พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. aries2947

    aries2947 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    2,031
    ค่าพลัง:
    +11,622
    ขอบคุณครับพี่เพชร
     
  2. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    นอกจากประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามแล้วอำเภอนาดูนยังมีปูชนียสถานอันทรงคุณค่าและมีความหมายที่ชี้ให้เห็นเด่นชัดถึงความเป็นดินแดนแห่งอารยธรรม ของนครจัมปาศรี อาทิเช่น
    <O:p</O:p
    พระธาตุนาดูน เป็นปูชนียสถานที่สำคัญ ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งมีการขุดค้นพบ[​IMG]สถูปจากซากโบราณสถาน ในปี พ.ศ.2522 ซึ่งพระบรมสารีริกธาตุ ประดิษฐานในตลับ 3 ชั้น ชั้นในเป็นทองคำ ชั้นกลางเป็นเงิน ชั้นนอกเป็นสัมฤทธิ์ ซ้อนกันเรียงตามลำดับ และบรรจุอยู่ในสถูปจำลองอีกชั้นหนึ่ง อุบัติการณ์ของพระบรมสารีริกธาตุครั้งนี้ เป็นนิมิตหมายอันดีแก่ชาวประชาอย่างยิ่ง จึงได้ก่อสร้างพระสถูปเจดีย์ ประดิษฐานไว้ให้มั่นคง เป็นปูชนียสถานและสิริมงคลอน นคือแก่ภูมิภาคนี้ต่อไป และเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาตามแนวทางแห่งบรรพชน<O:p</O:p

    รอบบริเวณของพระธาตุนาดูน จะเป็นพุทธานุสรณ์สถานในภาคอีสานที่เรียกว่า
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010024.jpg
      P1010024.jpg
      ขนาดไฟล์:
      148.6 KB
      เปิดดู:
      91
    • P1010003.jpg
      P1010003.jpg
      ขนาดไฟล์:
      97.6 KB
      เปิดดู:
      85
    • P1010009.jpg
      P1010009.jpg
      ขนาดไฟล์:
      195.9 KB
      เปิดดู:
      97
  3. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    อีกสถานที่หนึ่งที่สำคัญ ซึ่งอยู่ห่างจากพระธาตุนาดูนไประมาณ 3 กิโลเมตร จะเป็นบ่อน้ำที่มีน้ำผุดขึ้นมาจากพื้นดินอยู่ตลอดเวลา ไม่มีเหือดแห้ง ชาวบ้านได้เรียกบ่อน้ำแห่งนี้ว่า “บ่อน้ำดูน”เมื่อครั้ง พ.ศ.2418 กระทรวงมหาดไทยได้สั่งการให้หัวเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดหาน้ำในสระจัดส่งไปร่วมในพระราชพิธีรัชมหามังคลาภิเษก รัชกาลที่ 7 จึงมีประชาชนล่ำลือว่าเมื่อนำน้ำจากบ่อน้ำดูนมาอาบกินโคที่เจ็บป่วยอยู่นั้นก็จะหาย และได้นำน้ำในบ่อน้ำดูนส่งเข้าทูลเกล้าในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ด้วยสาเหตุนี้จึง เรียกบ่อน้ำแห่งนี้ว่า บ่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ ดังนั้นเมื่อมีพิธีศักดิ์สิทธิ์ในปัจจุบันทางหน่วยงานและชาวบ้านก็จะมานำน้ำจากบ่อนี้ไปใช้ในพิธีเสมอ
    <O:p</O:p
    เมืองโบราณ เป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญอีกแห่งหนึ่ง เนื่องจากเป็นย่านที่อยู่ของชุมชนโบราณ นครจัมปาศรี ปัจจุบันบริเวณแห่งนี้ตั้งอยู่ในเขตหมู่บ้านกู่ บ้านดงสวรรค์ บ้านหนองแคน บ้านหนองทุ่ม บ้านสระบัว ตำบลกู่สันตรัตน์ และบ้านโพธิ์ทอง ตำบลพระธาตุอำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งในสมัยโบราณดินแดนแห่งนี้มีความเจริญรุ่งเรือง และเป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนา สันนิษฐานได้จากหลักฐานที่ขุดค้นพบนั่นเอง<O:p</O:p
    [​IMG]
    กู่สันตรัตน์ เป็นโบราณสถานสร้างด้วยศิลาแลง แบบแผนผังและรูปประติมากรรมที่พบสันนิษฐานได้ว่าน่าจะเป็นศาสนสถานที่สร้างขึ้นเพื่อประกอบพิธีทางศาสนา และเป็นที่พักรักษาคนเจ็บป่วย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถได้ทรงเสด็จมาทอดพระเนตรและทรงเยี่ยมราษฎร เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2514 <O:p</O:p
    [​IMG]
    ห่างจากกู่สันตรัตน์ไปทางทิศตะวันออกประมาณ 500 เมตร จะเป็นโบราณสถานชื่อว่า “กู่น้อย” สร้างด้วยศิลาแลงและหินทรายสีแดง มีปรางค์กู่ 1 หลังตั้งตรงกลางล้อมรอบด้วยกำแพงศิลาแลงหนึ่งชั้น ด้านหน้าปรางค์กู่ทางทิศตะวันออกจะสร้างเป็นอาคารไม้สำหรับเป็นที่พักและประกอบศาสนกิจ ปัจจุบันอาคารไม้ไม่เหลือให้เห็น คงเหลือเฉพาะหลุมหินสำหรับฝังเสาขนาดใหญ่ให้เห็นเท่านั้น และห่างจากกู่สันตรัตน์ไปทางทิศเหนือประมาณ 500 เมตร จากหลักฐานและซากปรักหักพัง สันนิษฐานว่า สถานที่แห่งนี้เป็นสถานที่ประกอบศาสนกิจอีกแห่งและทางด้านทิศตะวันออก จะเป็นโรงช้าง โรงม้า เพราะมีหลักฐานที่ปรากฏ คือ เสาไม้ยาว 5 เมตร และพบซากกระดูกฟันสัตว์เป็นจำนวนมาก ต่อมาได้ขุดค้นพบเทวรูปนางอุมา ซึ่งทำด้วยหินทรายสีขาวจึงมีผู้ขนานนามสถานที่แห่งนี้ว่า “ศาลานางขาว”
    <O:p</O:p
    จะเห็นได้ว่า นครจัมปาศรี เมื่อครั้งอดีตกาลเป็นดินแดนที่เจริญทั้งด้านศิลปะขนบธรรมเนียมประเพณี และด้านศาสนา ดูได้จากโบราณสถานและปูชนียสถานทั้งหลาย ล้วนมีความเกี่ยวข้องกับศาสนกิจทั้งสิ้น ประเพณีที่สืบทอดต่อกันมาก็เน้นการทำบุญทำทาน อุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้บรรพบุรุษและผู้ล่วงลับไปแล้ว อารยธรรมอันดีงามเหล่านี้มิใช่เกิดขึ้นมาเพียง 10 หรือ20 ปี แต่สืบทอดมาเป็นเวลานับพันปีมาแล้ว ปัจจุบันอำเภอนาดูนแม้จะเป็นเพียงอำเภอเล็กๆในจังหวัดมหาสารคามเท่านั้น แต่กลับยิ่งใหญ่ด้านอารยธรรมและความศรัทธาด้านพุทธศาสนา จึงไม่น่าแปลกที่เมื่อมาเยือนดินแดงแห่งนี้ จะได้รับการต้อนรับด้วยความอบอุ่น ยิ้มแย้ม และเป็นกันเอง ทำให้นึกถึงคำพูดที่ว่า “บรรพชนปลูกต้นไม้ไว้ ลูกหลานได้ร่มเย็น” ดังนั้นทุกๆปี ทางจังหวัดมหาสารคามจะได้มีการจัดงานนมัสการพระธาตุนาดูน ตรงกับวันเพ็ญเดือน 3 หรือวันมาฆบูชา ซึ่งมีผู้คนจากทั่วทุกสารทิศมาร่วมพิธี โดยแต่งกายนุ่งขาวห่มขาว ร่วมกันสวดมนต์ดังกึกก้องกังวานราวกับเสียงระฆังสวรรค์ เราซึ่งเป็นอนุชนรุ่นหลัง ควรสืบทอดความดีงามให้คงอยู่คู่ดินแดนแห่งนี้ ตราบนานเท่านาน<O:p</O:p
    <O:p

