พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. dragonlord

    dragonlord เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    541
    ค่าพลัง:
    +1,541
    Did you do something wrong ka Khun P'Petch?
    Did you use some kind of magic????
    I think I saw your post. Now it is gone already.
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 กุมภาพันธ์ 2009
  2. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    55555 the last post had permanently gone...black magic...???
     
  3. katicat

    katicat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2008
    โพสต์:
    1,112
    ค่าพลัง:
    +524
    วิธีคิดแบบคนอินเดีย ดีจริงๆ

    Indians Play เขียนโดย V. Raghunathan นักวิชาการ ผู้บริหารบริษัทและเป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยทั้งในอินเดียและในต่างประเทศ<O:p</O:p
    ผมอ่านเรื่องเกี่ยวกับคนอินเดียเยอะก็จริงแต่ก็ไม่ปรารถนาที่จะสรุปอะไรเอง จึงขอนำการวิเคราะห์ของคนอินเดียที่มีต่อคนอินเดียเองมาเสนอและถ้าข้อใดผมเองมีประสบการณ์ตรงด้วยตัวเองก็จะเสริมเข้าไป ผมคิดว่าวิธีนี้จะดีที่สุด เพราะคงไม่มีคนที่เข้าใจอินเดียได้ดีไปกว่าคนอินเดียเอง เพียงแต่ว่าเราจะเปิดใจรับรู้สิ่งนั้นและพยายามที่จะเข้าใจหรือไม่<O:p></O:p>
    คิดแบบอินเดียเรื่องหนึ่งที่ผมอ่านจากหนังสือของ Raghunathan และได้นำไปยกตัวอย่างสอนลูกๆ ก็คือเรื่องนี้ <O:p></O:p>
    ดช.ปัญญาเป็นเด็กที่เกิดในเมืองแต่ย้ายไปอยู่ในชนบท วันหนึ่งไปซื้อแพะจากชาวนาในราคา 1000 บาทซึ่งชาวนายินดีที่จะส่งมอบแพะในวันรุ่งขึ้น<O:p></O:p>
    พอวันรุ่งขึ้น ชาวนาก็ไปหาดช.ปัญญาแล้วบอกว่า <O:p></O:p>
    "ข่าวร้ายหนูเพราะแพะเพิ่งตายไปเมื่อคืนที่แล้วเอง" <O:p></O:p>
    ดช.ปัญญา ก็บอกว่า "ไม่เป็นไร ถ้าเช่นนั้นคืนเงินให้ผมก็แล้วกัน" <O:p></O:p>
    "โอ เสียใจด้วยจริงๆ แต่ฉันใช้เงินนั่นหมดไปแล้ว" ชาวนาพูดด้วยสีหน้าเศร้าๆ <O:p></O:p>
    "ไม่เป็นไร ถ้างั้นเอาแพะตัวนั้นมาให้ฉัน" <O:p></O:p>
    "หนูจะเอาแพะตายไปทำอะไร" ชาวนาถามด้วยความฉงน <O:p></O:p>
    "ฉันจะเอาไปจับฉลากขาย" <O:p></O:p>
    "จะไปจับฉลากแพะที่ตายได้อย่างไร ใครจะไปซื้อ" <O:p></O:p>
    "ได้ซิ คอยดูละกัน" <O:p></O:p>
    จากนั้นชาวนาก็มอบแพะที่ตายให้ดช.ปัญญาไป <O:p></O:p>
    หนึ่งเดือนผ่านไป......ชาวนาพบกับดช.ปัญญาจึงถามว่าตกลงเอาแพะที่ตายไปทำอะไร <O:p></O:p>
    "ฉันก็ทำฉลาก 500 ใบ ขายใบละ 10 บาท แล้วบอกว่าใครดวงดีจับฉลากได้ก็ได้แพะไปเลย 1 ตัว" <O:p></O:p>
    "ฉันได้เงินมา 5000 บาท ได้กำไรหลังจากหักที่จ่ายให้ลุงชาวนาไปแล้ว 3990 บาท" <O:p></O:p>
    "แล้วไม่มีคนโวยวายหรือ(เพราะแพะตายแล้ว)" ชาวนาถามด้วยความสงสัย <O:p></O:p>
    "ก็มี มีคนเดียวคือคนที่จับฉลากได้ และฉันก็แค่คืนเงินค่าฉลากจำนวน 10 บาทให้คนๆนั้นไป" <O:p></O:p>
    ในเรื่องบอกว่า ดช.ปัญญาต่อมาเติบโตและเป็นนักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จในชีวิตอย่างมาก...... <O:p></O:p>
    เรื่องราวแบบนี้เป็นสิ่งที่คนอินเดียสอนกัน........ที่สำคัญก็คือการแก้ไขปัญหาและแก้ไขสถานการณ์ที่เผชิญหน้าหรือคิดคำตอบโจทย์ที่ยากๆ ซึ่งคนอินเดียจะเก่งในเรื่องแบบนี้มาก<O:p></O:p>
    คนอื่นอาจไม่ได้สังเกตุ แต่ผมเห็นว่าส่วนหนึ่งได้มีการถ่ายทอดความรู้แบบนี้ผ่านทางการ์ตูนพื้นบ้านซึ่งขายในราคาถูกมาก ทำให้เด็กไม่ว่าจะอยู่ในรัฐที่ห่างไกลหรือยากจนก็สามารถเรียนรู้วิธีคิดผ่านสื่อเหล่านี้ได้<O:p></O:p>
    เปรียบกับของไทยก็น่าจะได้แก่ศรีธนญชัยที่มีปัญญาและไหวพริบ ฉลาดหลักแหลม.... <O:p></O:p>
    แต่ก็เป็นที่น่าเสียดายว่า ความเป็นศรีธนญชัยหายสาบสูญไปจากสังคมไทยนานแล้วและบางครั้งถูกมองว่าเป็นความฉลาดในด้านไม่ดีด้วยซ้ำไป<O:p></O:p>
    สมอง ถ้าไม่ได้ใช้ ไม่นานก็ฝ่อ <O:p></O:p>
    คนอินเดียจึงเป็นนักคิดนักแก้ปัญหาที่เก่งมาตั้งแต่โบราณกาลและยังสามารถสืบเนื่องมาจนทุกวันนี้ ด้วยองค์ประกอบทางด้านการศึกษาและภาษา<O:p></O:p>
    ขอบคุณ Raghunathan ที่ได้ให้ข้อคิดดีๆ <O:p></O:p>
    ที่คนไทยก็น่าจะได้ประโยชน์ หากรู้จักคิด ไม่มัวแต่ทะเลาะและแย่งชิงอำนาจกัน<O:p></O:p>
     
  4. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ขอบคุณสำหรับวิธีคิดดีๆครับ..
     
  5. ake7440

    ake7440 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,528
    ค่าพลัง:
    +405
    อ่านแล้วถูกใจจริงๆครับ ขอบคุณครับ
     
  6. aries2947

    aries2947 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    2,031
    ค่าพลัง:
    +11,622
    อ้างอิง:
    ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ :::เพชร::: [​IMG]
    ผม ก็เห็นริมถนนท่าพระจันทร์ฝั่งรถวิ่งเช่นกัน ดูปุ๊บก็รู้ว่าปลอมแหงแก๋.หุ..หุ...หากไม่เคยเห็นของจริง อย่าได้เสี่ยงเด็ดขาด หรือหากเชื่อถือข้อมูลของใครก็ฟังหูไว้หู ค้นหาข้อมูลด้วยตนเอง และดูเนื้อให้เป็นก็จะรู้ว่าของจริง และของปลอมต่างกันอย่างไร เช่นรอยย่น คราบต่างๆ เป็นต้น...

