พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. aries2947

    aries2947 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    2,031
    ค่าพลัง:
    +11,622
    พี่ๆครับเบาๆมือหน่อยนะครับ
     
  2. aries2947

    aries2947 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    2,031
    ค่าพลัง:
    +11,622
    หนังสือธรรมมะน่าอ่านเพิ่งออกมาครับ
    จาก http://www.wimutti.net/pramote/

    <table class="book" width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr><td valign="top" width="1">[​IMG]</td> <td width="16">
    </td> <td class="text" valign="top"> แก่นธรรมคำสอน ของ หลวงปู่ดูลย์ อตุโล [​IMG]
    หนังสือเล่มนี้จะช่วยชี้ให้พวกเราเห็นความจริงว่า
    คำสอนเรื่องการดูจิตของหลวงปู่ดูลย์นั้น
    มีความหมายและวิธีการอย่างไร
    ลงกันได้พอดีกับคำสอนของพระพุทธเจ้า
    ตามนัยแห่งพระสูตรและอภิธรรมอย่างไร
    </td></tr></tbody></table><table class="book" width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr><td valign="top" width="1">
    </td> </tr></tbody></table>
     
  3. พรสว่าง_2008

    พรสว่าง_2008 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 เมษายน 2008
    โพสต์:
    356
    ค่าพลัง:
    +402
    ครับ ผมอยู่อีสาน...(บ้านเฮา)
    ;aa8
     
  4. พรสว่าง_2008

    พรสว่าง_2008 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 เมษายน 2008
    โพสต์:
    356
    ค่าพลัง:
    +402
    ผมได้คุยกะคุณ arise และ คุณ คีตา ทางโทรศัพท์อยู่นะครับ จำผมได้เปล่าครับ
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    วิธีเจริญจิตภาวนา
    http://www.wimutti.net/pudule/dharma1.htm

    วิธีเจริญจิตภาวนาตามแนวการสอนของ หลวงปู่ดูลย์ อตุโล

    ๑. เริ่มต้นอริยาบถที่สบาย ยืน เดิน นั่ง นอน ได้ตามสะดวก
    ทำความรู้ตัวเต็มที่ และ รู้อยู่กับที่ โดยไม่ต้องรู้อะไร คือ รู้ตัว อย่างเดียว


    รักษาจิตเช่นนี้ไว้เรื่อยๆ ให้ "รู้อยู่เฉยๆ" ไม่ต้องไปจำแนกแยกแยะ อย่าบังคับ อย่าพยายาม อย่าปล่อยล่องลอยตามยถากรรม
    เมื่อรักษาได้สักครู่ จิตจะคิดแส่ไปในอารมณ์ต่างๆ โดยไม่มีทางรู้ทันก่อน เป็นธรรมดาสำหรับผู้ฝึกใหม่ ต่อเมื่อจิตแล่นไป คิดไปในอารมณ์นั้นๆ จนอิ่มแล้ว ก็จะรู้สึกตัวขึ้นมาเอง เมื่อรู้สึกตัวแล้วให้พิจารณาเปรียบเทียบภาวะของตนเอง ระหว่างที่มีความรู้อยู่กับที่ และระหว่างที่จิตคิดไปในอารมณ์ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร เพื่อเป็นอุบายสอนจิตให้จดจำ

    จากนั้น ค่อยๆ รักษาจิตให้อยู่ในสภาวะรู้อยู่กับที่ต่อไป ครั้นพลั้งเผลอรักษาไม่ดีพอ จิตก็จะแล่นไปเสวยอารมณ์ข้างนอกอีก จนอิ่มแล้ว ก็จะกลับรู้ตัว รู้ตัวแล้วก็พิจารณา และรักษาจิตต่อไป
    ด้วยอุบายอย่างนี้ ไม่นานนัก ก็จะสามารถควบคุมจิตได้ และบรรลุสมาธิในที่สุด และจะเป็นผู้ฉลาดใน "พฤติแห่งจิต" โดยไม่ต้องไปปรึกษาหารือใคร

    ข้อห้าม ในเวลาจิตฟุ้งเต็มที่ อย่าทำ เพราะไม่มีประโยชน์ และยังทำให้บั่นทอนพลังความเพียร ไม่มีกำลังใจในการเจริญจิตครั้งต่อๆ ไป

    ในกรณีที่ไม่สามารถทำเช่นนี้ ให้ลองนึกคำว่า "พุทโธ" หรือคำอะไรก็ได้ที่ไม่เป็นเหตุเย้ายวน หรือเป็นเหตุขัดเคืองใจ นึกไปเรื่อยๆ แล้วสังเกตดูว่า คำที่นึกนั้น ชัดที่สุดที่ตรงไหน ที่ตรงนั้นแหละคือฐานแห่งจิต
    พึงสังเกตว่า ฐานนี้ไม่อยู่คงที่ตลอดกาล บางวันอยู่ที่หนึ่ง บางวันอยู่อีกที่หนึ่ง

    ฐานแห่งจิตที่คำนึงพุทโธปรากฏชัดที่สุดนี้ ย่อมไม่อยู่ภายนอกกายแน่นอน ต้องอยู่ภายในกายแน่ แต่เมื่อพิจารณาดูให้ดีแล้ว จะเห็นว่าฐานนี้จะว่าอยู่ที่ส่วนไหนของร่างกายก็ไม่ถูก ดังนั้น จะว่าอยู่ภายนอกก็ไม่ใช่ จะว่าอยู่ภายในก็ไม่เชิง เมื่อเป็นเช่นนี้ แสดงว่าได้กำหนดถูกฐานแห่งจิตแล้ว

    เมื่อกำหนดถูก และพุทโธปรากฏในมโนนึกชัดเจนดี ก็ให้กำหนดนึกไปเรื่อย อย่าให้ขาดสายได้
    ถ้าขาดสายเมื่อใด จิตก็จะแล่นสู่อารมณ์ทันที
    เมื่อเสวยอารมณ์อิ่มแล้ว จึงจะรู้สึกตัวเองก็ค่อยๆ นึกพุทโธต่อไป ด้วยอุบายวิธีในทำนองเดียวกับที่กล่าวไว้เบื้องต้น ในที่สุดก็จะค่อยๆ ควบคุมจิตให้อยู่ในอำนาจได้เอง

    ข้อควรจำ ในการกำหนดจิตนั้น ต้องมีเจตจำนงแน่วแน่ ในอันที่จะเจริญจิตให้อยู่ในสภาวะที่ต้องการ

    เจตจำนงนี้ คือ ตัว "ศีล"
    การบริกรรม "พุทโธ" เปล่าๆ โดยไร้เจตจำนงไม่เกิดประโยชน์อะไรเลย กลับเป็นเครื่องบั่นทอนความเพียร ทำลายกำลังใจในการเจริญจิตในคราวต่อๆ ไป
    แต่ถ้าเจตจำนงมั่นคง การเจริญจิตจะปรากฏผลทุกครั้งไม่มากก็น้อยอย่างแน่นอน

