จิตบังคับบัญชาได้หรือไม่ ถ้าไม่ได้...จะอบรมจิตได้อย่างไร???

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย ธรรมภูต, 27 มกราคม 2009.

  1. หัตถ์เทพหมื่นวิญญาณ

    หัตถ์เทพหมื่นวิญญาณ สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    347
    ค่าพลัง:
    +22
    พูดไปเองแล้วท่าน
    ผมไปไม่เคารพแผนการสอนอะไรตั้งแต่เมื่อไหร่รึ
    ผมเป็นคนกล่าว ไม่ถูกไม่ควรก็ด่ามา ไม่เห็นต้องพาดพิงใครหนิ
    นี่ท่านเอกเป็นอะไรไปอีก ยังงอนไม่เลิกอีกรึ
     
  2. walaphako

    walaphako ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,165
    ค่าพลัง:
    +1,599
    คิดถึงน้าจร น้าจร ไปไหน เอิ๊กๆ
     
  3. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    อ้อ ตกลง จะยืนยันใช้ กิเลส ครอบ ความไม่รู้แจ้งอริยสัจจ(อวิชชา)

    ตามที่คุณใช้ ตามใจนะ ก็บอกแล้วว่า แล้วแต่คุณ

    มันก็ไม่ได้ผิดอะไรหรอก เพียงแต่มันจะงง เพราะคำว่า อวิชชา นั้น
    ก็เอาไว้สอนแบบหนึ่ง คำว่ากิเลสก็เอาไว้สอนกันแบบหนึ่ง แต่ถ้า
    เอาคำว่ากิเลสมาคลุมทั้งหมด ก็ไม่ผิดอะไร

    แบบแผนการสอนในแต่ละขั้นก็ว่ากันไป คนอื่นเขาใช้อย่างหนึ่งเพื่อ
    ใช้ประกอบการชี้วิเศษลักษณะตามแต่ละคำ พี่วิมุตติใช้อย่างหนึ่งแบบ
    รวมๆไปเลย เพราะไปเห็นว่า การไปชี้วิเศษลักษณะตามแต่ละหน้าที่
    ของกิเลสชนิดต่างๆ มันไม่จำเป็น มันเยิ่นเย้อ มันไม่ย่อๆ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 กุมภาพันธ์ 2009
  4. หัตถ์เทพหมื่นวิญญาณ

    หัตถ์เทพหมื่นวิญญาณ สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    347
    ค่าพลัง:
    +22
    ท่านและผม กล่าวได้ถูกทั้งคู่
    แนวทางผมคือ ย่นย่อธรรม ให้เข้าใจง่ายๆ
    การอธิบายที่ละเอียดเยิ่นเย้อ มักนำมาซึ่งความสับสน ว่าอะไรเป็นอะไรกันแน่
    ในช่วงเริ่มต้นใหม่ๆ ควรแล้วที่จะพูดอะไรให้มันเข้าใจง่ายๆไปก่อน แล้วค่อยๆละเอียดลึกลงไปตามลำดับ ตามภูมิจิตของผู้ปฏิบัติเองที่พอจะทำความรู้ความเห็นตามได้
    เช่นว่า เราควรพิจารณาธรรมในส่วนหยาบก่อน (สักกายทิฏฐิ) แล้วเมื่อชำนาญ จนละวางได้ จึงสมควรพิจารณาธรรมที่ละเอียดระดับกลาง (กามราคะ ปฏิฆะ) แล้วเมื่อชำนาญจนละวางได้ จึงสมควรพิจารณาธรรมที่ละเอียดที่สุด (มานะ อุทธัทจะ อวิชชา) เป็นไปตามลำดับ

    ไม่ใช่ว่า แค่เริ่มต้น ก็คุยกันแต่ละอวิชชา บรรลุนิพพาน มันก็ได้แค่คุยนั่นแหล่ะ จะใช้พยัญชนะ อนุพยัญชนะ สระ อะ อา อิ อี อุ อู ละเอียดแค่ไหน ก็ได้แค่คุยกัน

    มันต้องเริ่มที่ศีล สมาธิ วิปัสสนา และกุศลธรรมต่างๆ ให้ชำนิชำนาญเสียก่อน...