    ประวัติ พร้อมรูปแบบละเอียดชัดเจนหาดูศึกษาได้ยากครับ ต้องลงพื้นที่ไปดูของจริงกัน ผมไปมา ๒ เที่ยวแล้ว ปี ๒๕๔๘ และ๒๕๔๙ เมื่อคราวเดินทางกราบพระบรมธาตุเจดีย์ และรอยพระบาท อีสานเหนือ และอีสานใต้ แต่ที่พระธาตุนาดูนจ.มหาสารคามนี่ต้องตั้งใจไปถึง ๒ ครั้ง ก็ได้เก็บประวัติมาบางส่วน หากอยากรู้ว่าที่มาที่ไปของพระกรุนี้เป็นมายังไงต้องลงพื้นที่พบปะผู้คนให้ ทั่วก่อน เห็นทั้งของที่เขาเอามาให้ดู และของที่วัดมีให้ดู จำเปรียบเทียบ และเก็บเกี่ยวข้อมูลธรณีวิทยาประกอบ ของจริงก็มี ของปลอมก็มี แต่ปลอมยังไม่เหมือนครับ ของเก่าร่วม ๒ พันปี ๓ พันปี ยังไงก็เหนือกว่าของทำเทียมครับ แหกตาได้เฉพาะคนไม่มีข้อมูล แล้วน้ำลายไหลหนาท่าน..
    ข้อมูลของแหล่งพระเป็นผมได้มา ผมหรือจะไปป่าวประกาศให้คนทั่วไปทราบว่าได้มาจากที่ไหน พูดตรงๆก็คือ จะบอกให้คน(เสี้ยนพระ)เขาได้มากกว่าผมได้ยังไง พูดเหมือนหลอกกินตังค์เด็ก อยากรู้แหล่งละซี จะได้ไปกว้าน จ้างให้ก็ไม่บอก อยากได้ก็หาเอาเองซี(วะ) ข้อมูลเชิงลึกก็ต้องค้นคว้าเอง หากได้มาก็ต้องเก็บให้เงียบเชียบ..

    สุดยอดเลยนะครับพี่เพชร
    แฟนผมเกิดที่นั่นยังไม่รู้อะไรเลยครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 สิงหาคม 2012
  7. guawn

    guawn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    10,642
    ค่าพลัง:
    +42,113
    รายนามผู้ร่วมทำบุญจัดสร้างพระสิวลี และพระอุปคุต งบประมาณ 60,000 บาท

    1.คุณnongnooo ร่วมทำบุญ 800 บาท (1)
    2.
    คุณ newcomerร่วมทำบุญ 300.72 บาท (1)
    3.
    คุณพรสว่าง ร่วมทำบุญ 200 บาท (3)
    4.คุณ ake7440 ร่วมทำบุญ 500 บาท (4)
    5.
    คุณคุณวินิตา ยุทธา ร่วมทำบุญ 400 บาท (1)
    6.คุณศุภกิจ เปี่ยมบุญ ร่วมทำบุญ 100 บาท (1)
    7.คุณ:::เพชร::: ร่วมทำบุญ300 บาท (1)
    8 คุณ kwokร่วมทำบุญ 400 บาท (1)
    9.คุณ katicat ร่วมทำบุญ 500.55 บาท (1)
    10.คุณ หม่อง ร่วมทำบุญ 100 บาท (1) ช่วยค่าจัดส่ง 47 บาท
    11.คุณเด็กอนุบาลร่วมทำบุญ 1,000 บาท
    12.คุณ พุทธันดร ร่วมทำบุญ 400 บาท (1)
    13.คุณ bamby ร่วมทำบุญ 2,000 บาท

    รวมเป็นเงิน 7,001.27 บาท

    อนุโมทนาบุญกับทุกๆท่านด้วยครับ
     
  8. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    อยากทราบข้อมูลพระกรุนาดู ควรจะเริ่มต้นจากจุดนี้ก่อน ไม่จำเป็นต้องไปน้ำลายไหลเกิดความอยากได้พระเครื่อง พระกรุก่อน ใจเย็นๆ มีความรู้จึงจะได้ของแท้มา ไม่มีความรู้ จะไปเลือกหาของแท้ได้อย่างไร

    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]พิพิธภัณฑ์พระธาตุ - สถานที่ศึกษา[/FONT]
    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=5 width="100%" bgColor=#f8f8f8 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=8 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=180 bgColor=#e9e9e9>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif][​IMG]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]พระธาตุนาดูน[/FONT]
    [/FONT]</TD><TD><TABLE borderColor=#6699ff cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%" bgColor=#e1ebff border=1><TBODY><TR><TD>
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG] พิพิธภัณฑ์นครจัมปาศรี [​IMG]
    โคกดงเค็ง ต.พระธาตุ จ.มหาสารคาม
    [/FONT]​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma][FONT=Tahoma, MS Sans Serif]สถานที่ตั้ง :[/FONT] [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]ทิศใต้ขององค์พระธาตุนาดูน โคกดงเค็ง ต.พระธาตุ อ.นาดูน จ.มหาสารคาม [/FONT][FONT=Tahoma, MS Sans Serif]
    ผู้ดูแลสถานที่ : -[/FONT]
    [/FONT][FONT=Tahoma, MS Sans Serif]
    เบอร์โทรศัพท์ : -
    เวลาเปิดให้เข้าชม : 08.00-16.00 น. วันจันทร์-เสาร์ หยุดวันอาทิตย์
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]กิจกรรม[/FONT] <TABLE borderColor=#000000 cellSpacing=0 width="100%" align=center border=1><TBODY><TR><TD width="50%">[FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG] ผู้นำชม-เจ้าหน้าที่[/FONT]</TD><TD width="50%">[FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG] สถานที่ท่องเที่ยวอื่นๆ[/FONT]</TD></TR><TR><TD width="50%">[FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG] ทำบุญชำระหนี้สงฆ์[/FONT]</TD><TD width="50%">[FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG] จัดฝึกอบรมภาวนากรรมฐาน [/FONT]</TD></TR><TR><TD width="50%">[FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG] สิ่งที่น่าสนใจอื่นๆในสถานที่[/FONT]</TD><TD width="50%">[FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG] ให้ทาน-อาหารสัตว์[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#fff2ca>
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif][FONT=Tahoma, MS Sans Serif]<<< กลับหน้าพิพิธภัณฑ์พระธาต[/FONT][/FONT]ุ​
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#e8ffef>[FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG][/FONT] [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]รายละเอียดสถานที่ [/FONT][FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG][/FONT][FONT=Tahoma, MS Sans Serif][/FONT]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif, AngsanaUPC]พิพิธภัณฑ์นครจัมปาศรี เป็นสถานที่จัดแสดงและเก็บรวมรวมรักษาโบราณวัตถุ ศิลปะวัตถุ และเป็นแหล่งข้อมูลอาณาจักรจัมปาศรี นครโบราณสมัยทวารวดี อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-16 โดยก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2543 ภายในบริเวณองค์พระบรมธาตุนาดูน (พุทธมณฑลอีสาน) ลักษณะเป็นอาคารทรงไทยประยุกต์ 2 หลังเชื่อมต่อกัน ภายในมีการจัดแสดงเรื่องราวต่างๆ ผ่านสื่อวีดีทัศน์ โมเดลจำลอง และบอร์ดข้อมูล แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ[/FONT]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="70%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=Tahoma, MS Sans Serif, AngsanaUPC]1. พุทธศาสนา : ศาสตร์แห่งบูรพทิศ
    2. พระบรมสารีริกธาตุ
    3. การค้นพบที่ยิ่งใหญ่ที่นาดูน
    4. พุทธมณฑลอีสาน
    [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>[FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG][/FONT] [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]สิ่งที่น่าสนใจ [/FONT][FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG][/FONT][FONT=Tahoma, MS Sans Serif][/FONT]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]สิ่งที่น่าสนใจคือส่วนที่ 3 ซึ่งมีการจัดแสดงเรื่องราวการค้นพบพระบรมสารีริกธาตุ ขนาดเท่าเมล็ดข้าวสารหัก วรรณะสีขาวขุ่นคล้ายแก้วมุกดา เมื่อปี พ.ศ. 2522 ในบริเวณเนินดินซึ่งแต่เดิมเป็นพระบรมธาตุเจดีย์โบราณสมัยทวารวดี องค์พระบรมสารีริกธาตุพบประดิษฐานในผอบทองคำ ผอบเงิน และผอบสำริดซ้อนกัน บรรจุภายในสถูปสำริด นอกจากนี้มีการจัดแสดงเรื่องพระพิมพ์ในประเทศไทย และพระพิมพ์กรุพระธาตุนาดูน ซึ่งเป็นพระพิมพ์ดินเผาสมัยทวารวดี สามารถจำแนกรูปแบบได้ถึง 39 พิมพ์ โดยมีการจัดทำหุ่นจำลองเนินโบราณสถาน และจัดแสดงผังตำแหน่งสถูปสำริด ประกอบวีดีทัศน์สรุปเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้น[/FONT]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG][/FONT] [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]ภาพสถานที่ [/FONT][FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG][/FONT]
    <TABLE width=541 align=center border=0><TBODY><TR><TD width=535>[FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG]
    [​IMG] [​IMG]
    [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG][/FONT] [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]วิธีการเดินทาง [/FONT][FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG][/FONT][FONT=Tahoma, MS Sans Serif][/FONT]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG]
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, MS Sans Serif]* รายละเอียดและภาพประกอบจาก คุณแสงจันทร์ ไตรเกษม *[/FONT]​
    </TD></TR></TBODY></TABLE> http://www.relicsofbuddha.com/page10-7.htm