    ดังนั้น ในการนึก พุทโธ การเพ่งเล็งสอดส่อง ถึงความชัดเจน และความไม่ขาดสายของพุทโธ จะต้องเป็นไปด้วยความไม่ลดละ
    เจตจำนงที่มีอยู่อย่างไม่ลดละนี้ หลวงปู่เคย เปรียบไว้ว่า มีลักษณาการประหนึ่งบุรุษหนึ่งจดจ้องสายตาอยู่ที่คมดาบที่ข้าศึกเงื้อขึ้นสุดแขนพร้อมที่จะฟันลงมา บุรุษผู้นั้นจดจ้องคอยทีอยู่ว่า ถ้าคมดาบนั้นฟาดฟันลงมา ตนจะหลบหนีประการใดจึงจะพ้นอันตราย
    เจตจำนงต้องแน่วแน่เห็นปานนี้ จึงจะยังสมาธิให้บังเกิดได้ ไม่เช่นนั้นอย่าทำให้เสียเวลา และบั่นทอนความศรัทธาตนเองเลย
    เมื่อจิตค่อยๆ หยั่งลงสู่ความสงบทีละน้อย ๆ อาการที่จิตแล่นไปสู่อารมณ์ภายนอก ก็ค่อย ๆ ลดความรุนแรงลง ถึงไปก็ไปประเดี๋ยวประด๋าว ก็รู้สึกตัวได้เร็ว ถึงตอนนี้คำบริกรรมพุทโธ ก็จะขาดไปเอง เพราะคำบริกรรมนั้นเป็นอารมณ์หยาบ เมื่อจิตล่วงพ้นอารมณ์หยาบ และคำบริกรรมขาดไปแล้ว ไม่ต้องย้อนถอยมาบริกรรมอีก เพียงรักษาจิตไว้ในฐานที่กำหนดเดิมไปเรื่อยๆ และสังเกตดูความรู้สึกและ "พฤติแห่งจิต" ที่ฐานนั้น ๆ
    บริกรรมเพื่อรวมจิตให้เป็นหนึ่ง สังเกตดูว่า ใครเป็นผู้บริกรรมพุทโธ

    ๒. ดูจิตเมื่ออารมณ์สงบแล้ว ให้สติจดจ่ออยู่ที่ฐานเดิมเช่นนั้น เมื่อมีอารมณ์อะไรเกิดขึ้น ก็ให้ละอารมณ์นั้นทิ้งไป มาดูที่จิตต่อไปอีก ไม่ต้องกังวลใจ พยายามประคับประคองรักษาให้จิตอยู่ในฐานที่ตั้งเสมอๆ สติคอยกำหนดควบคุมอยู่อย่างเงียบๆ (รู้อยู่) ไม่ต้องวิจารณ์กิริยาจิตใดๆ ที่เกิดขึ้น เพียงกำหนดรู้แล้วละไปเท่านั้น เป็นไปเช่นนี้เรื่อยๆ ก็จะค่อยๆ เข้าใจกิริยาหรือพฤติแห่งจิตได้เอง (จิตปรุงกิเลส หรือ กิเลสปรุงจิต)
    ทำความเข้าใจในอารมณ์ความนึกคิด สังเกตอารมณ์ทั้งสาม คือ ราคะ โทสะ โมหะ

    ๓. อย่าส่งจิตออกนอก กำหนดรู้อยู่ในอารมณ์เดียวเท่านั้น อย่าให้ซัดส่ายไปในอารมณ์ภายนอก เมื่อจิตเผลอคิดไปก็ให้ตั้งสติระลึกถึงฐานกำหนดเดิม รักษาสัมปชัญญะให้สมบูรณ์อยู่เสมอ (รูปนิมิตให้ยกไว้ ส่วนนามนิมิตทั้งหลายอย่าได้ใส่ใจกับมัน)
    ระวัง จิตไม่ให้คิดเรื่องภายนอก สังเกตการหวั่นไหวของจิตตามอารมณ์ที่รับมาทางอายตนะ ๖

    ๔. จงทำญาณให้เห็นจิต เหมือนดั่งตาเห็นรูป เมื่อเราสังเกตกิริยาจิตไปเรื่อย ๆ จนเข้าใจถึงเหตุปัจจัยของอารมณ์ความนึกคิดต่างๆ ได้แล้ว จิตก็จะค่อย ๆ รู้เท่าทันการเกิดของอารมณ์ต่างๆ อารมณ์ความนึกคิดต่างๆ ก็จะค่อยๆ ดับไปเรื่อยๆ จนจิตว่างจากอารมณ์ แล้วจิตก็จะเป็นอิสระ อยู่ต่างหากจากเวทนาของรูปกาย อยู่ที่ฐานกำหนดเดิมนั่นเอง การเห็นนี้เป็นการเห็นด้วยปัญญาจักษุ
    คิดเท่าไหร่ก็ไม่รู้ ต่อเมื่อหยุดคิดจึงรู้ แต่ต้องอาศัยการคิด

    ๕. แยกรูปถอด ด้วยวิชชา มรรคจิต เมื่อสามารถเข้าใจได้ว่า จิต กับ กาย อยู่คนละส่วนได้แล้ว ให้ดูที่จิตต่อไปว่า ยังมีอะไรหลงเหลืออยู่ที่ฐานที่กำหนด (จิต) อีกหรือไม่ พยายามให้สติสังเกตดูที่ จิต ทำความสงบอยู่ใน จิต ไปเรื่อยๆ จนสามารถเข้าใจ พฤติของจิต ได้อย่างละเอียดลออตามขั้นตอน เข้าใจในความเป็นเหตุเป็นผลกันว่า เกิดจากความคิดมันออกไปจากจิตนี่เอง ไปหาปรุงหาแต่ง หาก่อ หาเกิด ไม่มีที่สิ้นสุด มันเป็นมายาหลอกลวงให้คนหลง แล้วจิตก็จะเพิกถอนสิ่งที่มีอยู่ในจิตไปเรื่อยๆ จนหมด หมายถึงเจริญจิตจนสามารถเพิกรูปปรมาณูวิญญาณที่เล็กที่สุดภายในจิตได้
    คำว่า แยกรูปถอด นั้น หมายความถึง แยกรูปวิญญาณ นั่นเอง

    ๖. เหตุต้องละ ผลต้องละ เมื่อเจริญจิตจนปราศจากความคิดปรุงแต่งได้แล้ว (ว่าง) ก็ไม่ ต้องอิงอาศัยกับกฎเกณฑ์แห่งความเป็นเหตุเป็นผลใด ๆ ทั้งสิ้น จิตก็อยู่เหนือภาวะแห่งคลองความคิดนึกต่างๆ อยู่เป็นอิสระ ปราศจากสิ่งใดๆ ครอบงำอำพรางทั้งสิ้น
    เรียกว่า "สมุจเฉทธรรมทั้งปวง"

    ๗. ใช้หนี้--ก็หมด พ้นเหตุเกิด เมื่อเพิกรูปปรมาณูที่เล็กที่สุดเสียได้ กรรมชั่วที่ประทับ บรรจุ บันทึก ถ่ายภาพ ติดอยู่กับรูปปรมาณูนั้น ก็หมดโอกาสที่จะให้ผลต่อไปในเบื้องหน้า การเพิ่มหนี้ก็เป็นอันสะดุดหยุดลง เหตุปัจจัยภายนอกภายในที่มากระทบ ก็เป็นสักแต่ว่ามากระทบ ไม่มีผลสืบเนื่องต่อไป หนี้กรรมชั่วที่ได้ทำไว้ตั้งแต่ชาติแรก ก็เป็นอันได้รับการชดใช้หมดสิ้น หมดเรื่องหมดราวหมดพันธะผูกพันที่จะต้องเกิดมาใช้หนี้กรรมกันอีก เพราะ กรรมชั่วอันเป็นเหตุให้ต้องเกิดอีก ไม่อาจให้ผลต่อไปได้ เรียกว่า "พ้นเหตุเกิด"

