[​IMG][​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="1" width="100%"> <tbody><tr> <td width="44%">
    [​IMG]
    </td> <td bgcolor="#cc9966">
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]ตามปกติ ราชสีห์ชอบออกหากินในคืนเดือนหงาย [/FONT] ​
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="1" width="100%" height="0%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cc9966" width="52%" height="100%">
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]ครั้งตกดึกลมแรงก็เกิดหนาวสั่น
    จึงหลงเข้าใจว่าอากาศหนาวเพราะคืนข้างขึ้น
    [/FONT]​
    <o>:p></o>:p>​
    </td> <td width="48%">
    [​IMG]
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="1" width="100%" height="118"> <tbody><tr> <td valign="middle" width="50%" height="112">
    [​IMG]
    </td> <td bgcolor="#cc9966" valign="middle" width="50%">
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]ส่วนเสือโคร่งชอบออกล่าเหยื่อในคืนเดือนมืด[/FONT]​
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="1" width="100%" height="200"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cc9966" width="40%" height="194">
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]พอลมพัดมาแรงจัด ก็รู้สึกหนาวจึงทักเอาว่า
    อากาศหนาวเพราะข้างแรม
    [/FONT]
    </td> <td width="60%">
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif][​IMG] [/FONT]​
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="1" width="100%" height="230"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cc9966" width="54%" height="224">
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]อยู่มาวันหนึ่ง สัตว์ทั้งสองสนทนากัน
    ถึงเรื่องลมฟ้าอากาศ เสือโคร่งได้พูดขึ้นว่า
    [/FONT]​
    </td> <td width="46%">
    [​IMG]
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="1" width="100%"> <tbody><tr> <td width="31%">
    [​IMG][​IMG]
    </td> <td bgcolor="#cc9966">
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]เมื่อราชสีห์ได้ฟังดังนั้น จึงแย้งกลับ[/FONT]
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="1" width="100%" height="188"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cc9966" width="63%" height="182">
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]ฝ่ายเสือโคร่งก็กลับแย้งว่า[/FONT]​
    </td> <td width="37%">
    [​IMG][​IMG]
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="1" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cc9966" width="58%">