    <TABLE height=104 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top colSpan=2 rowSpan=3>
    [​IMG]
    </TD><TD width="7%"> </TD></TR><TR><TD width="7%"> </TD></TR><TR><TD width="7%" height=28> </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี พุทธศักราช 2525 สถาบันวิจัยศิลปะ และวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้สร้างพระพุทธรูปแบบเอกลักษณ์ของชาวอีสาน เพื่อเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองมหาสารคามโดยนำพระพิมพ์ดินเผาที่ขุดค้นพบจากเมืองโบราณที่อำเภอกันทรวิชัยเป็นต้นแบบ เป็นพระพุทธรูปแบบศิลปทวารวดีสกุลช่างพื้นเมือง ประทับนั่งขัดสมาธิเพชรเหนือ
    ฐานบัว มีเรือนแก้วอยู่เบื้องพระปฤษฎางค์

    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประกอบพิธีเททองหล่อ เมื่อวันที่ 20 เมษายน พุทธศักราช 2524 ทรงพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า พระพุทธกันทรวิชัย อภิสมัยธรรมนายก พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญ พระปรมาภิไธยย่อ ภ.ป.ร. ไว้ ณ ผ้าทิพย์ด้านหน้าฐานพระพุทธรูป

    ต่อมาจังหวัดมหาสารคามได้จำลองพระพุทธกันทรวิชัย ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อพระราชทานแก่จังหวัด และหน่วยราชการต่างๆ ในภาคอีสานอย่างทั่วถึง รวมทั้งสร้างจำลองอัญเชิญประดิษฐานในมณฑลหน้าศาลากลางจังหวัดมหาสารคามอีกแห่งหนึ่ง
    17 กรกฎาคม 2545
    ตอนที่ 6014
    พระพุทธกันทรวิชัยฯ

    บท..บุหลง ศรีกนก

    [​IMG]
    ชุมชนโบราณขนาดใหญ่ ซึ่งยังปรากฏร่องรอยคูน้ำล้อมรอบมีซากโบราณสถานใหญ่น้อยกระจายอยู่ทั่วไปกว่า 30 แห่งนี้ ชาวบ้านเรียกชื่อตามนามเมืองในนิทานพื้นบ้านเรื่องจำปาสี่ต้นว่า นครจำปาศรี

    เมืองโบราณนี้อยู่ในท้องที่ตำบลสันตรัตน์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ผลการศึกษาขุดค้นขุดแต่งทางโบราณคดี พบข้อมูลที่สำคัญเป็นต้นว่า เนินดินขนาดใหญ่เคยเป็นแหล่งฝังศพของคนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ซากสถูปพระพิมพ์สมัยทวารวดี และศาสนสถานก่อด้วยศิลา แลงและหินทราย สันนิษฐานว่าเป็นศาสนสถานในวัฒนธรรมขอมที่แพร่เข้ามาเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 16 ได้แก่ ศาลานางขาว กู่น้อย และกู่สันตรัตน์ ที่เป็นโบราณวัตถุได้แก่ รูปเคารพในศาสนาฮินดู เช่น ประติมากรรมรูปพระศิวะ รูปพระนารายณ์จากกู่น้อย ศิลาจารึกจากศาลานางขาว เนื้อความกล่าวถึงพระเจ้าชัยวรมันที่ 6 และพระพุทธรูปในคติมหายานจากกู่สันตรัตน์

    เมื่อประมวลเรื่องราวจากหลักฐานเหล่านี้ สันนิษฐานได้ว่าเมืองโบราณนครจำปาศรี เคยเป็นชุมชนที่มีผู้คนอาศัยสร้างบ้านเมืองสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จนถึงราวพุทธศตวรรษที่ 18 จึงร้างไป
    18 กรกฎาคม 2545
    ตอนที่ 6015
    เมืองโบราณนครจัมปาศรี

    บท..บุหลง ศรีกนก


     
  9. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    หากจะสนใจสืบค้นที่มาที่ไปของนครจำปาศรี ก็ควรจะอ่านเป็นความรู้คร่าวๆจากจุดนี้ก่อน ไปคุยกับใครจะได้รู้ว่าเขารู้จริงหรือไม่ ไม่ใช่ขึ้นต้นมาก็เอาพระมาส่องเลย จะส่องดูอะไรหรือ? แล้วจะรู้ในทันทีหรือว่าแท้ หรือไม่แท้ อันนี้ก็แปลก..หุ..หุ...