    เราจึงนิยมย่นย่อธรรมให้ง่ายต่อความเข้าใจก่อน แล้วจึงแจงในส่วนละเอียดต่อไปเมื่อสมควรแค่กาล...

    ปล. คำว่า วิเศษลักษณะ มีคำอื่นที่ทำให้เข้าใจง่ายกว่านี้ไหม ท่านเทพปริยัติ
     
  5. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192
    ***ครับคุณศูนย์ฯ ผมตอบในฐานะที่เป็นคนเปิดกระทู้เท่านั้นนะครับ
    ในอริยมรรคมีองค์แปด สามารถแบ่งได้ดังนี้ครับ
    มรรคองค์ที่๑-๒ เป็นปัญญา
    มรรคองค์ที่๓-๕ เป็นศีล
    มรรคองค์ที่๖-๘ เป็นสมาธิ

    ศีลมีไว้อบรม กายวาจา ให้แสดงออกซึ่งความงดงามเบื้องต้น(กายวาจา)
    สมาธิมีไว้อบรมจิต ให้อยู่ในความสงบตั้งมั่นไม่หวั่นไหว(งดงามในท่ามกลาง)
    ปัญญาเกิดขึ้นเมื่อจิตได้เห็นตามความเป็นจริงว่า
    เมื่อขณะที่จิตหวั่นไหวไปตามกิเลสทั้งหลาย
    ย่อมทำให้กายวาจาที่แสดงออกมาไม่เป็นที่รักน่าใคร่ของผู้พบเห็นเลย
    ต่อเมื่อสามารถควบคุมจิตให้สงงตั้งมั่นไม่หวั่นไหวต่อกิเลสที่ทั้งหลายได้
    ย่อมทำให้กายวาจาที่แสดงออกมานั้นงดงามในสายตาผู้พบเห็น

    ฉะนั้นศีล สมาธิ ปัญญา เมื่อเพียรฝึกอบรมให้ต่อเนื่องสม่ำเสมอ
    ย่อมทำงานร่วมกันจนกระทั่งเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
    ก็จะดูแลกันและกันเองโดยอัตโนมัติครับ

    พอสรุปได้แล้วนะครับ
    เมื่อจิตตั้งมั่นไม่หวั่นไหว ก็จะเกิดปัญญาเห็นตามความเป็นจริงว่า
    จิตที่ไม่สงบวุ่นวาย กระสับส่ายนั้นเป็นทุกข์
    เมื่อเห็นเช่นนั้นย่อมต้องกระทำจิตให้สบงตั้งมั่นไม่หวั่นไหวครับ
    ใช่จิตเห็นจิตมั้ยครับ???

    ;aa24
     
  6. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192
    ***ครับ ตั้งมั่นครับ แต่สมาบัติ๘ที่จอมศาสดาเคยฝึกฝนมาก่อนนั้น
    พระองค์ได้ทรงปฏิเสธไปแล้วว่าไม่ใช่ทางพ้นทุกข์
    เนื่องจากยังต้องยึดอารมณ์รูปฌานและอรูปฌานอย่างเหนียวแน่น
    เกรงว่าอารมณ์นั้นจะเสื่อมคลาย(ยังมีความหวั่นไหวอยู่ลึกๆ)ครับ

    จึงได้ออกมาจากสำนักอาจารย์เพื่อมาค้นหาอมตะธรรมด้วยพระองค์เอง
    เมื่อทรงพบสัมมาสมาธิ(ในอริยมรรค) เป็นสมาธิที่ปล่อยวางอารมณ์อย่างสิ้นเชิงแล้ว
    จึงได้รู้เห็นตามความเป็นจริงและทรงกล่าวไว้ว่า
    อมตะธรรมอันทรงตรัสรู้เองนั้น พระองค์ทรงไม่เคยได้ยินได้ฟังจากที่ไหนมาก่อนเลยครับ
    เป็นฌานที่ทำให้เกิดญาณปัญญาขึ้นได้
    มีปัญญาปล่อยวางความยึดมั่นถือมั่นในอุปทานขันธ์๕ได้อย่างสิ้นเชิงครับ

    ส่วน อุปจาระสมาธิ อัปนาสมาธิ จิตสงบตั้งมั่นเช่นกัน
    ต่างกันแต่ระดับความสงบตั้งมั่นและความหวั่นไหวมากน้อยกว่ากันครับ

    คุณเคยทำได้ระดับไหนหละครับ บอกวิธีด้วยนะครับ???