    <!-- -->
    Prev: บทที่1การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างการสอนโดยใช้เกมกับการสอนแบบปกติ
    Next: บทความทางวิชาการ เรื่อง Web Quest การเรียนรู้อย่างมีความสุข
    http://muiya.multiply.com/journal/item/9

    นำภาพเมื่อคราวที่ไปเยี่ยมชมกู่สันตรัตน์ ปีพ.ศ.๒๕๔๙ มาให้ชมกันผมคิดว่าที่นี่น่าจะเป็นอโรคยาศาลาที่สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗

    พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ (พ.ศ. ๑๗๒๔ – ๑๗๖๑)
    พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ทรงสืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์มหิธรปุระโดยทางพระราชบิดา (พระเจ้าธรณินธรวรมันที่ ๒) ส่วนพระราชมารดานั้นก็ทรงเป็นพระราชธิดาของพระเจ้าหรรษวรมันที่ ๓ พระองค์ทรงขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. ๑๗๒๔ และอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงชัยราชเทวี แต่พระนางสวรรคตเมื่อพระชนม์ยังน้อย พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ จึงทรงอภิเษกสมรสกับพระนางอินทรเทวี ซึ่งเป็นพระพี่นางของพระนางชัยราชเทวีอีกครั้งหนึ่ง พระนางอินทรเทวีทรงมีความรู้หลากหลาย ทรงรอบรู้ในปรัชญา และทรงนับถือพระพุทธศาสนามหายาน
    พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ทรงมีพระเมตตาต่ออาณาประชาราษฎร์เป็นอย่างยิ่ง ทรงโปรดให้สร้างสิ่งอันเป็นสาธารณประโยชน์ต่อประชาชนเป็นจำนวนมาก ซึ่งการก่อสร้างนี้เอง เป็นเหตุให้สิ้นเปลืองราชอาณาจักรทรุดโทรมลงในเวลาต่อมา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่ทรงโปรดให้สร้างสถานพยาบาลหรือที่เราจะเรียกกันต่อไปนี้ว่า “โรงพยาบาล” นั้นถึง ๑๐๒ แห่ง ทั่วทั้งราชอาณาจักร เพื่อเป็นที่รักษาคนป่วย อีกทั้งยังพระราชทานข้าวของเครื่องใช้ตลอดจนยารักษาโรคนั้น ทำให้สิ้นเปลืองพระราชทรัพย์ไปเป็นอันมาก

    “อโรคยาศาล” หรือ “โรงพยาบาล” ของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗
    อโรคยาศาล หรือ โรงพยาบาล ประกอบด้วยปรางค์ประธาน มีอาคารที่เรียกว่า บรรณาลัยสร้างด้วยศิลาแลง หันหน้าเข้าสู่ตัวปราสาทประธาน ล้อมรอบด้วยกำแพงแก้ว ตำแหน่งของบรรณาลัยมักจะอยู่ค่อนไปที่มุมด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้เสมอ มีซุ้มประตูทางเข้าที่เรียกว่า โคปุระ ทางด้านหน้าเพียงแห่งเดียว ตั้งอยู่ใกล้ๆ จุดกึ่งกลางของกำแพงแก้วด้านทิศตะวันออก บริเวณด้านนอกกำแพงแก้วด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือจะมีสระน้ำรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือที่เรียกว่า บาราย หรือสระน้ำศักดิ์สิทธิ์กรุด้วยศิลาแลง อโรคยาศาล เป็นสถานพยาบาลที่สร้างขึ้นตามรายทางโบราณของอาณาจักรขอมสมัยพระนคร จะเชื่อมกับปราสาทนครธม และปราสาทหินอื่นๆ ที่พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ได้แผ่พระราชอำนาจไป ถึงและสร้างปราสาทหินเอาไว้

    “โรงพยาบาล” ในจารึก
    ผู้เขียนได้รวบรวมข้อมูลคำอ่าน – คำแปลของจารึกในกลุ่มจารึกพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ทั้งหมด ๖ หลัก ได้แก่ จารึกพบที่จังหวัดสุรินทร์ ๓ หลัก คือ จารึกปราสาท (สร. ๔), จารึกตาเมียนโตจ (สร. ๑),จารึกสุรินทร์ ๒ (สร. ๖) จารึกพบที่จังหวัดนครราชสีมา ๑ หลัก คือ จารึกเมืองพิมาย (นม. ๑๗) จารึกพบที่จังหวัดบุรีรัมย์ ๑ หลัก คือ จารึกด่านประคำ (บร. ๒) และจารึกพบที่จังหวัดชัยภูมิ ๑ หลัก คือจารึกวัดกู่บ้านหนองบัว (ชย. ๖) เมื่อได้พิจารณาและเปรียบเทียบในส่วนของเนื้อหาแล้วพบว่า ทุกหลักมีเนื้อหาและการเรียงลำดับข้อมูลเหมือนกัน กล่าวคือ