    <TABLE height=1757 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="92%" align=center border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#6699cc height=2>ประวัติความเป็นมาของเมืองนครจัมปาศรี




    </TD></TR><TR><TD height=1664>นครจัมปาศรีมีประวัติอันยาวนานนับเป็นพันปี และได้ถูกเลือนหายไปจากหน้าประวัติศาสตร์ จะเนื่องจากวิกฤตการณ ์หรือเหตุผล ใดก็ ไม่อาจจะทราบได้ จะอย่างไรก็ตามก็ยังมีเค้าเงื่อนพอที่จะสอบค้นได้บ้างจากหลักฐานทางโบราณคดี เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ โดยเฉพาะอำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งเป็นที่ตั้งนครจัมปาศรี มีโบราณสถานหลายแห่ง และมีโบราณวัตถุหลากหลายชนิด สามารถสอบค้นและเปรียบเทียบอายุสมัยลักษณะเผ่าพันธุ์ ตลอดจนการดำรงชีพ ขนบธรรมเนียมประเพณีของบรรพชนในถิ่นแถบนี้ได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังเป็นตำราเอกสารอื่นๆ พอที่จะอ้างอิงเทียบเคียงได้ด้วย


    จากข้อสันนิษฐานของ อาจารย์สมชาย ลำดวน ภาควิชาภาไทย และภาษาตะวันออก คณะมนุนยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒมหาสารคาม (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ) สันนิษฐานได้ว่า วัดนครจัมปาศรีมีความเจริญรุ่งเรืองมา 2 ยุค ด้วยกันคือ

    1. ยุคทวารวดี ระหว่าง พ.ศ.1000-1200
    2. ยุคลพบุรี ระหว่าง พ.ศ. 1600-1800
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#6699ff>
    นครจัมปาศรีสมัยทวารวดีมีหลักฐานชี้นำให้เห็นเด่นชัดคือ







    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    1. หลักฐานจากพระพิมพ์ดินเผาที่ขุดพบจากกรุต่างๆ ในเขตพื้นที่นครจัมปาศรี ทางด้านมนุษยวิทยาทางกายภาพ จะเห็นว่าลักษณะพระพักต์และพระวรกายของพระพิมพ์ เป็นชนพื้นเมืองสยามโบราณฉะนั้นคนที่เราอาศัยอยู่ในนครจัมปาศรีจึงเป็นเชื้อชาติสยามพื้นเมืองดึกดำบรรพ์ นอกจากนั้นยังสังเกตุพระพุทธศิลป์ร่วมสมัยกับพระพิมพ์ แบบพระประถมทำขึ้นประมาณ พ.ศ. 950-1250 โดยจารึกอักษรคฤนต์ หรืออักษรขอมโบราณไว้ด้วยพระพิมพ์ดินเผานาดูนปางประทานพรหรือปางทรงแสดงธรรมบางองค์ที่ ขุดพบที่กรุพระธาตุก็มีอักษรคฤนถ์ทั้งขีดและเขียนด้วยสีแดงจารึกไว้บนแผ่นหลังของพระพิมพ์เหมือนกัน อาจารย์สทชาย ลำดวน ได้เรียนถาม ศจ.ดร.จิตร บัวบุศย์ ราชบัณฑิตสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตเพาะช่าง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คระมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม) เกี่ยวกับอายุนครจัมปาศรี ว่ามีอายุเก่าแก่แค่ไหน ได้รับคำตอบว่า " อันนี้เราต้องเทียนจากศิลปะอินเดีย ก็เริ่มจากคุปตเริ่มแรก สำหรับที่นครจัมปาศรีจะมีอายุระหว่าง 900 ถึง 1800 "

    2. หลักฐานทางสถูปเจดีย์ ศจ.ดร.จิตร บัวบุศย์ กล่าวว่าเจดีย์ส่วนใหญ่ฐานนั้นจะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมจัตุรัสนั้นมาจากฐานอุบลมณฑล ซึ่งเป็นต้นแบบนิยมสร้าง กัน ในสมัยคลื่นที่ 3 ของพระพุทธศาสนา ( รุ่งเรืองอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 12 ถึง 13 ) ที่เข้าสู่ประเทศสยามและนครจัมปาศรีก็ได้รับอิทธฺพลศิลปวัฒนธรรมในคลื่นนี้ด้วย


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#6699ff>นครจัมปาศรีเจริญรุ่งเรืองในสมัยลพบุรี ซึ่งมีหลักฐานยืนยัน ดังนี้



    </TD></TR></TBODY></TABLE>​


    1. หลักศิลาจารึก 14 บรรทัดที่ขุดพบที่ศาลานางขาว ในเขตนครจัมปาศรี ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ ขอนแก่น
    2. ศิลปะวัตถุต่างๆ ทั้งสมบูรณ์และแตกหักที่ขุดพบและแตกกระจายในเขตนครจัมปาศรี เช่น พระวัชรธร พระอิศวร พระนารายณ์ เศียร พระกร และอื่นๆอีกเป็นจำนวนมาก
    3. โบราณสถาน เช่น กู่สันตรัตน์ กู่น้อย และศาลานางขาว

    หลักศิลาจารึก ศิลปวัตถุ และโบราณสถานเหล่านี้ล้วนเป็นศิลปกรรมของขอมสมัยลพบุรีทั้งสิ้น เช่นกู่สันตรัตน์ กู่น้อย ซึ่งเป็นศิลปะแบบบายน

    (ศิลปแบบบายน พ.ศ. 1724-ราว พ.ศ. 1780) ตรงกับรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 มหาราชองค์สุดท้ายของขอมข้อมูลและหลักฐานเหล่านี้ชี้ได้ชัดเจนว่า นครจัมปาศรีได้เจริญรุ่งเรืองมา 2 ยุค ดังที่กล่าวแล้ว


    พระอริยานุวัตร เขมจารีเถระ ศูนย์วัมนธรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วัดมหาชัยจังหวัดมหาสารคาม ได้เขียนประวัตินครจัมปาศรีไว้ในหนังสือที่ระลึก เนื่องในงาน ทอดกฐินพระราชทานของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ( มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ) มีข้อความว่า" ในปี พ.ศ. 2492 ท่านเจ้าคุณได้เดินทางไปร่วมฉลองวัด หนองทุ่ม ตำบลนาดูน อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม ( ตำบลนาดูนเมื่อก่อนขึ้นกับอำเภอวาปีปทุม ปัจจุบันเป็นอำเภอนาดูน ) ได้มีโยมผู้เฒ่าบ้านสระบัว อายุประมาณ 80 ปี ได้ไปร่วมฉลองวัดหนองทุ่มด้วย และได้นำหนังสือก้อม ( หนังสือใบลานขนาดสั้น ) ประวัตินครจัมปาสรี กู่สันตรัตน์ ถวายท่านเจ้าคุณ เมื่อท่านเจ้าคุณได้อ่านหนังสือก้อมแล้ว จึงได้มอบถวายพระครูอนุรักษ์บุญเกต ( เสาโสรโต )

    ซึ่งเป็นเจ้าคณะตำบลนาดูนและเป็นผู้สร้างวัดหนองทุ่ม ต่อมาพระครูอนุรักษ์บุญเขตได้มรณะภาพในปี พ.ศ. 2498 หนังสือก้อมดังกล่าวได้สูญหายไปไม่สามารถจะค้นพบได้จะอย่างไรก็ตาม ท่านเจ้าคุณก็ได้เขียนประวัตินครจัมปาศรีไว้ว่านครจัมปาศรีอยู่ในสมัยมที่ศาสนาพุทธและศษสนา พราหมณ์กำลังเจริญรุ่งเรืองในประเทศนี้ บันดาหัวเมืองน้อยใหญ่ในสมัยนั้นพร้อมกันมานพน้อมเป็นบริวารและต่างก้พร้อมใจกันมาทำค่ายคูเมือง เพื่อป้องกันข้าศึกศัตรู และเพื่อป้องกันบ้านเมืองให้ได้รับความผาสุข ในการใ ช้ตะพัง บึง หนอง ได้สะดวกและใช้เป็นตะพังชุบศรเมื่อเกิดศึกสงคราม