    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]แต่ราชสีห์ค้านว่า [/FONT]
    </td> <td width="42%">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="1" width="100%"> <tbody><tr> <td width="32%">
    [​IMG][​IMG]
    </td> <td bgcolor="#cc9966" width="68%">
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]ทั้งเสือโคร่งและราชสีห์
    ต่างแผดเสียงเถียงกันลั่นป่า
    [/FONT][FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]
    [/FONT]​
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="1" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cc9966" width="57%" height="176">
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]เมื่อหาข้อยุติไม่ได้ ทั้งสอง
    จึงชวนกันไปหาฤาษี
    ซึ่งบำเพ็ญตบะอยู่ ณ เชิงขาแห่งนั้น
    [/FONT]​
    </td> <td width="7%">[​IMG]</td> <td width="36%">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="1" width="770" height="0%"> <tbody><tr> <td width="219" height="100%">
    [​IMG]
    </td> <td bgcolor="#cc9966" width="334">
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]เมื่อสัตว์ทั้งสองไปถึง
    จึงเล่าเรื่องที่เกิดขึ้นให้ท่านฟัง
    [/FONT]​
    </td> <td width="195">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="1" width="770" height="0%"> <tbody><tr> <td width="435" height="100%"> [​IMG][​IMG]</td> <td bgcolor="#cc9966" width="319">
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]เมื่อพระฤาษีได้ฟังเรื่องราวทั้งหมดแล้ว[/FONT]​
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="1" width="770" height="0%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cc9966" width="435" height="100%">
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]จึงได้อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับ
    ข้างขึ้นและข้างแรมแก่สัตว์ทั้งสองว่า
    [/FONT]​
    </td> <td width="319">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="1" width="770" height="0%"> <tbody><tr> <td height="100%">
    [​IMG][​IMG][​IMG]
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="1" width="622" height="0%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cc9966" width="647" height="100%">
    [​IMG][​IMG][​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cc9966" height="44">
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]เมื่อราชสีห์และเสือโคร่งทราบความจริงจากพระฤาษีแล้ว
    ก็หมดทิฏฐิ เดินกลับถ้ำที่อยู่ของตนด้วยความสุขใจ ...............
    [/FONT][FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]
    [/FONT]
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="764" height="74"> <tbody><tr> <td colspan="3" height="5">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="56" height="19">[​IMG]</td> <td width="653">
    Copyright © Dhammakaya Foundation. All rights reserved.
    </td> <td width="55">
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3" height="2">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td height="3">[​IMG]</td> <td height="3">
    จบ
    </td> <td height="3">
    </td> </tr> <tr> <td height="5">[​IMG]</td> <td colspan="2" height="5">
    ที่มา : หนังสือนิทานชาดก โดย พระภาวนาวิริยคุณ ​
    </td> </tr> <tr> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="70%" height="871"> <tbody> <tr valign="top"> <td rowspan="2" width="8%">[​IMG]</td> <td align="middle" bgcolor="#b8e9ed" width="84%" height="7">
    </td> <td rowspan="2" align="right" width="8%">[​IMG]</td> </tr> <tr valign="top"> <td align="middle" width="84%" height="791"> <table border="0" width="100%"> <tbody><tr> <td height="21">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1" width="100%"> <tbody> <tr align="middle"> <td height="3">[</td> </tr> </tbody> </table> <table align="center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody> <tr> <td rowspan="3" width="10">
    </td> <td class="normal_en" align="middle" width="183">
    มาลุตชาดก
    </td> <td rowspan="5" align="middle" width="10">
    </td> </tr> <tr> <td class="normal_en" align="middle" width="20" height="6">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td class="normal_en" align="middle">
    :: สาเหตุที่ตรัสชาดก ::
    </td> </tr> </tbody> </table> <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1" width="100%"> <tbody> <tr align="middle"> <td height="3">
    </td> </tr> <tr align="middle"> <td background="buddha1.jpg" height="229">
    ......ครั้งหนึ่งในสมัยพุทธกาล มีพระหลวงตาสองรูปชื่อ พระกาฬะ และพระชุณหะ
    ทั้งสองรูปตั้งใจปฏิบัติธรรมอย่างเคร่งครัดอยู่ในป่าแห่งหนึ่งในเขตชนบท
    แคว้นโกศล อย่างไรก็ดี พระทั้งสองรูปยังติดนิสัยตั้งแต่สมัยเป็นฆราวาส
    มาคนละอย่างคือ พระชุณหะชมชอบความงามของพระจันทร์เต็มดวงข้างขึ้น
    ส่วนพระกาฬะชอบมองหมู่ดาวที่ส่องแสงระยิบระยับจับตาในคืนข้างแรม
    .....วันหนึ่ง พระหลวงตาทั้งสองได้มาพบปะสนทนากันถึงเรื่องลมฟ้าอากาศ
    พระชุณหะจึงถามพระกาฬะขึ้นว่า " ท่านรู้หรือไม่ว่า คืนไหนอากาศจะหนาวจัด ?
    " พระกาฬะตอบทันทีว่า " คืนข้างแรมสิ! เราสังเกตมานานแล้ว พบว่าถ้าคืนไหน
    เป็นคืนข้างแรม คืนนั้นอากาศจะหนาวจัดทุกที " พระชุณหะได้ฟังดังนั้นจึงแย้งว่า
    " เราก็อยู่ป่ามานาน แต่สังเกตเห็นว่า อากาศหนาวจัดในคืนข้างขึ้นต่างหาก "