    จารึกด้านที่ ๑ จะขึ้นต้นด้วยการกล่าวนมัสการเทพประจำโรงพยาบาล ตามด้วยสรรเสริญพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ และพระเทวี พร้อมกล่าวถึงมูลเหตุที่สร้าง “โรงพยาบาล”
    จารึกด้านที่ ๒ กล่าวถึงจำนวนเจ้าหน้าที่ประจำโรงพยาบาลตลอดจนหน้าที่ของแต่ละคน
    จารึกด้านที่ ๓ กล่าวถึงจำนวนสิ่งของเครื่องใช้ที่พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ได้อุทิศไว้เพื่อใช้ในโรงพยาบาลแต่ละแห่ง
    และจารึกด้านที่ ๔ กล่าวสรรเสริญและอำนวยพรแก่พระราชาผู้ได้กระทำกุศล อีกทั้งประกาศข้อห้ามต่างๆ ในโรงพยาบาล

    ข้อแตกต่างของจารึกแต่ละหลักมีเพียงส่วนของจำนวนเจ้าหน้าที่ และจำนวนสิ่งของที่ได้รับมาจากพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ เท่านั้น อย่างไรก็ดี เมื่อตัดข้อแตกต่างปลีกย่อยเหล่านี้ไป ก็พบว่าเนื้อหาจารึกโดยรวมนั้น ได้ระบุถึงส่วนประกอบสำคัญที่ประกอบกันขึ้นเป็น “โรงพยาบาล” อันมีอยู่ ๓ ส่วนด้วยกัน ได้แก่
    - เทพประจำโรงพยาบาล
    - เจ้าหน้าที่ประจำโรงพยาบาล
    - สิ่งของเครื่องใช้ประกอบการรักษาพยาบาล
    - เทพประจำโรงพยาบาล

    เทพประจำโรงพยาบาล มี ๓ องค์ด้วยกัน ได้แก่ พระไภสัชครุไวทูรย์ (พระโพธิสัตว์ไภษัชยสุคต) หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พระชินะ ถือเป็นพระโพธิสัตว์พระองค์หนึ่งผู้ประสาท “ความไม่มีโรค”แก่ประชาชน เทพอีกสององค์เป็นพระชิโนรส ได้แก่ พระศรีสูรยไวโรจนจันทโรจิ และ พระศรีจันทรไวโรจนโรหินีศะ ผู้ขจัดซึ่งโรคของประชาชน

    อ้างอิง บทความนี้ตัดทอนมาจากบทความของ นวพรรณ ภัทรมูล กลุ่มงานวิชาการ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
    URL : http://www.sac.or.th/web2007/article/inscribe/51-08-29-hospital.pdf
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010021.jpg
      P1010021.jpg
      ขนาดไฟล์:
      101.4 KB
      เปิดดู:
      87
    • P1010022.JPG
      P1010022.JPG
      ขนาดไฟล์:
      72.1 KB
      เปิดดู:
      77
    • P1010023.JPG
      P1010023.JPG
      ขนาดไฟล์:
      73.5 KB
      เปิดดู:
      76
    • P1010024.JPG
      P1010024.JPG
      ขนาดไฟล์:
      72.8 KB
      เปิดดู:
      80
    • P1010025.jpg
      P1010025.jpg
      ขนาดไฟล์:
      108.5 KB
      เปิดดู:
      81
    • P1010026.JPG
      P1010026.JPG
      ขนาดไฟล์:
      82 KB
      เปิดดู:
      71
    • P1010027.JPG
      P1010027.JPG
      ขนาดไฟล์:
      80.4 KB
      เปิดดู:
      76
    • P1010028.JPG
      P1010028.JPG
      ขนาดไฟล์:
      78.4 KB
      เปิดดู:
      81
    • P1010031.JPG
      P1010031.JPG
      ขนาดไฟล์:
      90.2 KB
      เปิดดู:
      79
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กุมภาพันธ์ 2009
  4. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ตาลุงข้างบ้านแกขอแจมด้วยคนครับ เรียนฝากถามท่านเพชรว่าองค์ซ้ายนี่พอเข้าเค้านาดูนอ่ะปล่าวครับ ส่วนองค์ขวานี่แกว่าอายุคงไม่มากครับ หุ หุ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 ธันวาคม 2011
  5. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    อ่า....มองไม่เห็นเลยครับ เห็นเพื่อนผมว่าดีและแรงผมก็ต้องเชื่อเพื่อนตามนั้นครับ หุ หุ
     
  6. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    องค์ซ้ายนี้ไม่ใช่เข้าเค้านาดูนนาครับคุณน้องนู๋ แต่เป็นนาดูนเลยนา หุ..หุ..เท่าที่เคยเห็นกับตา เคยสัมผัสมา พระพิมพ์นาคปรกนี้มีเม็ดแร่ค่อนข้างมาก เคยเห็นองค์ที่มีเม็ดแร่ออกสีน้ำตาลแดง...

    ส่วนองค์ขวานี่ไม่เคยเห็น แต่ที่ว่าไม่เคยเห็นนี่ไม่ใช่ว่าไม่มี อาจจะหาพบยาก หรือแตกชำรุด หรืออาจจะเป็นอย่างที่คุณน้องนู๋สัณนิษฐานไว้ก็เป็นได้ครับ
     
  7. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ส่วนพระพิมพ์ทรงกลมขวามือคล้ายงบน้ำอ้อย แต่แทนที่จะเป็นพระพุทธเจ้า ๙ พระองค์(บางพิมพ์มี ๑๐ พระองค์)กลับเป็นทรงพิมพ์พระเปิดโลกไป ผมรู้สึกว่าพระพิมพ์นี้มีเจตนาสื่อ หรือบอกว่าเป็นพระเปิดโลก ๓ โลก จึงสร้างไว้เป็นพระ ๓ องค์ อาการกางเท้าออกนี้มีความคล้ายคลึงกับพระนารายณ์ทรงประทับครุฑเลยนะครับ
     
  8. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    วันเสาร์-อาทิตย์-จันทร์ที่จะถึงนี้มี Trip เดินทางไปปากช่อง ว่าจะแวะไปยังสถานที่เหล่านี้ ขอดูเพื่อนร่วม trip นี้ก่อนว่าเห็นยังไง
    อายธรรมเมืองสูงเนิน<O:p</O:p
    ถิ่นเดิมโคราช</O:p