    พระยศวรราชเจ้าผู้ครองนครจัมปาศรี อันมีพระนางยศรัศมีเป็นพระราชเทวา มีวงศ์ตระกูลมาจากกษัตริย์เจ้าจิตเสราชา บ้านเมืองขระนั้นมีความสงบสุขและศาสนาพุทธ เจริญรุ่งเรืองในช่วงนั้น มีศัตรูอยู่ทางทิศใต้คือ กษัตริย์วงศ์จะนาศะ แต่ก็ไม่สามารถเข้าทำลายได้เท่าใดนัก
    พระราชาผู้ครองนครจัมปาศรี ตั้งแต่พระเจ้ายศวราชมาโดยลำดับได้สร้างเทวาลัย ปางค์กู่ มีกู่สันตรัตน์ กุ่น้อย และศาลานางขาวเป็นต้น เพื่อเป็นสถานที่ศักการบูชา ในพิธีกรรมตามธรรมเนียมในศาสนาพรามณ์และศาสนาพุทธตามลำดับ
    นครจัมปาศรีอยู่ในยุคร่วมสมัยเดียวกับเมืองศรีโคตรบูร เมืองหนองหานหลวง เมืองหนองหานน้อย เมืองสาเกตุหรือร้อยเอ็ดประตูเมืองกุรุนทะนครหรืออโยธยา เมืองอินทปัฐนคร และเมืองจุลมณี ในพุทธศตวรรษที่ 6 ซึ่งตรงกับราชกาลของพระเจ้าสุมินทราชหรือสุมิตตธรรมวงศาธิราชแห่งอาณาจักรโคตระบอง (ศรโคตรบูล) ได้ขยาย อาณาเขตครอบคลุมหัวเมืองน้อยใหญ่จากหนังสือพระธาตุเจดีย์วัดสำคัยและพระครูยอดแก้วโพนสะเม็ด พิมพ์ไดยกระทรวงธรรมการของประเทศลาว เมื่อ พ.ศ. 2517 เรื่องประวัติพระธาตุสีโคตะบอง


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#6699ff>ในหนังสืออุรังคธาตุได้กล่าวถึงแคว้นสำคัญไว้ 7 แคว้นด้วยกันคือ



    </TD></TR></TBODY></TABLE>​






    1. แคว้นศรีโคตรบูล เดิมอยู่ใต้ปากเซบั้งไฟ มีพระยาศาสีโคตรบองเป็นผู้ครอง ต่อมาได้ย้ายมาฝั่งธาตุพระพนม ณ ดง ไม้ลวกได้ให้ขื่อเมืองใหม่ว่า " มรุกขนคร " มีพระยานันทเสนเป็นผู้ครอง


    2. แคว้นจุลมณี คือดินแดนแคว้นตังเกี๋ย มีพระยาจุลมณีพรหมทัตเป็นผู้ครอง


    3. แคว้นหนองหานหลวง คือบริเวณที่จังหวัดสกนครมีพระยาสุรรณภิงคารเป็นผู้ครอง



    4. แคว้นอินทปัฐ คือดินแดนเขมรโบราณ มีพระยาอินทปัฐเป็นผุ้ครอง



    5. แคว้นหนองหานน้อย คือบริเวณอำเภอหนองหาน อำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี มีพระยาคำแดงเป็นผู้ครอง


    6. แคว้นสาเกต หรือเมืองร้อยเอ็ดประตูมีพระยาสาเกตเป็นผู้ครอง(เดิมอยู่ที่อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม)






    </TD></TR></TBODY></TABLE>​


    http://www.geocities.com/taoth2001/tao35.html
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กุมภาพันธ์ 2009
  10. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ไหนๆเราก็ว่ากันถึงที่มาที่ไปของนครจำปาศรีแล้ว ก็ลองขยายความลึกลงไปอีกหน่อย

    จากข้อสันนิษฐานของ อาจารย์สมชาย ลำดวน ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้สันนิษฐานว่า นครจัมปาศรีมีความเจริญรุ่งเรืองมา 2 ยุคด้วยกันคือ
    <O:p</O:p
    ยุคแรก คือ ยุคทวารวดี ระหว่าง พ.ศ.1000-1200 หลักฐานชี้นำให้เห็นเด่นชัด คือ หลักฐานจากพระพิมพ์ดินเผาที่ขุดพบจากกรุต่างๆ ในเขตพื้นที่นครจัมปาศรีและหลักฐานทางสถูปเจดีย์ ศาสตราจารย์ ดร.จิตร บัวบุศย์ ให้ความเห็นว่า เจดีย์ส่วนใหญ่ฐานนั้นมาจากฐานอุบลมณฑลซึ่งเป็นต้นแบบนิยมสร้างกันในสมัยคลื่นที่ 3 ของพระพุทธศาสนา (รุ่งเรืองอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 12 ถึง 13) ที่เข้าสู่ประเทศสยามและนครจัมปาศรีก็ได้รับอิทธิพล ศิลปวัฒนธรรมในคลื่นนี้ด้วย<O:p</O:p

    ยุคที่สอง คือ ยุคลพบุรี ระหว่าง พ.ศ.1600-1800 ซึ่งมีหลักฐานยืนยันดังนี้คือ หลักศิลาจารึก14 บรรทัดที่ขุดพบที่ศาลานางขาว ศิลปะวัตถุต่างๆที่ขุดค้นพบและแตกกระจายในเขต นครจัมปาศรี โบราณสถาน ล้วนเป็นศิลปกรรมของขอมสมัยลพบุรีทั้งสิ้น <O:p</O:p

    ในปัจจุบัน บริเวณที่ตั้งของนครจัมปาศรี คือ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งมี อาณาเขตติดต่อกับอำเภอและจังหวัดใกล้เคียง ดังนี้[​IMG]
    <O:p</O:p&middot; ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อำเภอปทุมรัตน์ จังหวัดร้อยเอ็ด<O:p</O:p
    &middot; ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อำเภอนาเชือกและอำเภอยางสีสุราช <O:p</O:p
    จังหวัดมหาสารคาม<O:p</O:p
    &middot; ทิศเหนือ ติดต่อกับ อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม<O:p</O:p
    &middot; ทิศใต้ ติดต่อกับ อำเภอพยัคภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม<O:p</O:p
    [​IMG]
    ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไป ของอำเภอนาดูน เป็นที่ราบลูกคลื่นสลับกันไม่มีภูเขา ไม่มีแม่น้ำไหลผ่าน มีป่าไม้เบญจพรรณเหลือบ้างเล็กน้อยทางทิศเหนือและทิศตะวันตกเฉียงเหนือลักษณะดินส่วนใหญ่เป็นดินปนทรายในฤดูแล้งเก็บน้ำไม่อยู่ บางแห่งมีดินเกลือปะปนซึ่งเป็นดินที่ขาดความอุดมสมบูรณ์ของอาหารพืช และมีมากมายด้านทิศตะวันออกของตัวอำเภอนาดูน การเดินทางจากตัวเมืองมหาสารคาม สามารถไปได้โดยใช้เส้นทางหมายเลข 2040 ผ่านอำเภอแกดำ อำเภอวาปีปทุม จากนั้นเลี้ยวขวาเข้าเส้นทางหมายเลข 2045 ถึงอำเภอนาดูน ซึ่งมีระยะทางห่างจากตัวเมืองประมาณ 65 กิโลเมตร ตลอดเส้นทางผู้เดินทางจะได้รับความสะดวกสบายจากถนนลาดยางตลอดทั้งสายพร้อมทั้งสัมผัสกับธรรมชาติจากสองฝั่งถนนที่ร่มรื่นสบายตา
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 30 คน ( เป็นสมาชิก 5 คน และ บุคคลทั่วไป 25 คน ) </TD><TD class=thead width="14%">