    .....หลวงตาทั้งสองโต้เถียงกันด้วยเรื่องนี้เป็นเวลานาน แต่ไม่อาจจะหาข้อยุติได้
    ในที่สุดจึงชวนกันออกเดินทางไปเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อให้พระพุทธองค์ตัดสินให้
    .....พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงดำริว่า พระภิกษุสองรูปนี้อุตส่าห์เดินทางไกลเป็นเวลา
    แรมเดือนข้ามเขตแดนชนบทน้อยใหญ่มายังนครสาวัตถี เพียงเพื่อให้พระองค์ตัดสิน
    ปัญหาอันไม่เป็นสาระ ด้วยต่างฝ่ายต่างถือทิฐิมานะเข้าหากัน หลงยึดมั่นแต่
    ความคิดเห็นของตนโดยไม่พิจารณาถึงสาเหตุที่แท้จริง เช่นนี้จึงทรงระลึกชาติ
    ด้วยบุพเพนิวาสานุสติญาณ แล้วตรัสว่า

    ....." ดูก่อนภิกษุ เมื่อชาติก่อนโน้น เราก็ตอบปัญหานี้แก่เธอทั้งสองแล้ว
    แต่เธอจำไม่ได้จึงต้องย้อนมาถามปัญหาเดิมซ้ำอีก " พระหลวงตาทั้งสอง
    รู้สึกแปลกใจ จึงกราบทูลอาราธนาให้พระพุทธองค์ทรงเล่าเรื่องราวในอดีตชาติ
    ของตนให้ฟัง พระพุทธองค์จึงทรงแสดง มาลุตชาดก มีเนื้อความดังนี้
    <hr width="75%">
    <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1" width="100%"> <tbody> <tr align="middle"> <td height="3">
    </td> </tr> </tbody> </table> <table align="center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody> <tr> <td width="10">
    </td> <td class="normal_en" align="middle" width="183">
    :: ข้อคิดจากชาดก ::
    </td> <td align="middle" width="10">
    </td> </tr> </tbody> </table> <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1" width="100%"> <tbody> <tr align="middle"> <td height="3">
    </td> </tr> </tbody> </table>
    .....เมื่อมีปัญหาหรือข้อขัดแย้งใด ๆ เกิดขึ้น ควรพิจารณาดังนี้
    .....๑. ตรวจสอบข้อเท็จจริงให้ดีก่อน โดยไตร่ตรองว่าอะไรเป็นเหตุ
    .........อะไรเป็นผล เพื่อประกอบการพิจารณา
    .....๒. ฟังทั้งข้อเสนอของอีกฝ่ายหนึ่ง ไม่ถือทิฏฐิมานะ เอาแต่ใจตนเองเป็นใหญ่
    .....๓. พูดให้ไพเราะที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพื่อมิให้อีกฝ่ายมีทิฏฐิมานะมากขึ้น
    .........หากยังหาข้อยุติไม่ได้ ควรให้ผู้รู้จริงช่วยตัดสิน
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>​
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  11. visutto

    visutto เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    3,541
    ค่าพลัง:
    +1,167
    การกวาดลานวัด เป็นข้อวัตรปฏิบัติอย่างหนึ่ง..
    เป็นอุบายธรรมอันแยบคาย...เป็นหนึ่งในขั้นตอนที่ฝึกทั้งกายและจิตเรา

    ในด้านการฝึกกาย..
    ปกติร่างกายคนเรา ถ้าไม่ออกกำลังกายจะรู้สึกไม่กระปรี๊กระเปร่า ร่างกายมันจะหนักอืด
    สังเกตุดูถ้าเป็นคนรูปร่างอ้วนนั่งขัดสมาธิไม่ได้นาน เพราะแข้งขาหนัก เหนื่อยง่ายกว่าคนรูปร่างปกติ พระท่านจึงออกอุบายให้เรากวาดลานวัด เพื่อเป็นการออกกำลังกาย ให้ร่างกายมันเบา จึงถือเป็นการฝึกกาย เพื่อร่างกายมันเหนื่อยล้า เมื่อไปนั่งสมาธิภาวนาต่อ จิตจะรวมเร็ว บางองค์บางท่านจะใช้วิธีเดินจงกรม เพื่อในแนวทางอุบายนี้ เพื่อให้จิตรวมเร็วเช่นกัน