    </O:p
    <B><?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]<V:SHAPE id=_x0000_i1025 style="WIDTH: 348pt; HEIGHT: 200.25pt" alt="" fillcolor="window" type="#_x0000_t75"><v:shapetype class=inlineimg id=_x0000_t75 title="Tongue out" alt="" border="0" src="/images/smilies/tongue-smile.gif" stroked="f" filled="f" path="m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe" o:p</v:shapetype>referrelative="t" o:spt="75" coordsize="21600,21600"><v:stroke joinstyle="miter"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn="if lineDrawn pixelLineWidth 0"></v:f><v:f eqn="sum @0 1 0"></v:f><v:f eqn="sum 0 0 @1"></v:f><v:f eqn="prod @2 1 2"></v:f><v:f eqn="prod @3 21600 pixelWidth"></v:f><v:f eqn="prod @3 21600 pixelHeight"></v:f><v:f eqn="sum @0 0 1"></v:f><v:f eqn="prod @6 1 2"></v:f><v:f eqn="prod @7 21600 pixelWidth"></v:f><v:f eqn="sum @8 21600 0"></v:f><v:f eqn="prod @7 21600 pixelHeight"></v:f><v:f eqn="sum @10 21600 0"></v:f></v:formulas><V:path o:connecttype="rect" gradientshapeok="t" o:extrusionok="f"></V:path><o:lock aspectratio="t" v:ext="edit"></o:lock> <V:IMAGEDATA src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image005.jpg" o:href="http://www.nfe.go.th/30/2039/image/mungkav.jpg"></V:IMAGEDATA>[​IMG]<V:IMAGEDATA src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image005.jpg" u1:href="http://www.nfe.go.th/30/2039/image/mungkav.jpg"></V:IMAGEDATA></V:SHAPE><O:p</O:p
    เมืองเสมาตั้งอยู่ที่ บ้านคลองขวาง ตำบลเสมา อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา ตามถนนสาายมิตรภาพ นครราชสีมา – สระบุรี แยกเข้าที่ว่าการอำเภอสูงเนิน ข้ามทางรถไฟและสะพานลำตะคองไปตามถนน ห่างจากอำเภอสูงเนิน <?XML:NAMESPACE PREFIX = ST1 /><ST1:METRICCONVERTER ProductID="6 กิโลเมตร" u3:st="on">6 กิโลเมตร</ST1:METRICCONVERTER> ระยะห่างจากเมืองนครราชสีมา <ST1:METRICCONVERTER ProductID="42 กิโลเมตร" u3:st="on">42 กิโลเมตร</ST1:METRICCONVERTER> <O:p></O:p>
    ความสำคัญของเมืองเสมา<O:p> <O:p</O:p

    </O:p>เมืองเสมาเป็นเมืองโคราชเดิมก่อนที่จะย้ายมาอยู่ในสถานที่ปัจจุบันมีโบราณวัตถุสมัยทวารวดี เมืองเสมา เป็นเมืองโบราณสมัยทวารวดี พุทธศตวรรษที่ 12 –16 ตั้งอยู่ที่ตำบลเสมา ห่างจากนครราชสีมาประมาณ <ST1:METRICCONVERTER ProductID="37 กิโลเมตร" u3:st="on">37 กิโลเมตร</ST1:METRICCONVERTER> จากตลาดอำเภอสูงเนิน เดินทางข้ามลำตะคองและผ่านบ้านหินตั้งไปจนถึงเมืองเสมาเป็นระยะทาง <ST1:METRICCONVERTER ProductID="4 กิโลเมตร" u3:st="on">4 กิโลเมตร</ST1:METRICCONVERTER> แผนผังเมืองเป็นรูปไข่กว้าง <ST1:METRICCONVERTER ProductID="1,400 เมตร" u3:st="on">1,400 เมตร</ST1:METRICCONVERTER> ยาว <ST1:METRICCONVERTER ProductID="2,000 เมตร" u3:st="on">2,000 เมตร</ST1:METRICCONVERTER> มีการค้นพบโบราณวัตถุในบริเวณนี้มากมาย <O:p</O:p
    <O:p></O:p>จากการขุดแต่งพบว่าเป็นเมืองที่มีหลายวัฒนธรรมซ้ำซ้อนกันจนถึงสมัยขอมพระนคร<O:p>
    </O:p>และยังพบศิลาจารึกบ่ออีกา ที่กล่าวถึงอาณาจักรศรีจนาศะ (ในต้นพุทธศตวรรษที่ 15 )และศิลาจารึกสมัยขอมพระนคร (พ.ศ.1514) กล่าวถึงการสร้างรูปเคารพ และอุทิศสิ่งของให้แก่ศาสนสถานนอกจากนี้ในบริเวณใกล้เคียงยังพบปราสาทหินในสมัยขอมพระนครอีก 2 แห่ง คือ ปราสาทเมืองแขก ตำบลโคราช อำเภอสูงเนิน และปราสาทเมืองเก่า บ้านเมืองเก่าตำบลโคราช อำเภอสูงเนิน ซึ่งเป็นปราสาทขนาดย่อม<O:p> </O:p><O:p</O:p
    เมืองเสมา มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมผืนผ้า (เป็นเมืองสร้างเพิ่มเติมสมัยขอมพระนคร) มีคันดินคูน้ำล้อมรอบบางช่วงมีศิลาแลงและหินทราย คูน้ำส่วนใหญ่ตื้นเขิน เมืองเสมานี้เป็นเมืองขนาดใหญ่ กำแพงชั้นในยังมีแนวคันดินอยู่เป็นตอนๆ กว้างประมาณ1,755 เมตร ส่วนยาวประมาณ <ST1:METRICCONVERTER ProductID="1,845 เมตร" u3:st="on">1,845 เมตร</ST1:METRICCONVERTER> ส่วนแนวคันดินคูเมืองชั้นนอกพิจารณาไม่ได้ เพราะแนวคันดินถูกทำลายจนเกือบหมด<O:p> </O:p><O:p</O:p
    ภายในกำแพงคันดินเมืองเสมานี้ พบบางเเห่งเป็นขอบเขตของศาสนสถาน บางแห่งเป็นสระน้ำ มีร่องรอยโบราณสถานที่สร้างด้วยหินทราย รอบกำแพงคันดินเป็นที่ตั้งของหมู่บ้าน เช่น คลองขวาง (ทีเสมาธรรมจักรและพระพุทธรูปปางไสยาสน์สมัยทวารวดี) บ้านหินตั้งมีใบเสมาหินตั้ง (หินธรรมชาติ) และบ้านแก่นท้าว<O:p> </O:p><O:p</O:p
    โบราณวัตถุสำคัญที่พบในเมืองเสมา<O:p> </O:p><O:p</O:p