    ๘. ผู้ที่ตรัสรู้แล้ว เขาไม่พูดหรอกว่า เขารู้อะไร เมื่อธรรมทั้งหลายได้ถูกถ่ายทอดไปแล้ว สิ่งที่เรียกว่า ธรรม จะเป็นธรรมไปได้อย่างไร สิ่งที่ว่า ไม่มีธรรม นั่นแหละมันเป็นธรรมของมันในตัว (ผู้รู้น่ะจริง แต่สิ่งที่รู้ทั้งหลายนั้นไม่จริง)
    เมื่อจิตว่างจาก "พฤติ" ต่างๆ แล้ว จิตก็จะถึง ความว่างที่แท้จริง ไม่มีอะไรให้สังเกตได้อีกต่อไป จึงทราบได้ว่าแท้ที่จริงแล้ว จิตนั้นไม่มีรูปร่าง มันรวมอยู่กับความว่าง ในความว่างนั้น ไม่มีขอบเขต ไม่มีประมาณ ซาบซึมอยู่ในสิ่งทุกๆ สิ่ง และจิตกับผู้รู้เป็นสิ่งเดียวกัน
    เมื่อจิตกับผู้รู้เป็นสิ่งเดียวกัน และเป็นความว่าง ก็ย่อมไม่มีอะไรที่จะให้อะไรหรือให้ใครรู้ถึง ไม่มีความเป็นอะไรจะไปรู้สภาวะของอะไร ไม่มีสภาวะของใครจะไปรู้ความมีความเป็นของอะไร
    เมื่อเจริญจิตจนเข้าถึงสภาวะเดิมแท้ของมันได้ดังนี้แล้ว "จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง" จิตก็จะอยู่เหนือสภาวะสมมุติบัญญัติทั้งปวง เหนือความมีความเป็นทั้งปวง มันอยู่เหนือคำพูด และพ้นไปจากการกล่าวอ้างใดๆ ทั้งสิ้น เป็นธรรมชาติอันบริสุทธิ์และสว่าง รวมกันเข้ากับความว่างอันบริสุทธิ์และสว่างของ จักรวาลเดิม เข้าเป็นหนึ่งเรียกว่า "นิพพาน"

    โดยปกติ คำสอนธรรมะของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล นั้น เป็นแบบ "ปริศนาธรรม" มิใช่เป็นการบรรยายธรรม ฉะนั้น คำสอนของท่านจึงสั้น จำกัดในความหมายของธรรม เพื่อไม่ให้เฝือหรือฟุ่มเฟือยมากนัก เพราะจะทำให้สับสน เมื่อผู้ใดเป็นผู้ปฏิบัติธรรม เขาย่อมเข้าใจได้เองว่า กิริยาอาการของจิตที่เกิดขึ้นนั้นมีมากมายหลายอย่าง ยากที่จะอธิบายให้ได้หมด ด้วยเหตุนั้น หลวงปู่ท่านจึงใช้คำว่า "พฤติของจิต" แทนกิริยาทั้งหลายเหล่านั้น
    คำว่า "ดูจิต อย่าส่งจิตออกนอก ทำญาณให้เห็นจิต" เหล่านี้ ย่อมมีความหมายครอบคลุมไปทั้งหมดตลอดองค์ภาวนา แต่เพื่ออธิบายให้เป็นขั้นตอน จึงจัดเรียงให้ดูง่ายเท่านั้น หาได้จัดเรียงไปตามลำดับกระแสการเจริญจิตแต่อย่างใดไม่
    ท่านผู้มีจิตศรัทธาในทางปฏิบัติ เมื่อเจริญจิตภาวนาตามคำสอนแล้ว ตามธรรมดาการปฏิบัติในแนวนี้ ผู้ปฏิบัติจะค่อยๆ มีความรู้ความเข้าใจได้ด้วยตนเองเป็นลำดับๆ ไป เพราะมีการใส่ใจสังเกตและกำหนดรู้ "พฤติแห่งจิต" อยู่ตลอดเวลา แต่ถ้าหากเกิดปัญหาในระหว่างการปฏิบัติ ควรรีบเข้าหาครูบาอาจารย์ฝ่ายวิปัสสนาธุระโดยเร็ว หากประมาทแล้วอาจผิดพลาดเป็นปัญหาตามมาภายหลัง เพราะคำว่า "มรรคปฏิปทา" นั้น จะต้องอยู่ใน "มรรคจิต" เท่านั้น มิใช่มรรคภายนอกต่างๆ นานาเลย
    การเจริญจิตเข้าสู่ที่สุดแห่งทุกข์นั้น จะต้องถึงพร้อมด้วย วิสุทธิศีล วิสุทธิธรรม พร้อมทั้ง ๓ ทวาร คือ กาย วาจา ใจ จึงจะยังกิจให้ลุล่วงถึงที่สุดแห่งทุกข์ได้
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    อเหตุกจิต ๓ ประการ
    http://www.wimutti.net/pudule/dharma2.htm

    ๑. ปัญจทวาราวัชชนจิต คือ กิริยาจิตที่แฝงอยู่ตาม อายตนะ หรือทวารทั้ง ๕ มีดังนี้
    ตา ไปกระทบกับรูป เกิด จักขุวิญญาณ คือการเห็น จะห้ามไม่ให้ ตา เห็นรูปไม่ได้
    หู ไปกระทบเสียง เกิด โสตวิญญาณ คือการได้ยิน จะห้ามไม่ให้ หู ได้ยินเสียงไม่ได้
    จมูก ไปกระทบกับกลิ่น เกิด ฆานวิญญาณ คือการได้กลิ่น จะห้ามไม่ให้ จมูก รับกลิ่นไม่ได้
    ลิ้น ไปกระทบกับรส เกิด ชิวหาวิญญาณ คือการได้รส จะห้ามไม่ให้ ลิ้น รับรู้รสไม่ได้
    กาย ไปกระทบกับโผฏฐัพพะ เกิด กายวิญญาณ คือการสัมผัส จะห้ามไม่ให้ กาย รับสัมผัสไม่ได้
    วิญญาณทั้ง ๕ อย่างนี้ เป็นกิริยาที่แฝงอยู่ในกายตามทวาร ทำหน้าที่รับรู้สิ่งต่างๆ ที่มากระทบ เป็นสภาวะแห่งธรรมชาติของมันเป็นอยู่เช่นนั้น ก็แต่ว่า เมื่อจิตอาศัยทวารทั้ง ๕ เพื่อเชื่อมต่อรับรู้เหตุการณ์ภายนอก ที่เข้ามากระทบ แล้วส่งไปยังสำนักงานจิตกลางเพื่อรับรู้ เราจะห้ามมิให้เกิด มี เป็นเช่นนั้น ย่อมกระทำไม่ได้
    การป้องกันทุกข์ที่จะเกิดจากทวารทั้ง ๕ นั้น เราจะต้องสำรวมอินทรีย์ทั้ง ๕ ไม่เพลิดเพลินในอายตนะเหล่านั้น หากจำเป็นต้องอาศัยอายตนะทั้ง ๕ นั้น ประกอบการงานทางกาย ก็ควรจะกำหนดจิตให้ตั้งอยู่ในจิต เช่นเมื่อเห็นก็สักแต่ว่าเห็น ไม่คิดปรุง ได้ยินก็สักแต่ว่าได้ยิน ไม่คิดปรุง ดังนี้ เป็นต้น (ไม่คิดปรุงหมายความว่า ไม่ให้จิตเอนเอียงไปในความเห็นดีชั่ว)

    ๒. มโนทวาราวัชชนจิต คือ กิริยาจิตที่แฝงอยู่ที่มโนทวาร มีหน้าที่ผลิตความคิดนึกต่างๆ นานา คอยรับเหตุการณ์ภายในภายนอกมากระทบ จะดีหรือชั่วก็สะสมเอาไว้ จะห้ามจิตไม่ให้คิดในทุกๆ กรณีย่อมไม่ได้
    ก็แต่ว่าเมื่อจิตคิดปรุงไปในเรื่องราวใดๆ ถึงวัตถุ สิ่งของ บุคคลอย่างไร ก็ให้กำหนดรู้ว่าจิตคิดถึงเรื่องเหล่านั้น ก็สักแต่ว่าความคิด ไม่ใช่สัตว์บุคคล เราเขา ไม่ยึดถือวิจารณ์ความคิดเหล่านั้น
    ทำความเห็นให้เป็นปกติ ไม่ยึดถือความเห็นใดๆ ทั้งสิ้น จิตย่อมไม่ไหลตามกระแสอารมณ์เหล่านั้น ไม่เป็นทุกข์