    ;aa24
     
  7. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192

    คุณก็ต้องบอกให้ชัดเจนสิครับ ในครั้งแรกนั้นคุณพูดลอยๆว่าอยู่โดยธรรม???
    คนอ่านอาจเข้าใจผิดได้นะครับ
    เพราะคุณเคยบอกว่ากิเลสไม่เป็นทุกข์ เมื่ออยู่โดยธรรม
    ถ้าไม่เป็นทุกข์ก็แสดงว่าเป็นโลกุตตรธรรมสิครับ
    คุณพูดกำกวมเองนิครับ???

    คุณควรพูดให้ชัดเจนสิครับ ในเมื่อครูบาอาจารย์บางท่านยังชอบพูดเสมอๆว่า
    เราทุกวันนี้เป็นอยู่โดยธรรมใช่มั้ยครับ???

    ;aa24
     
  8. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192
    ***
    ถ้าคุณ<?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]ไม่มีกิเลส กรรม</st1:personName> วิบากเป็นเหตุกดดันให้เกิด
    คุณจะมาเกิดมั้ยครับ???

    ;aa24<O:p</O:p
     
  9. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192
    ***ศีลมีไว้อบรม กายวาจา ให้แสดงออกซึ่งความงดงามเบื้องต้น(กายวาจา)
    สมาธิมีไว้อบรมจิต ให้อยู่ในความสงบตั้งมั่นไม่หวั่นไหว(งดงามในท่ามกลาง)
    ปัญญาเกิดขึ้นเมื่อได้เห็นตามความเป็นจริงว่า
    เมื่อจิตใจที่หวั่นไหวไปตามกิเลสทั้งหลายทำให้กายวาจาที่แสดงออกมา
    ไม่เป็นที่รักใคร่ของผู้พบเห็น
    ฉะนั้นศีล สมาธิ ปัญญาทำงานร่วมกันจนกระทั่งเป็นอันหนึ่งอันเดียว
    ก็จะดูแลกันเองโดยอัตโนมัติครับ

    ทำไมต้องเริ่มจากศีลครับ???
    เมื่อกายวาจาคุณไม่สงบระงับ จิตจะเป็นสมาธิได้มั้ยครับ???
    เมื่อจิตไม่สงบตั้งมั่นและยังหวั่นไหวอยู่ จะเกิดปัญญาได้มั้ยครับ???

    ;aa24
     
  10. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192
    ***ถ้าไม่ต่างกัน จะมีการแบ่งชั้นความหวานกันหรือครับว่า
    หวานพอประมาณ หวานมาก หวานมากๆจนเลี่ยน


    แล้วทำไมระดับความหวานที่แต่ละคนต้องการจึงไม่เท่ากันละครับ???

    ทำไมบางคนที่มีชีวิตอยู่อย่างยากลำบาก
    ได้ของที่ต้องการมากเพียงเล็กน้อย ก็เป็นสุขอย่างยิ่งครับ???

    ส่วนบางคนที่เกิดมามีทุกสิ่งทุกอย่างพร้อมมูลแล้ว
    ทำไมยังต้องดิ้นรนเพื่อหาความสุขอีกหละครับ???

    ;aa24
     
  11. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192
    ครับเป็นสีแดงเช่นกันครับ แต่มูลเหตุเป็นสีแดงที่มีก่อน<O:p</O:p
    ส่วนกิเลสก็เป็นสีแดงเหมือนกันแต่มีมาภายหลังครับ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ที่ตอบมานั้นถูกต้องแล้วใช่มั้ยครับ???