    1.พระพุทธรูปปางไสยาสน์สมัยทวารวดี วัดธรรมจักรเสมาราม อ.สูงเนิน<O:p> </O:p><O:p></O:p>
    2.เสมาธรรมจักรหินทรายสมัยทวารวดี<O:p> </O:p><O:p</O:p
    3.ศิลาจารึกบ่ออีกา (พ.ศ.1411 กล่าวถึงอาณาจักรศรีจนาศะ)<O:p</O:p
    พระพุทธไสยาสน์ศิลา<O:p> </O:p><O:p</O:p

    <O:p>(The Standstone Reclinjng Buddha)<O:p> </O:p><O:p</O:p
    [​IMG]<O:p</O:p
    ที่ตั้ง.....หมู่บ้านคลองขวาง ตำบลเสมา อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา

    ความสำคัญ.....พระนอนหรือพระพุทธรูปปางไสยาสน์ สลักด้วยหินทรายแดงขนาดใหญ่หลายๆก้อน ประกอบขึ้นตามแนวทิศเหนือใต้ สภาพองค์พระนอนแตกหักและชำรุดตลอดทั้งองค์ ห่างจากเมืองเสมามาทางทิศใต้ประมาณ <ST1:METRICCONVERTER ProductID="500 เมตร" u1:st="on">500 เมตร</ST1:METRICCONVERTER> เป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธรูปศิลปะทวารวดี หรือพระพุทธไสยาสน์ ตั้งอยู่ที่บ้าน คลองขวาง ต.เสมา พระพุทธรูปปางเสด็จปรินิพพาน เก่าแก่ และใหญ่ที่สุดในเมืองไทย สร้างขึ้นราว พุทธศตวรรษที่ 13 ปัจจุบันตั้งอยู่ในพื้นที่ วัดธรรมจักรเสมาราม สร้างขึ้นจากการนำหินทราย ขนาดใหญ่หลายๆก้อน มาประกอบเข้าด้วยกัน ขนาดขององค์พระยาว <ST1:METRICCONVERTER ProductID="13.30 ม." u1:st="on">13.30 ม.</ST1:METRICCONVERTER> สูง2.50 ม. หันพระเศียร ไปทางทิศใต้ หันพระพักตร์ ไปทางทิศตะวันออก ประดิษฐาน อยู่ในอาคารก่ออิฐ รูปสี่เหลี่ยมพื้นผ้า กว้าง <ST1:METRICCONVERTER ProductID="6.50 ม." u1:st="on">6.50 ม.</ST1:METRICCONVERTER> ยาว <ST1:METRICCONVERTER ProductID="26 ม." u1:st="on">26 ม.</ST1:METRICCONVERTER> ฐานอาคารสูง <ST1:METRICCONVERTER ProductID="80 ซม." u1:st="on">80 ซม.</ST1:METRICCONVERTER> จากหลักฐานทางโบราณคดีที่พบ บริเวณพระนอน และภายในเมืองเสมา หรืออาณาจักรศรีจนาศะ เราได้ค้นพบ พระพุทธรูปสำริด พระพิมพ์ดินเผา เศษภาชนะดินเผา ลูกปัดแก้ว รวมทั้งจารึกที่บ่ออีกา ซึ่งเป็น ศาสนาพราหมณ์ แบบศิลปะขอม ที่พบในเมืองเสมา กล่าวถึงดินแดนนอกกัมพุเทศ แห่งนี้มีพระราชา แห่งอาณาจักรศรีจนาศะได้ทรงอุปภัมภ์ พระพุทธศาสนา มาแต่เดิม ภายหลังอังศุเทพได้รับดินแดนนี้ไว้ และสร้าง ศิวลึงค์ ตัวแทนพระศิวะขึ้น ในพ.ศ.1400 ทำให้ทราบว่า แรกเริ่มเดิมทีบริเวณนี้ เป็นที่อยู่อาศัยของชุมชน ทวารวดี ได้สร้างพระนอนขึ้นเป็นที่เคารพสักการะ ของชุมชน รวมทั้งสมัยหลังได้รับเอา วัฒนธรรมแบบขอม ที่บูชาพระศิวะ พร้อมกันด้วยการหันพระพักตร์ และการหันศรีษะขององค์พระก็เป็นที่น่า สนใจ เจ้าหน้าที่กรมศิลปกร เล่าให้เราฟังว่า ในหลักศิลาจารึก ของพ่อขุนรามคำแหง มีการจารึก ว่า "ทิศเบื้องตีนนอน" นั้นหมายถึงทิศเหนือ สอดคล้องกับ การวางตัวพระที่พบ คือหันศรีษะไปทางทิศเหนือและปลายเท้าไปทางทิศใต้และ เราค้นพบ ธรรมจักรที่เป็นศิลปะ สมัยเดียวกันนั้นด้วย ณ วัดแห่งนี้ ซึ่งถูกเก็บ อยู่ในอาคาร อีกหลังหนึ่ง พร้อมด้วย โบราณวัตถุอีกมากรมศิลปกร ได้มีโอกาสเข้ามาบูรณะและทำการศึกษา ปรับปรุงพื้นที่ ไว้อย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย ถ้ามีโอกาส เดินทางไปโคราช ลองแวะชมดูนะครับ คุณอาจจะประทับใจ ในบางมุมของการค้นพบ อย่างที่นักโบราณคดี หลายคนสนใจ การค้นหาจะทำให้เรารู้จักตัวตนของเราเอง และภูมิปัญญาที่น่าทึ่งของคนเหล่านั้น<O:p> <O:p</O:p
    </O:p><O:p