    ๓. หสิตุปบาท คือ กิริยาที่จิตยิ้มเอง โดยปราศจากเจตนาที่จะยิ้ม หมายความว่าไม่อยากยิ้มมันก็ยิ้มของมันเอง กิริยาจิตอันนี้มีเฉพาะเหล่าพระอริยเจ้าเท่านั้น ในสามัญชนไม่มี
    สำหรับ อเหตุกจิต ข้อ ๑ และ ๒ มีเท่ากันในพระอริยเจ้า และในสามัญชน นักปฏิบัติธรรมทั้งหลาย เมื่อตั้งใจปฏิบัติตนออกจากกองทุกข์ควรพิจารณา อเหตุกจิต นี้ให้เข้าใจด้วย เพื่อความไม่ผิดพลาดในการบำเพ็ญปฏิบัติธรรม
    อเหตุกจิต นี้ นักปฏิบัติทั้งหลายควรทำความเข้าใจให้ได้ เพราะถ้าไม่เช่นนั้นแล้ว เราจะพยายามบังคับสังขารไปหมด ซึ่งเป็นอันตรายต่อการปฏิบัติธรรมมาก เพราะความไม่เข้าใจใน อเหตุกจิต ข้อ ๑ และ ๒ นี้เอง
    อเหตุกจิต ข้อ ๓ เป็นกิริยาจิตที่ยิ้มเองโดยปราศจากเจตนาที่จะยิ้ม เกิดในจิตของเหล่าพระอริยเจ้าเท่านั้น ในสามัญชนไม่มี เพราะกิริยาจิตนี้เป็นผลของการเจริญจิตจนอยู่เหนือมายาสังขารได้แล้ว จิตไม่ต้องติดข้องในโลกมายา เพราะความรู้เท่าทันเหตุปัจจัยแห่งการปรุงแต่งได้แล้ว เป็นอิสระด้วยตัวมันเอง
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    จิตคือพุทธะ
    http://www.wimutti.net/pudule/dharma3.htm


    พระพุทธเจ้าทั้งปวง และสัตว์โลกทั้งสิ้นไม่ได้เป็นอะไรเลย นอกจากเป็นเพียง จิตหนึ่ง นอกจากจิตหนึ่งแล้ว มิได้มีอะไรตั้งอยู่เลย จิตหนึ่ง ซึ่งปราศจากการตั้งต้นนี้ เป็นสิ่งที่มิได้เกิดขึ้น และไม่อาจถูกทำลายได้เลย
    มันไม่ใช่เป็นของมีสีเขียว หรือสีเหลือง และ ไม่มีทั้งรูป ไม่มีทั้งการปรากฏ ไม่ถูกนับรวมอยู่ในบรรดาสิ่งที่มีการตั้งอยู่ และไม่มีการตั้งอยู่ ไม่อาจจะลงความเห็นว่า เป็นของใหม่หรือเก่า ไม่ใช่ของยาวหรือของสั้น ของใหญ่หรือของเล็ก
    ทั้งนี้ เพราะมันอยู่เหนือขอบเขต เหนือการวัด เหนือการตั้งชื่อ เหนือการทิ้งร่องรอยไว้ และ เหนือการเปรียบเทียบทั้งหมด
    จิตหนึ่งนี้ เป็นสิ่งที่เราเห็นตำตาเราอยู่แท้ๆ แต่จงลองไปใช้เหตุผล (ว่ามันเป็นอะไร เป็นต้น) กับมันเข้าดูซิ เราจะหล่นลงไปสู่ความผิดพลาดทันที สิ่งนี้ เป็นเหมือนกับความว่าง อันปราศจากขอบทุกๆ ด้าน ซึ่งไม่อาจจะหยั่ง หรือวัดได้

    จิตหนึ่ง นี้เท่านั้นเป็น พุทธะ ไม่มีความแตกต่างระหว่างพุทธะกับสัตว์โลกทั้งหลาย เพียงแต่ว่าสัตว์โลกทั้งหลายไปยึดมั่นต่อรูปธรรมต่างๆ เสีย และเพราะเหตุนั้น เขาจึงแสวงหาพุทธภาวะจากภายนอก การแสวงหาของสัตว์เหล่านั้นนั่นเอง ทำให้เขาพลาดจากพุทธภาวะ การทำเช่นนั้น เท่ากับ การใช้สิ่งที่เป็นพุทธะ ให้เที่ยวแสวงหาพุทธะ และการใช้จิตให้เที่ยวจับฉวยจิต แม้ว่าเขาเหล่านั้นจะได้พยายามจนสุดความสามารถของเขา อยู่ตั้งกัปหนึ่งเต็มๆ เขาก็จะไม่สามารถลุถึงพุทธภาวะได้เลย
    เขาไม่รู้ว่า ถ้าเขาเอง เพียงแต่หยุดความคิดปรุงแต่ง และหมดความกระวนกระวายเพราะการแสวงหา เสียเท่านั้น พุทธะก็จะปรากฏตรงหน้าเขา เพราะว่า จิต นี้คือ พุทธะ นั่นเอง และ พุทธะ คือ สิ่งที่มีชีวิตทั้งหลายทั้งปวง นั่นเอง สิ่งๆ นี้ เมื่อปรากฏอยู่ที่สามัญสัตว์ จะเป็นสิ่งเล็กน้อยก็หาไม่ และเมื่อปรากฏอยู่ที่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย จะเป็นสิ่งใหญ่หลวงก็หาไม่
    สำหรับการบำเพ็ญปารมิตาทั้ง ๖ ก็ดี การบำเพ็ญข้อวัตรปฏิบัติที่คล้ายๆ กันอีกเป็นจำนวนมากก็ดี หรือการได้บุญมากมายนับไม่ถ้วน เหมือนจำนวนเม็ดทรายในแม่น้ำคงคาก็ดี เหล่านี้นั้นจงคิดดูเถิด เมื่อเราเป็นผู้สมบูรณ์โดยสัจจะพื้นฐานในทุกกรณีอยู่แล้ว คือเป็น จิตหนึ่ง หรือ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับพุทธะทั้งหลายอยู่แล้ว เราก็ไม่ควรพยายามจะเพิ่มเติมอะไรให้แก่สิ่งที่สมบูรณ์อยู่แล้วนั้น ด้วยการบำเพ็ญวัตรปฏิบัติต่างๆ ซึ่งไร้ความหมายเหล่านั้นไม่ใช่หรือ เมื่อไหร่โอกาสอำนวยให้ทำก็ทำมันไป และเมื่อโอกาสผ่านไปแล้ว อยู่เฉยๆ ก็แล้วกัน