    ในด้านการฝึกจิต..
    ในขณะที่กวาดลานวัด จะต้องสังเกตุจิตใจตนเองไปด้วย เช่น ที่อารมณ์คุณนานาหงุดหงิด กวาดไป ใบไม้ก็ร่วงไม่มีหยุด...พอมากวาดไปเรื่อยๆ สมาธิเริ่มเกิดและเพลินกับการกวาด นั่นแหละคือ อุบายธรรมในการภาวนาของครูบาอาจารย์ที่ท่านให้เรากวาดลานวัด แม้แต่กรณีตักน้ำ เช็ดกุฏิ ฯลฯ เราจะเห็นคุณประโยชน์ในอุบายที่ท่านพร่ำสอนมากขึ้นตามลำดับ...

    จนเมื่อผลการปฏิบัติของเราก้าวหน้าถูกต้องตรงทาง เป็นไปตามขั้นตอนอย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย เราจะซาบซึ้งในพระคุณของพ่อแม่ครูจารย์ คำๆนี้..เราจะเข้าใจอย่างถ่องแท้..คือท่านเป็นทั้งพ่อแม่เป็นทั้งครูอาจารย์ในคนๆเดียวกัน

    ไม่มีการอบรมสอนพ่อแม่ครูจารย์ ก็จะไม่มีเราในวันนี้...

    เจริญในธรรม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2009
  12. เล่าปัง

    เล่าปัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    4,787
    ค่าพลัง:
    +7,918
    การ"กระดิกนิ้ว หรือสร้างจังหวะ" เป็นข้อวัตรปฏิบัติอย่างหนึ่ง..
    เป็นอุบายธรรมอันแยบคาย...เป็นหนึ่งในขั้นตอนที่ฝึกทั้งกายและจิตเรา

    ในด้านการฝึกกาย..
    ปกติร่างกายคนเรา ถ้าไม่ออกกำลังกายจะรู้สึกไม่กระปรี๊กระเปร่า ร่างกายมันจะหนักอืด
    สังเกตุดูถ้าเป็นคนแก่ พิการบางส่วน หรือรูปร่างอ้วนนั่งขัดสมาธิไม่ได้นาน เพราะแข้งขาหนัก เหนื่อยง่ายกว่าคนรูปร่างปกติ สมองก็เชื่อยชา พระท่านจึงออกอุบายให้เรากวาดลานวัด เพื่อเป็นการออกกำลังกาย ให้ร่างกายมันเบา จึงถือเป็นการฝึกกาย เพื่อร่างกายมันเหนื่อยได้กระปี้กระเป่า เป็นชาคริยานุโยค เมื่อไป"กระดิกนิ้ว หรือสร้างจังหวะ"ทำสมาธิภาวนาต่อ จิตจะรวมเร็ว บางองค์บางท่านจะใช้วิธีเดินจงกรม เพื่อในแนวทางอุบายนี้ เพื่อให้จิตรวมเร็วเช่นกัน

    ในด้านการฝึกจิต..
    ในขณะที่"กระดิกนิ้ว หรือสร้างจังหวะ" จะต้องสังเกตุจิตใจตนเองไปด้วย เช่น ที่อารมณ์หงุดหงิด "กระดิกนิ้ว หรือสร้างจังหวะ"ก็ง่วงไม่มีหยุด...พอ"กระดิกนิ้ว หรือสร้างจังหวะ"ไปเรื่อยๆ สมาธิเริ่มเกิดและเพลินกับ"กระดิกนิ้ว หรือสร้างจังหวะ" นั่นแหละคือ อุบายธรรมในการภาวนาของครูบาอาจารย์ที่ท่านให้เรา"กระดิกนิ้ว หรือสร้างจังหวะ" แม้แต่กรณีตักน้ำ เช็ดกุฏิ ฯลฯ เราจะเห็นคุณประโยชน์ในอุบายที่ท่านพร่ำสอนมากขึ้นตามลำดับ...