    ;aa24<O:p</O:p
     
  12. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    อ้าว ไหนบอกว่า ตัวเองถนัดย่นย่อ

    นี่แจกแจงเสียละเอียดเลย

    อีกอย่าง มันจะเป็นอะไรไป หากเราจะพูดจาใช้ศัพท์ วางรากฐานการศึกษา
    เอาไว้แต่เนิ่นๆ

    พระสูตรทุกพระสูตร ก็ใช้คำเหล่านี้ครบถ้วน ไม่มีการแยกพระสูตรออกมา
    เป็นระดับเด็กๆ ปฏิบัติน้อยๆ อินทีรย์น้อยๆ ก็เห็นทุกพระสูตรกล่าวตั้งแต่ต้น
    จนจบทุกครั้งและทุกบท

    คนที่อ่านไม่เข้าใจ เขาก็ถือว่าได้สดับ ฟังไปก่อน ไม่มีใครที่ไหนเขาจะปฏิเสธ
    การรับฟังศัพท์ที่ภูมิยังไม่ถึง เพราะปริยัติฝากโลกียะ เขาก็สดับได้ถึงคำว่า
    นิพพาน ไม่เห็นต้อปิดบังอะไร

    หากเข้าใจหลักการศึกษา วิธีการศึกษา ก็ไม่มีใครปฏิเสธแบบแผนการศึกษา
    ที่วางเอาไว้อย่างดีแล้ว

    ก็เห็นมีแต่พี่วิมุตตินี่แหละ ที่จะถอดถอนคำว่า อวิชชา ไปก่อน ให้เด็กๆได้ยิน
    คำว่า กิเลส พอแล้ว เพราะมันง่ายดี พอหมดกิเลส ก็พูดว่า หมดกิเลส ไม่
    ต้องไปยกคำว่า อรหันต์ หรือ นิพพาน อะไรมาให้ยุ่งยาก
     
  13. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192
    ***ทองบริสุทธิ์ สุกปลั่ง ความบริสุทธิ์อยู่ที่เนื้อทอง เราเห็นได้จากประกายที่สุกปลั่งนั้น <O:p</O:p
    เมื่อเอาสีมาทาทับไว้ ความสุกปลั่งถูกบดบังให้หมองไปโดยสีที่ทาทับนั้นเป็นมูล<O:p</O:p
    ทีนี่ถึงทองแท่งจะตกไปในสีอะไรก็แล้วแต่ที่จะผสมขึ้น<O:p</O:p
    ย่อมเปลี่ยนไปตามสีนั้นๆใช่มั้ย???<O:p</O:p
    เหมือนเอากิเลส(สีต่างๆ) มาพอกพูนไปเรื่อย<O:p</O:p
    จนกระทั่งไม่รู้ว่าแท้จริงแล้วสภาพเดิมนั้นเป็นอย่างไร??? <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ถ้าไม่มีอวิชชาเป็นมูลเหตุ(สีที่ทาทับครั้งแรก)ให้รู้เห็นผิดจากความเป็นจริงแล้ว
    <O:p</O:p
    คุณจะมีกิเลสเกิดขึ้น(พอกพูน)กับตัวคุณมั้ยครับ???

    ;aa24<O:p</O:p
     
  14. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192
    คุณทพแปลงร่างครับ

    ผมเพิ่งรู้นะครับว่า สักกายทิฐิเป็นกิเลสในส่วนหยาบ!!!
    แสดงว่าคุณละได้แล้วใช่มั้ยครับ???

    คุณเทพฯผ่านการพิจารณา กายในกายเป็นภายในสำเร็จแล้วหรือครับ???
    ช่วยบอกด้วยนะครับว่าสภาวะธรรมขณะนั้นเป็นอย่างไร???