    </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, :::เพชร:::+, katicat+, nongnooo+, pol47 </TD></TR></TBODY></TABLE>

    [​IMG]

    เป็นไงครับคุณnongnooo

    ดีหรือเปล่าครับ
    แรงหรือเปล่าครับ

    .
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  12. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    จะลองใช้แนวทางความรู้ในเรื่องการวิเคราะห์พระพิมพ์ของอาจารย์ปู่ประถมมาว่ากันถึงเนื้อดินเผาของกรุนาดูนดู เชื่อหรือไม่แล้วแต่ท่านจะพิจารณากันเอาเอง..

    ในเมื่อเราสงสัยกันถึงเรื่องดิน ก็จะหยิบความรู้เรื่องดิน ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวองค์ปัจจุบันมาอ้างอิงกัน

    <TABLE class=main cellSpacing=0 cellPadding=0 width=750 align=center border=0><TBODY><TR><TD class=content width=600 rowSpan=2>ดิน

    [​IMG]
    ดินตื้น
    หมายถึงดินที่มีชั้นลูกรัง ก้อนกรวด เศษหิน ปะปนอยู่ในเนื้อดินมากกว่า 35 % โดยปริมาตร หรือพบชั้นหินพื้น หรือมีชั้นหินปูนมาร์ล ตื้นกว่า 50 ซม. จากผิวดิน ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืช การไถพรวน และแร่ธาตุอาหารต่ำ เป็นเหตุให้พืชที่ปลูกไม่ค่อยเจริญเติบโต และให้ผลผลิตต่ำในการจัดการดินเพื่อปลูกพืช ถ้าดินมีหน้าดินหนามากกว่า 25 ซม. พอจะใช้ปลูกพืชไร่ เช่น ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ถั่วเขียว ถั่วพุ่ม ฯลฯ ได้

    การจะให้ได้ผลผลิตดี ควรเน้นการรักษาความชุ่มชื้นของดิน และเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ร่วมกับการปรับปรุง บำรุงดินด้วยอินทรียวัตถุ และการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน
    ในพื้นที่ที่มีความลาดชัน สำหรับการปลูกไม้ผล หรือไม้ยืนต้นจะต้องมีการเตรียมหลุมปลูกให้กว้างและลึกกว่าปกติ พร้อมกับปรับปรุงดินด้วยหน้าดิน หรือนำหน้าดินจากที่อื่นมาคลุกเคล้ากับปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก

    สำหรับพื้นที่ที่มีลูกรัง ก้อนกรวดและเศษหินลอยหน้า หรือพื้นที่ที่มีหน้าดินน้อยกว่า 25 ซม. ควรใช้ทำทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ ปลูกป่า หรือไม้ยืนต้นโตเร็ว ในพื้นที่ลุ่มที่มีน้ำท่วมขังเลือกใช้พื้นที่ที่มีหน้าดินลึกกว่า 25 ซม. มาใช้ทำนาโดยมีการปรับปรุงดินด้วยอินทรียวัตถุ เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน

    ดินเปรี้ยว
    ดินเปรี้ยวจัด หรือกรดกำมะถัน เป็นดินที่มีสารประกอบไพไรท์มากซึ่งเมื่อดินแห้ง หรือสัมผัสกับอากาศ สารไพไรท์จะแปรสภาพเป็นสารประกอบจาโรไซท์ ที่มีลักษณะ เป็นจุดปะสีเหลืองคล้ายสีฟางข้าว หรือมีกรดกำมะถันเกิดขึ้น ทำให้ดินเป็นกรดจัด ค่าpH ต่ำกว่า 4.0 พบในพื้นที่ลาดลุ่มชายฝั่งทะเล ซึ่งเคยมีน้ำทะเลท่วมถึงในอดีต เช่นที่ราบลุ่มภาคกลาง และที่ราบลุ่มตามชายฝั่งภาคใต้ และภาคตะวันออก
    ปัญหาของดินเปรี้ยวจัด
    คือดินเป็นกรดรุนแรงมาก ทำให้เกิดความไม่สมดุลของธาตุอาหาร มี เหล็ก อลูมินั่ม แมงกานีส ละลายออกมากจนเป็นพิษต่อพืช และจุลินทรีย์ในดิน ในขณะที่แร่ธาตุบางอย่าง เช่นฟอสฟอรัส ถูกตรึงไว้ พืชดูดเอาไปใช้ไม่ได้ น้ำมีรสฝาดไม่เหมาะสมต่อการเกษตร หรือใช้อุปโภค บริโภค

    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานวิธีการจัดการกับดินเปรี้ยวจัด ให้สามารถเพาะปลูกพืชได้ ด้วยโครงการ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • ne_Msk.pdf
      ขนาดไฟล์:
      1.1 MB
      เปิดดู:
      117
  13. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ว่าไปแล้ว พระพิมพ์ทวารวดียุคต้นนี้อย่างน้อยอายุพอๆกับพระดินเผากรุนาดูนเลยนะครับ 55555 สมควรภาคภูมิใจที่มีวาสนาได้ครอบครอง
     
  14. aries2947

    aries2947 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    2,031
    ค่าพลัง:
    +11,622
    แล้ววันอื่นล่ะครับพี่เพชรครับ ขอความรู้หน่อยนะครับ
    ขอบคุณครับ
     
  15. katicat

    katicat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2008
    โพสต์:
    1,112
    ค่าพลัง:
    +524

    เป็นผู้ดูแลเก็บรักษามากกว่านะคะ
     
  16. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ทีนี้ก็มาว่ากันว่า ทำไมพระกรุนาดูนี้ถึงได้มีหลายพิมพ์เหลือเกิน ทำไมถึงช่างคิดได้ขนาดนั้น ในชนิดที่ว่าคนยุคปัจจุบันคาดคิดไปไม่ถึงหลักปรัชญาการดำเนินชีวิตของคนในสมัยนั้น ลองอ่านจากวัมนธรรมท้องถิ่นของเขาดูว่าแต่ละเดือนชาวบ้านชาวช่องเขาทำงานบุญอะไรที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนา ซึ่งหากเทียบยุคสมัยแล้วการสร้างพระพิมพ์ในแถบอาณาจักรหริภุญไชย(ชัย)ทางเหนือ กับจัมปาศรีทางอีสานแล้ว ก็พบว่ามีหลายหลายพิมพ์ ล้วนแต่เกี่ยวเนื่องกับความรุ่งเรืองของศาสนา และชนชาติขอมโบราณมาก่อน การสร้างพระพิมพ์ในสมัยนั้นไม่ได้มุ่งประโยชน์ทางพุทธพาณิชย์แต่อย่างใด แต่เป็นการสร้างไว้เพื่อปกป้องคุ้มกันอาณาจักร และสืบต่อพระศาสนาเท่านั้น การสร้างพระพิมพ์จึงอิงกับชีวิตความเป็นอยู่ของคนสมัยนั้น ลองพิจารณาดูนะครับ..