    ถ้าเราไม่เห็นตระหนักอย่างเด็ดขาดลงไปว่า จิต นั้นคือ พุทธะ ก็ดี และถ้าเรายัง ยึดมั่นถือมั่น ต่อรูปธรรมต่างๆ อยู่ก็ดี ต่อวัตรปฏิบัติต่างๆ อยู่ก็ดี และต่อวิธีการบำเพ็ญบุญกุศลต่างๆ ก็ดี แนวความคิดของเราก็ยังคงผิดพลาดอยู่ และไม่เข้าร่องเข้ารอยกันกับ ทาง ทางโน้นเสียแล้ว
    จิตหนึ่ง นั่นแหละคือ พุทธะ ไม่มีพุทธะอื่นใดที่ไหนอีก ไม่มีจิตอื่นใดที่ไหนอีก มันแจ่มจ้าและไร้ตำหนิเช่นเดียวกับความว่าง คือ มันไม่มีรูปร่างหรือปรากฏการณ์ใดๆ เลย ถ้าเราใช้จิตของเราให้ปรุงแต่งความคิดฝันต่างๆ นั้น เท่ากับเราทิ้งเนื้อหาอันเป็นสาระเสีย แล้วไปผูกพันตัวเองอยู่กับรูปธรรม ซึ่งเป็นเหมือนกับเปลือก พุทธะซึ่งมีอยู่ตลอดกาลนั้น ไม่ใช่พุทธะของความยึดมั่นถือมั่น
    การปฏิบัติปารมิตาทั้ง ๖ และการบำเพ็ญข้อวัตรปฏิบัติต่างๆ ที่คล้ายคลึงกันอีกเป็นจำนวนนับไม่ถ้วน ด้วยเจตนาที่จะเป็นพุทธะสักองค์หนึ่งนั้น เป็นการปฏิบัติชนิดที่คืบหน้าทีละขั้นๆ แต่พุทธะซึ่งมีอยู่ตลอดกาลดังที่กล่าวแล้วนั้น หาใช่พุทธะที่ลุถึงได้ด้วยการปฏิบัติเป็นขั้นๆ เช่นนั้นไม่ เรื่องมันเป็นเพียงแต่ ตื่น และ ลืมตา ต่อจิตหนึ่งนั้นเท่านั้น และ ไม่มีอะไรที่จะต้องบรรลุถึงอะไร นี่แหละคือพุทธะที่แท้จริง พุทธะและสัตว์โลกทั้งหลาย คือ จิตหนึ่งนี้เท่านั้น ไม่มีอะไรอื่นนอกไปจากนี้อีกเลย

    จิตเป็นเหมือนกับความว่าง ซึ่งภายในนั้นย่อมไม่มีความสับสน และความไม่ดีต่างๆ ดังจะเห็นได้ ในเมื่อดวงอาทิตย์ผ่านไปในที่ว่างนั้น ย่อมส่องแสงไปได้ทั้งสี่มุมโลก เพราะว่าเมื่อดวงอาทิตย์ขึ้น ย่อมให้ความสว่างทั่วพื้นโลก ความว่างที่แท้จริงนั้น มันก็ไม่ได้สว่างขึ้น และเมื่อดวงอาทิตย์ตก ความว่างก็ไม่ได้มืดลง ปรากฏการณ์ของความสว่าง และความมืดย่อมสับเปลี่ยนซึ่งกันและกัน แต่ธรรมชาติของความว่างนั้น ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงอยู่นั่นเอง จิตของพุทธะและของสัตว์โลกทั้งหลายก็เป็นเช่นนั้น
    ถ้าเรามองดูพุทธะ ว่าเป็นผู้แสดงออก ซึ่งความปรากฏของสิ่งที่บริสุทธิ์ผ่องใส และรู้แจ้งก็ดี หรือมองสัตว์โลกทั้งหลายว่า เป็นผู้แสดงออกซึ่งความปรากฏของสิ่งที่โง่เง่า มืดมน และมีอาการสลบไสลก็ดี ความรู้สึกนึกคิดเหล่านี้ อันเป็นผลที่เกิดมาจากความคิดยึดมั่นต่อรูปธรรมนั้น จะกันเราไว้เสียจากความรู้อันสูงสุด ถึงแม้ว่าเราจะได้ปฏิบัติมาตลอดกี่กัปนับไม่ถ้วน ประดุจเม็ดทรายในแม่น้ำคงคาแล้วก็ตาม มีแต่จิตหนึ่งเท่านั้น และไม่มีสิ่งใดแม้แต่อนุภาคเดียวที่จะอิงอาศัยได้ เพราะ จิตนั้นเอง คือ พุทธะ
    เมื่อพวกเราที่เป็นนักศึกษาเรื่อง ทาง ทางโน้นไม่ลืมตาต่อสิ่งซึ่งเป็นสาระ กล่าวคือ จิตนี้ พวกเราจะปิดบัง จิต นั้นเสีย ด้วยความคิดปรุงแต่งของเราเอง พวกเราจะเที่ยวแสวงหา พุทธะ นอกตัวเราเอง พวกเรายังคงยึดมั่นต่อรูปธรรมทั้งหลาย ต่อการปฏิบัติเมาบุญต่างๆ ทำนองนั้น ทั้งหมดนี้เป็นอันตราย และไม่ใช่หนทางอันนำไปสู่ความรู้อันสูงสุดที่กล่าวนั้นแต่อย่างใด

    เนื้อแท้แห่งสิ่งสูงสุดสิ่งนั้น โดยภายในแล้วย่อมเหมือนกับไม้หรือก้อนหิน คือภายในนั้นปราศจาก การเคลื่อนไหว และโดยภายนอกแล้วย่อมเหมือนกับความว่าง กล่าวคือ ปราศจากขอบเขตหรือสิ่งกีดขวางใดๆ สิ่งนี้ไม่ใช่เป็นฝ่ายนามธรรม หรือฝ่ายรูปธรรม มันไม่มีที่ตั้งเฉพาะ ไม่มีรูปร่าง และไม่อาจจะหายไปได้เลย
    จิตนี้ไม่ใช่จิตซึ่งเป็นความคิดปรุงแต่ง มันเป็นสิ่งซึ่งอยู่ต่างหาก ปราศจากการเกี่ยวข้องกับรูปธรรมโดยสิ้นเชิง ฉะนั้น พระพุทธเจ้าทั้งหลาย และสัตว์โลกทั้งปวงก็เป็นเช่นนั้น พวกเราเพียงแต่สามารถปลดเปลื้องตนเองออกจากความคิดปรุงแต่งเท่านั้น พวกเราจะประสบความสำเร็จทุกอย่าง

    หลักธรรมที่แท้จริงก็คือ จิต นั่นเอง ซึ่งถ้านอกไปจากนั้นแล้วก็ไม่มีหลักธรรมใดๆ จิตนั่นแหละคือหลักธรรม ซึ่งถ้านอกไปจากนั้นแล้วมันก็ไม่ใช่จิต จิตนั้น โดยตัวมันเองก็ไม่ใช่จิต แต่ถึงกระนั้นมันก็ยังไม่ใช่ มิใช่จิต การที่จะกล่าวว่าจิตนั้นมิใช่จิต ดังนี้นั่นแหละ ย่อมหมายถึง สิ่งบางสิ่งซึ่งมีอยู่จริง สิ่งนี้มันอยู่เหนือคำพูด ขอจงเลิกละการคิดและการอธิบายเสียให้หมดสิ้น เมื่อนั้น เราอาจกล่าวได้ว่า คลองแห่งคำพูดก็ได้ถูกตัดขาดไปแล้ว และ พฤติของจิต ก็ถูกเพิกถอนขึ้นสิ้นเชิงแล้ว