    ;aa24
     
  15. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192

    ครับ คุณวิฯ อวิชชาคือความ(ที่จิต)ไม่รู้อริยสัจจ๔ตามความจริง
    จึงได้ไม่รู้ว่านี่เป็นทุกข์ นี่เป็นเหตุแห่ง นี่คือความดับทุกข์ นี่คือวิธีปฏิบัติที่จะให้ถึงการดับทุกข์

    เมื่อรู้ผิดจากความเป็นจริง(อวิชชา) ก็สั่งสมกิเลสเข้าพอกพูนที่จิตอยู่เสมอๆ
    โดยความเข้าใจผิดๆ(ไม่มีรู้ตามความเป็นจริง) การสนองตัณหาเป็นความสุขอย่างยิ่งครับ

    ขณะจิตนั้นเป็นเพียงละเหตุใกล้ได้ชั่วคราวเท่านั้น ไม่ใช่ดับครับ
    ก็เคยคุยกันแล้วนิครับว่า
    คำว่า "ดับ"หมายถึง สิ่งมีอยู่ก่อนดับหายไปนะครับ

    ไปละ

    ;aa24
     
  16. หัตถ์เทพหมื่นวิญญาณ

    หัตถ์เทพหมื่นวิญญาณ สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    347
    ค่าพลัง:
    +22
    นี่ขนาดแจงไปพอสมควร ยังไม่คลายสงสัยอีก
    ผมบอกว่า ถนัดแบบนี้ ก็ทำแบบนี้
    ส่วนท่านเทพปริยัติ ถนัดแบบไหน ก็ตามนั้นเถิด
    แต่ท่านจะมาบอกว่า แบบผมมันไม่ถูก ต้องแบบท่านจึงจะเหมาะสม อย่างนั้นหรือครับ
    เห็นชัดเลยว่ายังยึดในทัสนะตนไม่แปรเปลี่ยน

    ผมแค่พยายามพูดให้มันง่าย ว่า อวิชชา กับ กิเลส สัมพันธ์กันอย่างไร
    จะกล่าวว่า อวิชชา คือ กิเลส นั่นถูกต้อง
    จะกล่าวว่า กิเลส คือ อวิชชา ถูกต้องเป็นบางส่วน

    เช่นผมบอกว่า บางแก้ว คือ สุนัข
    และหากกล่าวสลับกันว่า สุนัข คือ บางแก้ว แบบนี้ถูกต้องไหมล่ะท่าน

    เรื่องง่ายๆ อย่าทำให้เป็นเรื่องยาก
    ภาษาง่ายๆ ไม่ต้องไปแต่งให้มันสวยหรูดูดีมีภูมินักหรอก ถ้าใจมันยังปิดอยู่

    ปล.คำว่า วิเศษลักษณะ มีคำอื่นที่เข้าใจง่ายกว่านี้ไหม (ถามเป็นครั้งที่2) หุๆๆๆ
     
  17. หัตถ์เทพหมื่นวิญญาณ

    หัตถ์เทพหมื่นวิญญาณ สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    347
    ค่าพลัง:
    +22
    ใช่ครับ สักกายทิฏฐิถือว่ายังเป็นส่วนหยาบ
    หลวงปู่มั่นสอนมาเองแหล่ะครับ
    ผมกล่าวว่า เป็นส่วนหยาบ ต้องแสดงว่าผมละได้แล้วหรือครับ
    ท่านคิดไปเองถึงไหนแล้วล่ะครับ

    มันก็เหมือนกับที่กล่าวกันว่า พระโสดาบัน เป็นผู้มีปัญญาน้อย
    พระอนาคามี เป็นผู้มีปัญญาปานกลาง
    พระอรหันต์ เป็นผู้มีปัญญาบริบูรณ์
    ใครๆก็รู้ว่า มีความหมายว่าอย่างไร
    อธิบายแบบนี้ พอเข้าใจได้บ้างไหมครับ คุณพูดพล่าม...
     
  18. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    เราเป็น วีไอพี หรือเปล่าหว่า หรือว่า เป็นวีโอพี เอ๊ะหรือ วีดีโอ[​IMG]
     
  19. jinny95

    jinny95 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    6,074
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +9,666
     
  20. jinny95

    jinny95 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    6,074
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +9,666
    อยากพูดแต่ก็เกินภูมิผมจริง ๆ ^-^
     

แชร์หน้านี้

Loading...