    นอกจากจะได้สัมผัสกับธรรมชาติแล้วสิ่งที่ผู้มาเยือนจะได้สัมผัสอีกประการ เมื่อได้เข้าสู่ดินแดนที่ชื่อว่า นครจัมปาศรี นั่นคือ รอยยิ้มและความมีน้ำใจของผู้คนแถบนี้ ซึ่งนั่นเป็นการแสดงถึงพื้นฐานจิตใจที่ถูกปลูกฝังมาอย่างยาวนานตั้งแต่ครั้งบรรพชน ชาวนาดูนเป็นผู้ที่มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ยังยึดถือประเพณีดั่งเดิมของชาวอีสาน คือ เป็นผู้มีจิตใจเป็นบุญเป็นกุศล ชอบทำบุญทำทานจึงได้มีประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามที่เรียกว่า “ฮีตสิบสอง” เป็นการทำบุญสำคัญครั้งใหญ่ ในหนึ่งปีจะมีการทำบุญครั้งสำคัญรวมสิบสองครั้ง นั่นคือในแต่ละเดือนจะมีการทำบุญใหญ่หนึ่งครั้งดังจะกล่าวถึงต่อไปนี้
    <O:p</O:p
    เดือนอ้าย (เดือนมกราคม หรือเดือน1) บุญเข้าปริวาสกรรม เป็นการทำบุญในช่วงที่พระภิกษุสามเณรอยู่ปริวาส คือ การลงโทษให้อบรมตัวเองเท่ากับเวลาที่อาบัติแล้วปิดไว้ ชาวไทยอีสานที่นับถือศาสนาพุทธก็จะนำข้าวปลาอาหารและสิ่งของที่จำเป็นแก่สมณะไปถวายแก่พระภิกษุสามเณรเหล่านั้นตลอดระยะเวลาที่อยู่ปริวาส ซึ่งถือว่าเป็นการทำบุญครั้งใหญ่ และจะได้บุญได้บุญกุศลมาก<O:p</O:p

    เดือนยี่ (เดือนกุมภาพันธ์ หรือเดือน 2 ) บุญคุณลาน เป็นการทำบุญหลังจากเก็บเกี่ยวเสร็จแล้ว ก่อนที่จะขนข้าวขึ้นเล้าหรือยุ้งฉาง ก็จะทำบุญคุณลาน เพื่อความเป็นสิริมงคลสมบูรณ์พูนสุขเพื่ออุทิศส่วนกุศลไปยังญาติพี่น้องผู้ล่วงลับไป แล้ว อีกทั้งเป็นการบูชาเทพยดาผู้ดลบัลดาลให้ฝนฟ้าตกต้อง[​IMG]ตามฤดูกาลและพระแม่โพสพผู้รักษาข้าวในนาได้เจริญงอกงาม<O:p</O:p


    เดือนสาม (เดือนมีนาคม) บุญข้าวจี่ เป็นการทำบุญจากข้าวของตน หลังจากว่างเว้นจากการเก็บเกี่ยว โดยประชุมตกลงวันทำบุญเมื่อได้วันแล้วแต่ละครอบครัวจะนำข้าวจี่ไปรวมกันที่วัดเพื่อถวายเป็นสังฆทาน โดยชาวอีสานมีความเชื่อว่า ถ้าได้ถวายข้าวจี่แก่พระภิกษุสามเณร จะได้อานิสงส์อย่างมาก<O:p</O:p


    เดือนสี่ (เดือนเมษายน) บุญผะเหวด หรือ บุญมหาชาติ เป็นการทำบุญที่มีการฟังเทศน์เรื่องพระเวสสันดร ดังนั้นชาวอีสานจึงยึดถือปฏิบัติประเพณีนี้ สืบต่อกันมาด้วยการบอกกล่าวญาติพี่น้องให้ไปร่วมทำบุญฟังเทศน์มหาชาติ ตามวันทำบุญที่กำหนด และมีการแห่กัณฑ์กลอน (กัณฑ์เทศน์)ไปร่วมทำบุญด้วย<O:p</O:p


    เดือนห้า บุญสงกรานต์เป็นวันสิ้นปีเก่าและวันขึ้นปีใหม่ของไทยเราแต่โบราณโดยปกติจะอยู่ระหว่างวันที่ 13-15 เมษายนของทุกปี ทำบุญตักบาตรอุทิศส่วนกุศลไปให้ญาติพี่น้องผู้ล่วงลับไปแล้วเข้าขอพร รดน้ำดำหัวจากพ่อแม่ญาติพี่น้อง และผู้ที่เคารพนับถือทางราชการจัดให้วันสงกรานต์เป็นวันครอบครัวแห่งชาติ<O:p</O:p


    เดือนหก บุญบั้งไฟ สืบเนื่องจากชาวอีสานมีความเชื่อว่า “พญาแถน เป็นเทพเจ้าแห่งฝนสามารถดลบันดาลให้ฝนตกต้องตามฤดูกาลได้” ดังนั้นชาวอีสานจึงจัดงานทำบุญบั้งไฟเพื่อบูชาพญาแถนเป็นการขอบคุณและเพื่อขอฟ้าขอฝนให้ตกต้องตามฤดูกาล<O:p</O:p


    เดือนเจ็ด บุญซำฮะ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “บุญเบิกบ้าน” เป็นการทำบุญเพื่อบูชา เทพยดาอารักษ์ ศาลเจ้าพ่อ เจ้าปู่ หลักบ้านหลักเมือง ผีปู่ตา ผีตาแฮก และเพื่อให้เกิดความเป็นสิริมงคลแก่ครอบครัวให้อยู่เย็นเป็นสุข การทำบุญซำฮะจึงเป็นการทำบุญเพื่อชำระล้างสิ่งที่เลวร้ายหรือสิ่งที่เป็นมลทินมัวหมองออกไป จากชีวิตให้ความราบรื่นเป็นปกติสุข<O:p</O:p


    เดือนแปด บุญเข้าพรรษา เป็นประเพณีนิยมของชาวนาดูน ที่จะต้องทำบุญ ด้วยการนำข้าวปลาอาหาร เวชภัณฑ์ยารักษาโรค ผ้าอาบน้ำฝน เทียนพรรษา และสิ่งของจำเป็นอื่นๆ ไปถวายพระภิกษุ สามเณร เพราะระยะเวลา 3 เดือน คือตั้งแต่แรม 1 ค่ำเดือน8 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 พระภิกษุสามเณรจะอยู่จำพรรษาที่วัดแห่งนั้น ตลอด 3 เดือน โดยไม่จาริกไปนอนค้างคืนที่อื่นถ้าไม่จำเป็น<O:p</O:p