    จิตนี้คือ พุทธโยนิ อันบริสุทธิ์ ซึ่งมีประจำอยู่แล้วในคนทุกคน สัตว์ซึ่งมีความรู้สึกนึกคิด กระดุกกระดิกได้ทั้งหมดก็ดี พระพุทธเจ้าพร้อมทั้งพระโพธิสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงก็ดี ล้วนแต่เป็นของแห่งธรรมชาติอันหนึ่งนี้เท่านั้น และไม่แตกต่างกันเลย ความแตกต่างทั้งหลายเกิดขึ้นจากเราคิดผิดๆ เท่านั้น ย่อมนำเราไปสู่การก่อสร้างกรรมทั้งหลายทั้งปวงทุกชนิดไม่มีหยุด
    ธรรมชาติแห่งความเป็นพุทธะดั้งเดิมของเรานั้น โดยความจริงอันสูงสุดแล้ว เป็นสิ่งที่ไม่มีความหมายแห่งความเป็นตัวตนแม้แต่สักปรมาณูเดียว สิ่งนั้นคือ ความว่าง เป็นสิ่งที่มีอยู่ในทุกแห่ง สงบเงียบ และไม่มีอะไรเจือปน มันเป็นสันติสุขที่รุ่งเรืองและเร้นลับ และก็หมดกันเพียงเท่านั้นเอง
    จงเข้าไปสู่สิ่งสิ่งนี้ได้ลึกซึ้ง โดยการลืมตาต่อสิ่งนี้ด้วยตัวเราเอง สิ่งซึ่งอยู่ตรงหน้าเรานี้แหละ คือสิ่ง สิ่งนั้น ในอัตราที่เต็มที่ทั้งหมดทั้งสิ้น และสมบูรณ์ถึงที่สุดแล้ว ไม่มีอะไรนอกไปจากนี้อีก

    จิตคือพุทธะ (สิ่งสูงสุด) มันย่อมรวมสิ่งทุกสิ่งเข้าไว้ในตัวมันทั้งหมด นับแต่พระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้แล้วทั้งหลายเป็นสิ่งที่สุดในเบื้องสูง ลงไปจนกระทั่งถึงสัตว์ประเภทที่ต่ำต้อยที่สุด ซึ่งเป็นสัตว์เลื้อยคลานและแมลงต่างๆ เป็นที่สุดในเบื้องต่ำ สิ่งเหล่านี้ทุกสิ่ง มันย่อมมีส่วนแห่งความเป็นพุทธะเท่ากันหมด และทุกๆ สิ่งมีเนื้อหาเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับ พุทธะ อยู่ตลอดเวลา
    ถ้าพวกเราเพียงแต่สามารถทำความเข้าใจในจิตของเราเองได้สำเร็จ แล้วค้นพบธรรมชาติอันแท้จริงของเราเองได้ ด้วยความเข้าใจอันนี้เท่านั้น ก็จะเป็นที่แน่นอนว่า ไม่มีอะไรที่พวกเราจำเป็นที่จะต้องแสวงหาแม้แต่อย่างใดเลย
    จิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่มีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ เพราะจิตซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้ของคนเรานั้น มันเป็นครรภ์หรือกำเนิด ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้นและไม่อาจถูกทำลายได้เลย

    ในการทำปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ นั้น มันเปลี่ยนรูปของมันเองออกมาเป็นปรากฏการณ์ต่างๆ เพื่อสะดวกในการพูด เราพูดถึงจิตในฐานะที่เป็นตัวสติปัญญา แต่ในขณะที่มันไม่ได้ทำการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม คือไม่ได้เป็นตัวสติปัญญาที่นึกคิด หรือสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมานั้น มันเป็นสิ่งที่ไม่อาจถูกกล่าวถึงในการที่จะบัญญัติว่ามันเป็นความมีอยู่ หรือไม่ใช่ความมีอยู่
    ยิ่งไปกว่านั้น แม้ในขณะที่มันทำหน้าที่สร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมา ในฐานะที่ตอบสนองต่อกฎแห่งความเป็นเหตุและผลของกันและกันนั้น มันก็ยังเป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และมโนทวาร อยู่นั่นเอง ถ้าเราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้น

    มูลธาตุทั้ง ๕ ซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นวิญญาณนั้น เป็นของว่างเปล่า และมูลธาตุทั้ง ๔ ของรูปกายนั้น ไม่ใช่เป็นสิ่งซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นตัวของเรา จิต จริงแท้นั้น ไม่มีรูปร่าง และไม่มีอาการมาหรืออาการไป ธรรมชาติเดิมแท้ของเรานั้นเป็นสิ่งๆ หนึ่ง ซึ่งไม่มีการตั้งต้นที่การเกิด และไม่มีการสิ้นสุดลงที่การตาย แต่เป็นของสิ่งเดียวกันรวด และปราศจากการเคลื่อนไหวใดๆ ในส่วนลึกจริงๆ ของมันทั้งหมด

    จิตของเรากับสิ่งต่างๆ ซึ่งแวดล้อมเราอยู่นั้นเป็นสิ่งๆ เดียวกัน ถ้าเราทำความเข้าใจได้ตามนี้จริงๆ เราจะได้ลุถึงความรู้แจ้งเห็นแจ้งได้โดยแวบเดียวในขณะนั้น และเราเป็นผู้ที่ไม่ต้องเกี่ยวข้องในโลกทั้งสามอีกต่อไป เราจะเป็นผู้อยู่เหนือโลก เราไม่มีการโน้มเอียงไปสู่การเกิดใหม่อีกแม้แต่นิดเดียว เราจะเป็นแต่ตัวเราเองเท่านั้น ปราศจากความคิดปรุงแต่งโดยสิ้นเขิง และเป็นสิ่งเดียวกับสิ่งสูงสุดสิ่งนั้น เราจะได้ลุถึงภาวะแห่งความที่ไม่มีอะไรปรุงแต่งได้อีกต่อไป ฉะนั้น นี่แหละคือหลักธรรมที่เป็นหลักมูลฐานอยู่ในที่นี้
    สัมมาสัมโพธิ เป็นชื่อของการเห็นแจ้งชัดว่าไม่มีธรรมใดเลยที่ไม่เป็นโมฆะ ถ้าเราเข้าใจความจริงข้อนี้แล้ว ของหลอกลวงทั้งหลายจะมีประโยชน์อะไรแก่เรา

    ปรัชญา คือความรู้แจ้ง ความรู้แจ้ง คือจิตต้นกำเนิดดั้งเดิม ซึ่งปราศจากรูป ถ้าเราสามารถทำความเข้าใจได้ว่า ผู้กระทำและสิ่งที่ถูกกระทำ คือจิตและวัตถุเป็นสิ่งๆ เดียวกัน นั่นแหละ จะนำเราไปสู่ความเข้าใจอันลึกซึ้ง และลึกลับเหนือคำพูด และโดยความเข้าใจอันนี้เอง พวกเราจะได้ลืมตาต่อสัจธรรมที่แท้จริงด้วยตัวเราเอง

    สัจธรรมที่แท้จริงของเรานั้น ไม่ได้หายไปจากเรา แม้ในขณะที่เรากำลังหลงผิดอยู่ด้วยอวิชชา และไม่ได้รับกลับมา ในขณะที่เรามีการตรัสรู้ มันเป็นธรรมชาติแห่งภูตัตถตา ในธรรมชาตินี้ไม่มีทั้งอวิชชา ไม่มีทั้งสัมมาทิฐิ มันเต็มอยู่ในความว่าง เป็นเนื้อหาอันแท้จริงของจิตหนึ่งนั้น เมื่อเป็นดังนี้แล้ว อารมณ์ต่างๆ ที่จิตของเราได้สร้างขึ้น ทั้งฝ่ายนามธรรมและฝ่ายรูปธรรม จะเป็นสิ่งซึ่งอยู่ภายนอกความว่างนั้นได้อย่างไร