    จนเมื่อผลการปฏิบัติของเราก้าวหน้าถูกต้องตรงทาง เป็นไปตามขั้นตอนอย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย เราจะซาบซึ้งในพระคุณของพ่อแม่ครูจารย์ คำๆนี้..เราจะเข้าใจอย่างถ่องแท้..คือท่านเป็นทั้งพ่อแม่เป็นทั้งครูอาจารย์ในคนๆเดียวกัน

    ไม่มีการอบรมสอนพ่อแม่ครูจารย์ ก็จะไม่มีเราในวันนี้...

    "สติมา ปัญญาเกิด"
     
  13. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    สาธุ ค่ะ คุณวิสุทโธ ที่ช่วยอธิบาย อุบายธรรม
    เพราะว่า บางคนเขาไม่เข้าใจก็มี ค่ะ อย่างโดนด่า โดนเอ็ด ทำโน่นทำนี่
    ถึงกับไม่เข้าวัดอีกเลย นานาเป็นคนน้ามึนนิดหนึ่งและหัวแข็งน่ะ เลยทน ๆ
    แต่ก็ได้ผลเกิดคลาดเหมือนกัน ในการที่เราเชื่อครูอาจารย์ ค่ะ
     
  14. visutto

    visutto เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    3,541
    ค่าพลัง:
    +1,167
    เพราะเส้นทางในการปฏิบัติของพ่อแม่ครูจารย์
    ทุกอย่างท่านได้พบประสบมาหมดแล้ว..
    บางอย่างท่านก็สอนตรงๆ..บางอย่างท่านก็สอนโดยวิธีทางอ้อม
    ทั้งนี้..เพื่อเป็นประโยชน์ต่อศานุศิษย์..

    ดังคำที่ว่า..ถึงเอ็งไม่คิดถึงข้า...แต่ข้าก็คิดถึงเอ็ง..
    เพราะอาจารย์ไม่เคยลืมศิษย์ มีแต่ศิษย์มักจะลืมอาจารย์

    เมื่อเราต้องการไปศึกษาเพิ่มเติมต่ออาจารย์ท่านอื่น..
    พ่อแม่ครูจารย์ท่านจะสอบถามด้วยความห่วงใย..
    ถ้าเป็นองค์ที่ท่านรู้จักกันดี..ท่านก็จะฝากฝังในตัวเรา
    หรือเป็นองค์ที่ถึงพร้อมในคุณธรรม..ท่านก็จะสรรเสริญ..
    ถ้าเป็นองค์ที่ท่านไม่รู้จัก..ท่านก็ไม่ห้าม...แต่ให้เราลองไปศึกษาค้นคว้าเอง..
    อาจารย์ไม่เคยหวงลูกศิษย์..มีแต่ลูกศิษย์หวงอาจารย์
     
  15. เล่าปัง

    เล่าปัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    4,787
    ค่าพลัง:
    +7,918
    หงะ ไม่เอา ผมขโมยเขามา ดัดแปลงเห็นๆ นิ

    ยกคืนเขาไปเน๊าะ สำนวนเขาดี คนมาทีหลังไม่เหนื่อย
     
  16. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    [​IMG]
     
  17. Tboon

    Tboon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    2,094
    ค่าพลัง:
    +3,424
    แม่นแล้วท่านเล่าปัง

    เทคนิคกระดิกนิ้วนี้ เป็นแค่อุบายให้จิตมีที่ยึดเกาะ ไม่ให้ร่องลอยไปกับสายลม วัน ๆ เอาแต่นั่งสมาธิหลับตามันคงจะไม่ได้ไง ถ้าคนเข้าใจแล้ว จะรู้ว่ามันใช้ได้จริง ต่อไปกระดิกนิ้วมือ นิ้วเท้า ขยับกาย เคลื่อนไหว สติต้องรู้เท่าทันหมด เผลอบ้างเป็นเรื่องธรรมดา ใหม่ ๆ ผมแนะให้กระดิกหรือหมุนนิ้ว หรือ ถูมือ มีจิตจดจ่ออยู่ที่การเคลื่อนไหวนั้น (จริง ๆ มันเป็นของหยาบกว่าการดูลมหายใจนะ) บางทีถ้ามีโอกาสผมให้เขาทำต่อหน้าผม พอสัมผัสได้ว่ามีพลังงานออกปั๊บ ผมก็บอกให้เอาไปทำต่อ ให้เขาสังเกตให้ได้อย่างที่ทำต่อหน้าผมอย่างนี้