    ธรรมจักรล้ำค่า<O:p> <O:p</O:p
    </O:p><O:p>(The Valuable Dhamma)<O:p</O:p
    <O:p>[​IMG] <O:p</O:p
    <O:p>ที่ตั้ง......วัดธรรมจักรเสมาราม ตำบลเสมา อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา<O:p</O:p
    ความสำคัญ.......เสมาธรรมจักร สร้างด้วงยศิลาแลง เป็นแบบชนิดหัวสิงห์ทั้งสองด้าน ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง <ST1:METRICCONVERTER ProductID="1.41 เมตร" u1:st="on">1.41 เมตร</ST1:METRICCONVERTER> แกนกลางกว้าง <ST1:METRICCONVERTER ProductID="0.31 เมตร" u1:st="on">0.31 เมตร</ST1:METRICCONVERTER> เป็นศิลปทวารวดี ศิลปกรรมจำหลักลวดลาย เหมือนเสมาธรรมจักรที่นครปฐม แต่มีลักษณะพิเศษคือ ตอนล่างของใบเสมามีการแกะสลักด้วยรูปหน้ากาล สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นราวศตวรรษที่ 13-14 ซึ่งค้นพบได้ที่บริเวณพระพักตร์พระพุทธไสยาสน์ เป็นเครื่องหมายบอกขอบเขตของพระอุโบสถ<O:p</O:p
    <O:p
    <O:p>
    ปราสาทหินโบราณ<O:p> </O:p><O:p</O:p
    <O:p>(The Sandstone Reclining Buddha)<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    [​IMG]<O:p</O:p
    ปราสาทเมืองเก่า<O:p> <O:p</O:p
    </O:p><O:p>ที่ตั้ง.....ตั้งอยู่บ้านเมืองเก่า ต.โคราช อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา<O:p>
    </O:p>ความสำคัญ......อยู่ในวัดปราสาทเมืองเก่า ตำบลโคราช อยู่เลยปราสาทเมืองแขกไปอีกประมาณ <ST1:METRICCONVERTER ProductID="3.3 กิโลเมตร" u1:st="on">3.3 กิโลเมตร</ST1:METRICCONVERTER> เป็นอโรคยาศาลที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 มหาราชองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรเขมร ทรงสร้างขึ้นระหว่าง พ.ศ. 1724-1763 อโรคยาศาลมีแผนผังประกอบด้วยปรางค์ประธานรูปสี่เหลี่ยมย่อมุมไม้สิบสอง มีบรรณาลัยอยู่ทางมุมขวาด้านหน้า ล้อมรอบด้วยกำแพงแก้วซึ่งมีซุ้มประตูทางเข้าอยู่ด้านหน้า นอกกำแพงมีสระน้ำรูปสี่เหลี่ยมกรุด้วยศิลาแลงลักษณะแผนผังเป็นศาสนสถานของขอม ประกอบด้วยปรางค์ประธานก่อสร้างด้วยศิลาแลงแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมมีมุขยื่นเป็นทางเข้าด้านทิศตะวันออกเพียงด้านเดียว บริเวณด้านหน้าทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของปรางค์ประธานมีวิหารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าก่อด้วยศิลาแลงอยู่หลังหนึ่ง มีประตูทางเข้าหันหน้าไปทางทิศตะวันตกอยู่ด้านเดียว<O:p> <O:p</O:p
    </O:p>ซึ่งปัจจุบันถูกเปลี่ยนรูปแบบไปมากเพราะชาวบ้านได้ขุดคลองเชื่อมกับคลองส่งน้ำชลประทานเพื่อเก็บกักน้ำในหมู่บ้าน ลักษณะของแผนผังปราสาทหินเมืองเก่านี้คือ แผนผังของอโรคยาศาลคือ โรงพยาบาลที่สร้างโดยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 หมาราชองค์สุดท้าย แห่งอาณาจักรเขมรให้อยู่ภายใต้พระบารมีของพระเจ้าผู้ทรงการแพทย์คือ พระโพธิสัตว์ ไภษัชคุรุไวฑูรยประภา เพื่อประทานความสุขเกษมและปราศจากโรคภัยให้กับประชาชนของพระองค์<O:p> <O:p</O:p
    </O:p>ปัจจุบันอาคารทั้ง 2 หลังนี้ได้หักพังลงมามาก ถัดออกไปทางทิศตะวันออกมีซุ้มประตูก่อด้วยหินทรายสีขาวปนศิลาแลง มีกำแพงแก้วก่อด้วยศิลาแลงชักปีกกาออกไปทั้ง 2 ข้าง ของประตูซุ้มก่อต่อเนื่องเป็นกำแพงล้อมรอบปรางค์ประธานและวิหารด้านนอกกำแพงห่างไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือเพียงเล็กน้อย มีสระน้ำกรุด้วยศิลาแลงรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสอยู่ 1 สระ โรงพยาบาลที่มีสัดส่วนและแผนผังเช่นเดียวกับปราสาทเมืองเก่าทั้งในประเทศเขมรและประเทศไทยแล้วหลายแห่ง ดังปรากฏในจารึกที่ปราสาทพรหมที่กล่าวถึงพระองค์พระองค์ทรงโปรดให้สร้างอโรคยาศาลขึ้น 102 แห่งกระจายอยู่ทั้ง 4 ทิศทั้งอาณาจักรของพระองค์ เช่น ปราสาทตาเมียนโตจ อำเภอเชิงกาบ จังหวัดสุรินทร์ กุฏิฤๅษี อำเ๓อพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ตำบลสมอ อำเภอปรางค์กู่จังหวัก ศรีสะเกษ กู่สันตรัตน์ อำเ๓อนาดูน จังหวัดมหาสารคาม กุฏิฤๅษีอำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ได้ค้นพบศิลาจารึกของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 สลักลงหลักศิลาสี่เหลี่ยมด้านเท่าทรงกระโจมตามอโรคยาศาลต่างๆหลายแห่งด้วยกัน ซึ่งต่างมีข้อความเหมือนกันหมดทุกหลักรวมทั้งที่ปราสาทหินเมืองเก่านี้ด้วยเป็นการยืนยันได้ว่าปราสาทหินเมืองเก่านี้คือ อโรคยาศาล อย่างแท้จริง ซึ่งสร้างในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ประมาณพุทธศตวรรษ ที่ 18<O:p> <O:p</O:p
    </O:p><O:p></O:p><O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ปราสาทเมืองแขก<O:p> <O:p</O:p
    </O:p><O:p> [​IMG]<O:p</O:p
    <O:p</O:pที่ตั้ง.....บ้านกกกอก ต.โคราช อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา ความสำคัญ......ปราสาทเมือแขก เป็นกลุ่มสถาปัตยกรรมที่ก่อด้วยอิฐปนหินทราย ประกอบไปด้วยสถาปัตยกรรมที่สำคัญดังนี้ คือ ปราสาทประธาน 3 หลัง กำแพงแก้ว ห้องรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า โคปุระของกำแพงชั้นใน ฐานอาคารอิฐรูปสี่เหลี่ยม สระน้ำ และอาคารอิฐ 2 หลง บริเวณลานด้านหน้า อยู่เลยปราสาทโนนกู่ไปประมาณ <ST1:METRICCONVERTER ProductID="600 เมตร" u1:st="on">600 เมตร</ST1:METRICCONVERTER> ปราสาทเมืองแขกเป็นศาสนสถานแบบศิลปะเขมร ก่อด้วยอิฐปนหินทราย ประกอบด้วยปรางค์ 3 หลัง ตั้งอยู่บนฐานเดียวกัน หันหน้าไปทางทิศเหนือ ปัจจุบันเหลือเพียงมณฑปด้านหน้าล้อมรอบด้วยกำแพงแก้วและคูน้ำคั่นดินอีกชั้นหนึ่ง มีซุ้มประตูทิศเหนือเป็นทางเข้า-ออก นอกประตูซุ้มบนคันดินชั้นนอกสุด มีซากปราสาทขนาดย่อมอีกสองหลัง หน่วยศิลปากรได้ทำการขุดแต่งปราสาทเมืองแขกซึ่งได้พบทับหลังสลักลายตามแบบศิลปเขมรสมัยเกาะแกร์แปรรูป รวมทั้งศิลาจารึกที่ถูกนำมาก่อเป็นฐานประตูซุ้มชั้นนอกสุด<O:p> </O:p><O:p</O:p
    <O:p>จากการขุดแต่ง – บูรณะปราสาทเมืองแขกพบโบรารวัตถุที่สำคัญได้แก่<O:p>
    </O:p>1.ทับหลังหินทรายสลักภาพเล่าเรื่องเทพนิยายในสาสนาพราหมณ์ ฮินดู แบบศิลปกรรมเขมรสมัยเกาะแกร์ – แปรรูป เช่น ทับหลังสลักภาพพระวิษณุเรื่องกฤษณวตาร ตอน ฆ่าพระยากง ทับหลังแสดงภาพพระอุมา ตอนมหิษาสุรมรรทินี และทับหลังแสดงภาพพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ เป็นต้น<O:p</O:p
    2.ศิวลึงค์<O:p> <O:p</O:p
    </O:p>3.ปราสาทจำลอง<O:p> <O:p</O:p
    </O:p>4.คันฉ่องสำริด<O:p> <O:p</O:p
    </O:p>5.เศษเครื่องถ้วย กลุ่มเตาเผาบ้านกรวด เศษเครื่องถ้วยจีน “จิงไป๋” เศษเครื่องถ้วยเขมรแบบลีเออแวง<O:p> <O:p</O:p
    </O:p><O:p></O:p><O:p</O:p
    <O:p></O:p>
    <O:p>ปราสาทโนนกู่<O:p</O:p
    [​IMG]<O:p</O:p
    <O:p>ที่ตั้ง..... ตั้งอยู่ที่บ้านกกกอก หมู่ที่ 7 ตั้งอยู่ใกล้กับปราสาทเมืองแขก ห่างจากแยกวัดญาณโศภิตวนาราม <ST1:METRICCONVERTER ProductID="3 กิโลเมตร" u1:st="on">3 กิโลเมตร</ST1:METRICCONVERTER> ต.โคราช อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา<O:p> </O:p><O:p</O:p
    ความสำคัญ .....ลักษณะแผนผังของปราสาทหินโนนกู่ ประกอบด้วยตัวอาคารโบราณสถาน ก่อด้วยศิลาทรายที่มุขยื่นออกไปทางด้านหน้า คือ ทิศตะวันออก มีบันไดขึ้นลงทางด้านหน้าและด้านหลัง ฐานของอาคารเป็นฐานค่อนข้างสูงมาก วงกบประตูและชั้นหลังคาได้พังลงจนหมดสิ้น ตัวผนังและหลังคาของปราสาทนี้คงก่อด้วยอิฐเพราะจากการขุดแต่งทางโบราณคดีไม่ปรากฏหินซึ่งใช้ทำเป็นหลังคาแต่อย่างใด เป็นศาสนสถานแบบศิลปะเขมร ก่อด้วยอิฐปนหินทราย ประกอบด้วยปรางค์หลังเดี่ยวบนฐานสูง ด้านหน้ามีวิหารหันเข้าหาปรางค์ประธานอยู่ 2 หลัง ล้อมรอบด้วยกำแพงแก้ว มีซุ้มประตูทิศตะวันออกและทิศตะวันตกเป็นทางเข้า-ออก และที่ลานระหว่างวิหารทั้งสองนั้นพบโคนนทิหมอบในอาการเคารพปราสาทประธาน อันเป็นที่สถิตของพระศิวะมหาเทพ ตามคติความเชื่อของศาสนาฮินดู ในราวพุทธศตวรรษที่ 16<O:p> </O:p><O:p</O:p
    <O:p</O:p