    โดยหลักมูลฐานแล้ว ความว่างนั้นเป็นสิ่งซึ่งปราศจากมิติต่างๆ แห่งการกินเนื้อที่ คือปราศจากกิเลส ปราศจากกรรม ปราศจากอวิชชา และปราศจากสัมมาทิฏฐิ พวกเราต้องทำความเข้าใจอย่างกระจ่างแจ้งว่า โดยแท้จริงแล้ว ไม่มีอะไรเลย ไม่มีมนุษย์สามัญ ไม่มีพุทธทั้งหลาย เพราะว่าในความว่างนั้น ไม่มีอะไรบรรจุอยู่แม้เท่าเส้นขนที่เล็กที่สุด อันเป็นสิ่งซึ่งสามารถจะมองเห็นได้โดยทางมิติ หรือกฎแห่งการกินเนื้อที่เลย มันไม่ต้องอาศัยอะไร และไม่ติดเนื่องอยู่กับสิ่งใด มันเป็นความงามที่ไร้ตำหนิ เป็นสิ่งซึ่งอยู่ได้ด้วยตัวมันเอง และเป็นสิ่งสูงสุดที่ไม่มีอะไรสร้างขึ้น มันเป็นเพชรพลอยที่อยู่เหนือการตีค่าทั้งปวงเสียจริงๆ เราต้อง แยกรูปถอด ด้วยวิชชา มรรคจิต เหตุต้องละ ผลต้องละ ใช้หนี้ก็หมด พ้นเหตุเกิด

    สิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตในจักรวาล มีนับไม่ถ้วนรวมแล้วมี รูปกับนาม สองอย่างเท่านั้น นามเดิม ก็คือ ความว่างของจักรวาล เข้าคู่กันเป็น เหตุเกิด ตัวอวิชชา เกิดเหตุก่อ ที่ใดมีรูป ที่นั้นต้องมีนาม ที่ใดมีนาม ที่นั้นต้องมีรูป รูปนามรวมกัน เป็นเหตุเกิดปฏิกิริยา ให้เปลี่ยนแปลงตลอดกาล และ เกิดกาลเวลาขึ้น คือรูปย่อมมีความดึงดูดซึ่งกันและกัน จึงเป็นเหตุให้รูปเคลื่อนไหว และหมุนรอบตัวเองตามปัจจัย รูปเคลื่อนไหวได้ ต้องมีนาม ความว่างคั่นระหว่างรูป รูปจึงเคลื่อนไหวได้
    เมื่อสภาวธรรมเป็นอย่างนี้ สรรพสิ่งของวัตถุ สสารมีชีวิต และไม่มีชีวิตจึงต้องเปลี่ยนแปลง เป็นไตรลักษณ์ เกิด ดับ สืบต่อทุกขณะจิตไม่มีวันหยุดนิ่งให้คงทนเป็นปัจจุบันได้

    จิต วิญญาณ ก็เกิดมาจาก รูปนามของจักรวาล มันเป็นมายาหลอกลวงแล้วเปลี่ยนแปลงให้คนหลง จากรูปนามไม่มีชีวิต เปลี่ยนมาเป็นรูปนามที่มีชีวิต จากรูปนามที่มีชีวิต มาเป็นรูปนามมีชีวิตที่มีจิตวิญญาณ แล้วจิตวิญญาณก็เปลี่ยนแปลงแยกออกจากกัน คงเหลือแต่ นามว่างที่ปราศจากรูป นี้ เป็นจุดสุดยอดของการหลอกลวงของรูปนาม
    ต้นเหตุเกิดรูปนามของจักรวาลนั้น เป็นเหตุเกิด รูปนามพิภพ ต่างๆ ตลอดจนดวงดาวนับไม่ถ้วน เพราะไม่มีที่สิ้นสุด รูปนามพิภพต่างๆ เป็นเหตุให้เกิด รูปนามพืช รูปนามพืชเป็นเหตุให้เกิด รูปนามสัตว์ เคลื่อนไหวได้ จึงเรียกกันว่า เป็นสิ่งมีชีวิต
    ความจริง รูปนามจะมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตมันก็เคลื่อนไหวได้ เพราะมันมีรูปกับนาม เป็นเหตุเป็นผลให้เกิดปฏิกิริยาอยู่ในตัว ให้เคลื่อนไหวตลอดกาล และ(เกิด) การเปลี่ยนแปลง บางอย่างเรามองด้วยตาเนื้อไม่เห็น จึงเรียกกันว่าเป็นสิ่งไม่มีชีวิต
    เมื่อรูปนามของพืชเปลี่ยนมาเป็นรูปนามของสัตว์ เป็นจุดตั้งต้นชีวิตของสัตว์ และเป็น เหตุให้เกิด จิต วิญญาณ การแสดง การเคลื่อนไหว เป็นเหตุให้เกิดกรรม

    สัตว์ชาติแรกมีแต่สร้างกรรมชั่ว สัตว์กินสัตว์ และ(มี)ความโกรธ โลภ หลง ตามเหตุ ปัจจัย ภายนอกภายในที่มากระทบ กรรมที่สัตว์แสดง มี ตา หู จมูก ลิ้น กาย ๕ อย่าง ไปกระทบกับ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ๕ อย่าง แล้วมาประทับ บรรจุ บันทึก ถ่ายภาพ ติดอยู่กับ รูปปรมาณู ซึ่งเป็น สุขุมรูป แฝงอยู่ในความว่าง เราไม่สามารถมองเห็นด้วยตาได้ ที่แฝงอยู่ในความว่างระวางคั่น ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั้นไว้ได้หมดสิ้น
    เมื่อสัตว์ชาติแรกเกิดนี้ ได้ตายลง มี กรรมชั่ว อย่างเดียว เป็น เหตุให้สัตว์ต้องเกิดอีก เพื่อให้สัตว์ต้อง ใช้หนี้ กรรมชั่วที่ได้ทำไว้ แต่สัตว์เกิดขึ้นมาแล้วหายอม ใช้หนี้เกิด กันไม่ มันกลับ เพิ่มหนี้ ให้เป็น เหตุเกิด ทวีคูณ ด้วยเพศผู้เพศเมียเกิดเป็น สุขุมรูป ติดอยู่ใน ๕ กองนี้ เป็นทวีคูณจนปัจจุบันชาติ
    ดังนั้น ด้วยอำนาจกรรมชั่วในสุขุมรูป ๕ กอง ก็เกิดหมุนรวมกันเข้าเป็น รูปปรมาณูกลม คงรูปอยู่ได้ด้วยการหมุนรอบตัวเอง มิหยุดนิ่ง เป็นคูหาให้จิตใจได้อาศัยอยู่ข้างใน เรียกว่า รูปวิญญาณ หรือจะเรียกว่า รูปถอด ก็ได้ เพราะถอดมาจากนามระวางคั่น ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั่นเอง ซึ่งเป็นสุขุมรูปแฝงอยู่ในความว่าง รูปวิญญาณ จึงมีชีวิตอยู่คงทนอยู่ ยืนนานกว่า รูปหยาบ มีกรรมชั่วคอยรักษาให้หมุนคงรูปอยู่ ไม่มีเทพเจ้าองค์ใดฆ่าให้ตายได้ นอกจาก นิพพาน เท่านั้น รูปวิญญาณจึงจะสลาย
    ส่วนการแสดงกรรมของสัตว์ที่ประทับอยู่ในสุขุมรูป มีรูป ตา หู จมูก ลิ้น กาย ๕ กองนั้นรวมกันเข้าเรียกว่า จิต จึงมี สำนักงานจิต ติดอยู่ในวิญญาณ ๕ กอง รวมกันเป็นที่ทำงานของ จิตกลาง แล้วไปติดต่อกับ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ภายนอก ซึ่งเป็นสื่อติดต่อของจิต ดังนั้น จิต กับ วิญญาณ จึงไม่เหมือนกัน จิตเป็นผู้รู้สึกนึกคิด ส่วนวิญญาณเป็นคูหาให้จิตได้อาศัยอยู่ และเป็นยานพาหนะพาจิตไปเกิด หรือจะไปไหนๆ ก็ได้ เป็นผู้รักษา สุขุมรูป รูปที่ถอดจากรูปหยาบ มีรูปเพศผู้ เพศเมีย รูป ตา หู จมูก ลิ้น กาย อยู่ในวิญญาณไว้ได้เป็นเหตุเกิดสืบภพต่อชาติ
    เมื่อสัตว์ตาย ชีวิตร่างกายหยาบของภพภูมิชาตินั้นๆ ก็หมดไปตามอายุขัย (ของ) ชีวิตร่างกายหยาบของภูมิชาตินั้นๆ ส่วนชีวิตแท้ รูป ปรมาณู วิญญาณ จะไม่ตายสลายตาม จะต้องไปเกิดตามภพภูมิต่างๆ ตามเหตุปัจจัยของวัฏฏะหมุนเวียนเปลี่ยนไปด้วย