    ทีนี้ต่อไป ถ้าทำจนเพลิน ผมให้เปลี่ยน ไม่ให้เพลินจมแช่ ให้ทำตรงไหนให้ได้ผลอย่างเดียวกันนั้น ให้ว่าง ให้โล่ง ลมหายใจเนียน ๆ เบาสบายอย่างเดียวกันนั้น สลับไปทุกที่ ไม่ต้องมีรูปแบบตายตัว นี่มันยิ่งกว่าเดินจงกรมเสียอีก สมาธิปึ้กเลย ถ้าทำได้ ต่อไปทำงานอะไรให้รู้ตัวเสมอ ๆ เคลื่อนไหวอิริยาบถก็ให้รู้ตัว จิตมันก็สงบมีพลังขึ้น ๆ มาได้ เป็นการล้างพฤติกรรมเดิม ๆ ที่เคยฟุ้งซ่านได้ดีเหมือนกัน พวกง่วงเก่ง ๆ จับลมแล้วง่วง มาเล่นตรงนี้ลองดูก็ไม่เสียหาย เมื่อเรื่องฟุ้งมันมีน้อย การตามรู้ในอาการหลงจึงมีความเ็ป็นไปได้ ถ้าเรารู้จักควบคุมเป็น ต่อจากนี้ไปเป็นเรื่องของการสังเกตเอาเอง ขึ้นอยู่กับวาสนาบารมีของเขา เราก็เติมให้เขาตามสมควร ถึงเวลาถ้าไม่ละความเีพียร ก็เข้าใจได้เอง
     
  18. Tboon

    Tboon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    2,094
    ค่าพลัง:
    +3,424
    ถ้าเข้าใจแล้ว อะไรมันก็ใช้ได้หมด ขอให้วางใจถูกเป็นใช้ได้...
     
  19. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    แม่นจนทะลุซ้ำรอยเดิม ... ถ้าเข้าใจวิธีการ ทำอะไรก็โอ.. เว้นเสียแต่อกุศล
     
  20. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    เอ่อ...ท่านคะ
    หัดเดิน กับเดินเองได้แล้ว นี่คนละสภาวะ นะเจ้าคะ
    พวกที่เดินได้แล้ว หมายถึงพวกที่ไม่ลงอบายแล้ว ประมาณพระอริยเจ้านู้น เจ้าค่ะ
    คนหัดเดิน ก็ปุถุชนคนมีล้มมีลุก ปล่อยมือก็หกคะเมนตีลังกา มีเจ็บตัว
    มีลงอบาย อยากเดินเป็นก็ต้องมีการลงทุน มีขาดทุน มีกำไร
    ก็หัดปล่อยมือเพื่อเดินบ้าง พอจะล้มก็จับราวไว้บ้าง เตาะแตะไป
    พอจะเดินลิ่วๆ ก็ต้องปล่อยมือ ถ้ายึดมันก็เดินต่อไปไม่ได้ ประมาณนี้ อะค่ะ
    แต่มีคนบางพวก ไม่ชอบหัดเดิน ชอบอยู่กับที่สร้างบ้านแปลงเมือง
    สร้างบ้านไว้อลังการแล้ว ก็รักที่จะอยู่ในบ้านอย่างเดียว
    อิฉันหมายถึงประมาณนี้ค่ะ
    ถ้ายึดมั่นเรื่องคนเดินทางอยู่ ก็คงอยู่ต่อไปกับคนนั้นแหละค่ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2009

แชร์หน้านี้

Loading...