    <O:p><O:p><O:p><O:p>แดนธรรมวะภูแก้ว<O:p</O:p

    (<ST1:pLACE u1:st="on"> <ST1:pLACENAME u1:st="on">Wapukaew</ST1:pLACENAME> <ST1:pLACENAME u1:st="on">Dhamma</ST1:pLACENAME> <ST1:pLACETYPE u1:st="on">Land</ST1:pLACETYPE> </ST1:pLACE>)<O:p</O:p
    <O:p> [​IMG]<O:p</O:p
    วัดวะภูแก้ว อยู่ห่างจากอำเภอสูงเนิน ประมาณ 10 กว่ากิโลเมตร ตั้งอยู่ในตำบลมะเกลือใหม่ อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา เป็นวัดที่มีบรรยากาศสงบเงียบ ร่มรื่นทามกลางป่าเชิงเขา
    วัดวะภูแก้ว สร้างโดยหลวงพ่อพุทธ ฐานิโย เจ้าอาวาสวัดป่าสาละวัน ซึ่งชาวนครราชสีมาทั่วไปเคารพและศรัทธา ปัจจุบันท่านละสังขารแล้ว คงไว้แต่ความดีงามให้สาธุชนรุ่นหลังระลึกถึง<O:p</O:p
    ปัจจุบันวัดวะภูแก้ว เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมและอบรมธรรมให้กับนักเรียน นักศึกษา ประชาชน เพื่อนำธรรมคำสอนไปประพฤติปฏิบัติตนให้อยู่ในคุณงามความดี<O:p</O:p
    </O:p></O:p></O:p></O:p></O:p></O:p></O:p></O:p></O:p></O:p></O:p></O:p></O:p></O:p></O:p></O:p></O:p>

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กุมภาพันธ์ 2009
  9. พุทธันดร

    พุทธันดร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    565
    ค่าพลัง:
    +3,969

    ได้รับรูปแล้วะคะ
    จะถวายพระอาจารย์นิลและพี่แอ๊วในอาทิตย์หน้า
    ขอบคุณและอนุโมทนาน้องเอกับคุณคีตาด้วยนะคะ
     
  10. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    หุ หุ หลอกกันเล่นอ่ะปล่าวครับท่านเพชร แหมตาลุงก็มีกรุนาดูนกะเค้าด้วยครับ ส่วนองค์ขวานี่อายุไม่มากเท่าไหร่ครับ ประมาณ 1300กว่าปี เป็นทราวดีที่ขึ้นมาทางใต้ครับ ว่ากันว่าแถวๆแต่ไม่ถึงบ้านคุณตั้งใจครับ หุ หุ
     