    เดือนเก้า บุญข้าวประดับดิน เป็นประเพณีนิยมทำกันในวันแรม 14 ค่ำ เดือน 9 เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว ด้วยการนำข้าวปลาอาหารของคาวหวาน หมากพลู บุหรี่ห่อด้วยใบตองนำไปวัดพร้อมด้วยภัตตาหารที่จะถวายพระภิกษุสามเณร ก็จะมีพิธีเปรตพลี คือพิธีกรวดน้ำทำบุญอุทิศส่วนกุศลไปให้ผู้ตาย โดยห่อข้าวประดับดินที่เตรียมไว้ไปไว้ตามโคนต้นไม้กิ่งไม้ พร้อมกับเชิญวิญญาณของญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้วมารับเอาส่วนบุญส่วนกุศล[​IMG]
    <O:p</O:p
    เดือนสิบ บุญข้าวสาก หรือบุญข้าวสลากภัต นิยมทำตรงกับวันขึ้น15 ค่ำ เดือน 10 การเตรียมข้าวสากจะมี 2ลักษณะ คือ ห่อข้าวใหญ่เป็นห่อข้าวสำหรับถวายพระภิกษุสามเณร และห่อข้าวเล็ก เป็นห่อข้าวสำหรับอุทิศส่วนกุศลไปให้ผู้ตาย<O:p</O:p


    เดือนสิบเอ็ด บุญออกพรรษา นิยมทำตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำและแรม 1 ค่ำเดือน 11 ซึ่งเป็นวันสุดท้ายของการอยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนของพระภิกษุสามเณร พิธีกรรมที่นิยมทำ ได้แก่ การจุดประทีปโคมไฟ ทำบุญตักบาตรเทโว และฟังเทศน์นิทานชาดกต่างๆ<O:p</O:p


    เดือนสิบสอง บุญกฐิน เป็นประเพณีนิยมของชาวพุทธโดยเฉพาะชาวนาดูนมีความเชื่อว่าการทำบุญกฐินเป็นการทำบุญที่ได้กุศลมาก ฤดูกาลทำบุญกฐินมีกำหนด 1 เดือนคือตั้งแต่แรม 1 ค่ำเดือน 11 ถึงขึ้น 15 ค่ำเดือน 12 พระภิกษุสามเณรจะสามารถรับกฐินได้เพียง 1 ครั้งเท่านั้น
    http://muiya.multiply.com/journal/item/9

    จิตเกาะบุญทั้ง ๑๒ เดือน คิดจะทำอะไรที่เป็นกุศล ย่อมน้อมนำจำลองวิถีความเป็นอยู่ ความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนามาไว้ในพระพิมพ์เพื่อแสดงให้เห็นถึงความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้า..<O:p</O:p
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กุมภาพันธ์ 2009
  17. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ระหว่างเก็บดูแลรักษาเพื่อส่งมอบให้ผู้มีวาสนาต่อไป ก็ต้องครอบครองก่อนไม่ใช่หรือ เมื่อหมดวาระทางโลก(รูปแตกดับ) ทางธรรม(หมดความต้องการทางวัตถุ) ก็ส่งมอบให้ผู้มีวาสนาครอบครอง และดูแลรักษาต่อไป

    โมทนาด้วยครับ
     
  18. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ aries2947 [​IMG]
    แล้ววันอื่นล่ะครับพี่เพชรครับ ขอความรู้หน่อยนะครับ
    ขอบคุณครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    หากว่าให้ครบทั้ง ๘ วัน สงสัยจะหมดวัน ลองไปหาอ่านจากหมวดหน้าดูดวงนะ คงจะมีผู้ post บอกไว้แล้ว พี่หยิบประเด็นนี้มาคุยให้ฟังเท่านั้น..

    พี่เคยกำหนดฤกษ์การคลอดให้น้องสาวซึ่งว่าไปแล้วก็มีความเร่งรีบงานรัดตัว เจาะจงจะคลอดวันเสาร์อาทิตย์ให้ได้ เพราะจะได้ไม่ต้องลาคลอดวันทำงาน เฮ้อ! ชีวิตมันจะเร่งรีบไปถึงไหน เลยถามกลับไปว่า หากวันเสาร์อาทิตย์เผอิญว่ามันตรงกับฤกษ์ของโจร หรือฤกษ์ของขอทานแบบนี้เอาไม๊..55555ซึมไปเลยนะ..

    หากเลือกได้เราควรได้เลือก ใช่ไม๊ครับ? หากเราทราบว่าเด็กจะคลอดออกมาใน ๑ อาทิตย์ ยังไงก็ไม่สามารถจะเลือกปีพ.ศ.เกิดได้ เพราะมีถึง ๑๒ เดือน และหากจะเลือกเดือนเกิดก็ต้องรอไปอีก ๓๐-๓๑ วัน ก็คงจะรอไม่ได้เช่นกัน ดังนั้นจึงเหลือเพียงกรณีเดียวคือการเลือกวันเท่านั้น คือมีให้เลือกได้เพียง ๘ วัน(รวมวันพุธกลางคืนเป็นอีก ๑ วัน) และหากเลือกวันใดวันหนึ่งที่เหมาะสมแล้ว ก็สามารถที่จะกำหนดฤกษ์ยามในช่วง ๒๔ ช.ม.ได้ หากเลือกได้อย่างเหมาะสมก็เสมือนหนึ่งกำหนดความเป็นศิริมงคลให้เด็กคนนั้นได้บ้างแล้ว แม้จะไม่สามารถกำหนดการได้ทั้งหมดก็ตาม ..
     
  19. คีตา

    คีตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    665
    ค่าพลัง:
    +4,309
    ผมได้นำภาพวาดพระพุทธองค์จาก อ.ศักดา มาฝาก พี่ๆวังหน้า เป็นไฟล์ครับ


    ได้จากโรงพิมพ์ ตอนแรกคิดว่าจะละเอียดกว่านี้ แต่คงเป็นกลยุทธ์ของโรงพิมพ์ แต่ภาพก็สวย สีสด ใช้ได้ทีเดียวครับ


    กรอบเล็กๆด้านขวามือเป็นเรื่องราวในการได้ภาพนี้มา ปัญหาว่าเวลา zoom เข้า จะไม่ชัด ผมก็เลยถ่ายภาพเล่าที่มาที่ไป ในกรอบให้อีกไฟล์แยกต่างหากครับ

    [​IMG]



    หมายเหตุ : ขอทุกท่านพิจารณาภาพพระองค์ท่านด้วยพุทธานุสติ ด้วยใจที่ระลึกน้อมถึงคุณอันประเสริฐของพระพุทธองค์


    หมายเหตุ2 : ต้องขอบพระคุณ คุณพี่มาลา ที่โรงทานของ อ.ศักดา ที่กรุณาแจ้งมาว่า ให้สามารถพิมพ์เพิ่มได้ แจกจ่ายไปให้ทั่ว ให้สิทธิเราและเพื่อนพุทธศาสนิกชนพิมพ์ได้เต็มที่


    หมายเหตุ3 : ขอบพระคุณ และขออนุโมทนา เวบพลังจิต พี่ๆวังหน้า พี่ๆทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธฯ พี่ศศิริยะ ที่เป็นสื่อ และให้ได้ลงในแจกจ่ายกระทู้นี้ ขอรับ


    หมายเหตุ 4 : ต้องขอบคุณ และขออนุโมทนา กับพี่ ชวภณ ศ. เอ(aries2947) อิน(ONG) โต้ง(bundit_tong) ที่ให้การแนะนำ เสนอความคิด เรื่องการพิมพ์ครั้งนี้ด้วยครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 2.JPG
      2.JPG
      ขนาดไฟล์:
      104.4 KB
      เปิดดู:
      1,609
    • pra.jpg
      pra.jpg
      ขนาดไฟล์:
      68.7 KB
      เปิดดู:
      45,349
  20. aries2947

    aries2947 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    2,031
    ค่าพลัง:
    +11,622
    โมทนาบุญด้วยครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...