  11. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    บอกตาลุงข้างบ้านคุณน้องนู๋ด้วยนาว่า เอามาฝากไว้ให้ผมดูก่อนนะ หากตาลุงไม่มั่นใจ ผมขอซะเลยยยย ผมว่าตาลุงนี่ไม่เบานะ มีเยอะด้วยนะเนี่ย ..5555555 แต่ความจริงๆ ผมว่าตาลุงคงจะเป็นคนเกิดวันอาทิตย์อย่างแน่นอนโร้ยเปอร์เซง...
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    มาโชว์กันเหลือเกินน๊ะเนี่ย ทั้งคุณเพชร และคุณnongnooo

    กลัวจะเสียฟอร์ม โชว์มั่ง แต่ของผมสู้ไม่ได้ อายุแค่สองร้อยกว่าปีเองครับ

    [​IMG]

    [​IMG]

    แต่องค์ยืนที่โชว์ เป็นของคุณnongnooo 2 องค์เชียวครับ
     
  13. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    โอ้ย....พอทีถ่ายรูปคนละชัด พอทีพระละก็จิ๋วเชียวครับ หุ หุ
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    แอบกระซิบกัน ในวันงานสรงน้ำ หากไม่มีอะไรผิดพลาด(ผมขอนำไปตรวจสอบว่า ใช่ตามที่ผมเข้าใจหรือเปล่า) ถ้าใช้ ผมจะมีพระ(top of the top) มาแจกฟรีกัน ห้ามพลาดนะครับ หากพลาดอีก อดแน่นอน ผมจะเก็บแล้ว และคงจะไม่มอบให้ใครอีก (ยกเว้นมีเหตุอันสมควรที่ผมจะพิจารณาเอง)

    ห้ามพลาดโดยเด็ดขาด ขอบอก หุหุหุ

    .
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    อ้าว เหรอครับ

    พ้มไม่รู้ พ้มไม่ทราบ ครับว่าจะเล็ก ไม่รู้ว่าไปกดยังไง ไหงเล็กไปได้

    .
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    อร่อยเพลินลิ้นกับ "ก๋วยเตี๋ยวลุยสวน" / กุ๊กเล็ก
    http://www.manager.co.th/Travel/View...=9520000013607
    [​IMG]โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์5 กุมภาพันธ์ 2552 16:52 น.[​IMG]โดย : กุ๊กเล็ก

    [​IMG] [​IMG]ใกล้ถึงวันหยุดสุดสัปดาห์ที่ทุกคนรอคอยกันแล้ว "กุ๊กเล็ก" เองก็เป็นอีกคนที่ตั้งตาคอยวันหยุดเช่นกัน เพราะจะได้พักผ่อนจากการทำงานมาตลอดอาทิตย์ แต่การได้พักผ่อนสบายๆในวันหยุดคงไม่สมบูรณ์แบบ ถ้าไม่มีอาหารอร่อยๆไว้คอยท่า เพราะฉะนั้นเตรียมเข้าครัวกันดีกว่า วันนี้ "กุ๊กเล็ก" เตรียมเมนูของกินเล่นอย่าง "ก๋วยเตี๋ยวลุยสวน" มาไว้ให้ลองทำกัน

    ส่วนผสม

    แผ่นก๋วยเตี๋ยวแผ่นใหญ่ 10 แผ่น (1 แผ่นได้ก๋วยเตี๋ยวลุยสวน 1 ชิ้น)
    เนื้อหมูสับ 5 ขีด
    เห็ดหอม 2 ขีด
    แครอท 2 ขีด
    ผักกาดหอม 10 ใบ
    ผักชี 3 ต้น
    โหระพา 2 กิ่ง
    ซีอิ้วขาว น้ำตาล สำหรับปรุงรส และน้ำมันพืชเล็กน้อยสำหรับผัด

    ส่วนผสมน้ำจิ้ม

    พริกขี้หนู 10 เม็ด
    กระเทียม 5 เม็ด
    น้ำปลา 2 ช้อนโต๊ะ
    มะนาว 2 ช้อนโต๊ะ
    น้ำตาล 1 ช้อนชา

    วิธีทำ เริ่มจากนำแผ่นก๋วยเตี๋ยวมานึ่งให้สุกดี อาจทาน้ำมันไว้บางๆ เพื่อไม่ให้แผ่นก๋วยเตี๋ยวติดกัน จากนั้นจึงหันไปจัดการกับไส้ก๋วยเตี๋ยวด้วยการหั่นแครอทและเห็ดหอมให้เป็นชิ้นเล็กๆ แล้วนำไปผัดรวมกับหมูสับจนสุก ปรุงรสด้วยซีอิ้วขาว และน้ำตาลทรายให้ได้รสชาติที่ถูกใจ เสร็จเรียบร้อยแล้ว มาลงมือห่อก๋วยเตี๋ยวลุยสวนกันเลยดีกว่า นำแผ่นก๋วยเตี๋ยวที่นึ่งสุกเรียบร้อยมาวางคลี่ไว้ ปูทับด้วยผักต่างๆ ที่เตรียมไว้ คือผักกาดหอม ใบโหระพา และผักชี แล้วตักไส้ที่ผัดเตรียมไว้มาใส่เป็นอย่างสุดท้าย เรียบร้อยแล้วค่อยๆพับทีละด้านของแผ่นก๋วยเตี๋ยวเข้าหากัน ก็เป็นอันได้ก๋วยเตี๋ยวลุยสวนหนึ่งชิ้น

    ถ้าห่อก๋วยเตี๋ยวเรียบร้อยแล้ว คราวนี้มาทำน้ำจิ้มที่ช่วยเพิ่มรสชาติของก๋วยเตี๋ยวลุยสวนกันบ้างดีกว่า "กุ๊กเล็ก" เลือกทำน้ำจิ้มรสชาติจัดจ้านมาด้วยการนำพริกขี้หนู และกระเทียมมาตำให้ละเอียด ปรุงรสด้วยน้ำปลา และมะนาว ชิมรสชาติเปรี้ยวเค็มหวานให้ถูกปาก เสร็จแล้วยกไปเสิร์ฟบนโต๊ะได้เลยทันที
     
  17. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    อ่า...ตั้งตารอคอยเลยครับ หุ หุ
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    [​IMG] r2.jpg
    4.4 KB, ดาวน์โหลด 10 ครั้ง

    [​IMG] r4.jpg
    4.5 KB, ดาวน์โหลด 10 ครั้ง

    .
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    [​IMG]
    5.3 KB, ดาวน์โหลด 47 ครั้ง

    [​IMG]
    4.5 KB, ดาวน์โหลด 15 ครั้ง

    [​IMG]
    4.4 KB, ดาวน์โหลด 15 ครั้ง
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ถามมาแล้วครับ 34,310 บาทครับ
    แต่เพื่อสุขภาพ ต้องซื้อครับ

    .
     

แชร์หน้านี้

Loading...