    ชีวิตแท้-รูปถอดหรือวิญญาณหมุนรอบตัวเอง นี้เอง เป็นเหตุให้จิตเกิดดับ สืบต่อ คอยรับเหตุการณ์ภายนอกภายในที่มากระทบ จะดีหรือชั่วก็สะสมเข้าไว้ เป็นทุน เหตุเกิด เหตุดับ หรือปรุงแต่งต่อไป จนกว่า กรรมชั่ว-เหตุเกิด จะหมดไป ชีวิตแท้-รูปถอดหรือวิญญาณ ก็จะหยุดการหมุน รูปสุขุม-รูปวิญญาณ ซึ่งเกิดมาจากกรรมชั่ว สืบต่อมาแต่ชาติแรกเกิด ก็จะสลายแยกออกจากกันไป คงรูปอยู่ไม่ได้ มันก็กระจายไป ส่วนกิจกรรมดี ธรรมะที่ติดอยู่กับวิญญาณ มันก็จะกระจายไปกับรูปปรมาณู คงเหลือแต่ความว่างที่คั่นช่องว่างของรูปปรมาณูทุกๆ ช่อง ฉะนั้น โดยปราศจากรูปปรมาณู ความว่างนั้น จึงบริสุทธิ์และสว่าง รวมเข้ากับความว่าง บริสุทธิ์ สว่าง ของจักรวาลเดิม เข้าเป็นหนึ่งเรียกว่า นิพพาน

    เมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ทรงสร้างชีวิตพระพุทธศาสนา ให้ก่อเกิดอย่างบริบูรณ์ดังพระประสงค์แล้ว พระพุทธองค์จึงได้ทรงเสด็จสู่อนุปาทิเสสนิพพาน (นิพพานไม่มีอุปาทิเหลือ, ดับกิเลสไม่มีเบญจขันธ์เหลือ คือสิ้นทั้งกิเลสและชีวิต) เป็นผู้หมดสิ้นทุกตัณหา เป็นผู้ดับรอบโดยลักษณาการแห่งอนุปาทิเสสนิพพานของพระพุทธองค์ก็คือ ลำดับแรก ก็เจริญฌานดิ่งสนิทเข้าไปจนถึงสัญญาเวทยิตนิโรธ หมายความว่า เข้าไปดับลึกสุดอยู่เหนือ อรูปฌาน
    ในวาระแรกนั้น พระองค์ยังไม่ได้ดับขันธ์ต่างๆ ให้สิ้นสนิทเป็นเด็ดขาดแต่อย่างใด ยังเพียงเข้าไปเพื่อทรงกระบวนการแห่งการสู่นิพพาน หรือนิโรธ เป็นครั้งสุดท้ายแห่งชีวิต พูดง่ายๆ ก็คือสู่สิ่งที่พระองค์ได้ทรงสร้าง ได้ทรงพากเพียรก่อเป็นทาง เป็นแบบอย่างไว้ เป็นครั้งสุดท้ายเสียหน่อย ซึ่งเรียกได้ว่าสิ่งอันเกิดจากที่พระองค์ได้ยอมอยู่กับธุลีทุกข์ อันเป็นธุลีทุกข์ที่มนุษย์ธรรมดา (เป็น) ผู้ที่มีจิตหยาบเกินกว่าจะสัมผัสว่า มันเป็นทุกข์
    นี่แหละ กระบวนการกระทำจิตตน ให้ถึงซึ่งสัญญาเวทยิตนิโรธนั้น เป็นกระบวนการที่พระอนุตตรสัมมาสัมพุทธเจ้า พระผู้เป็นยอดแห่งศาสดาในโลกเท่านั้นที่ทรงค้นพบ ทรงนำมาตีแผ่เผย แจ้งออกสู่สัตว์โลกให้พึงปฏิบัติตาม เมื่อทรงสิ่งซึ่งสุดท้ายนี้แล้ว จึงได้ถอยกลับมาสู่สภาวะต้น คือ ปฐมฌาน แล้วจึงได้ตัดสินพระทัยสุดท้าย เสด็จดับขันธ์ต่างๆ ไปทีละขันธ์ วิญญาณขันธ์แห่งชีวิต และร่างกายนั้น เพราะต้องดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรมชั้นแรกเสียก่อน วิญญาณขันธ์จึงได้ดับ ดังนั้น จึงไม่มีเชื้อใดเหลืออยู่แห่งวิญญาณขันธ์ที่หยาบนั้น
    พระองค์เริ่มดับ สังขารขันธ์ หรือ สังขารธรรม ชั้นในสุดอีกที อันจะส่งผลให้ก่อ วิภวตัณหา ได้ชั้นหนึ่งเสียก่อน แล้วจึงได้เลื่อนเข้าสู่ ทุติยฌาน แล้วจึงดับ สัญญาขันธ์ เลื่อนเข้าสู่ ตติยฌาน เมื่อ พระองค์ดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรม ชั้นในสุดอีกที ก็เป็นอันเลื่อนเข้าสู่ จตุตถฌาน คงมีแต่ เวทนาขันธ์ สุดท้ายแห่งชีวิต นั้นแล คือลักษณาการแห่งขั้นสุดท้ายของการจะดับสิ้นไม่เหลือ

    เมื่อพระองค์ดับ สังขารขันธ์ หรือ สังขารธรรม ใหญ่สุดท้ายที่มีทั้งสิ้นแล้ว แล้วก็มาดับ เวทนาขันธ์ อันเป็น จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ ที่ในจิตส่วนในคือ ภวังคจิต เสียก่อน แล้วจึงได้ออกจาก จตุตถฌาน พร้อมกับมาดับ จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ สุดท้ายจริงๆ ของพระองค์เสียลงเพียงนั้น
    นี่ พระองค์เข้าสู่นิพพานอย่างจริงๆ อยู่ตรงนี้ พระองค์ไม่ได้เข้าสู่นิพพานในฌานสมาบัติอะไรที่ไหนดอก เมื่อพระองค์ออกจากจตุตถฌานแล้ว จิตขันธ์หรือนามขันธ์ก็ดับพร้อม ไม่มีอะไรเหลือ นั่นคือ พระองค์ ดับเวทนาขันธ์ในภาวะจิตตื่น หรือวิถีจิตปกติของมนุษย์ ครบพร้อมทั้งสติและสัมปชัญญะ ไม่ถูกภาวะอื่นใดที่มาครอบงำอำพราง ให้หลงใหลใดๆ ทั้งสิ้น เป็นภาวะแห่งตนเองอย่างบริบูรณ์
    เมื่อ เวทนาขันธ์ สุดท้ายแท้ๆ จริงๆ ได้ถูกทำลายลงอย่างสนิท จึงเป็นผู้บริสุทธิ์ หมดสิ้นแล้วซึ่งสังขารธรรม และหมดเชื้อ จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ ทั้งปวงใดๆ ในพระองค์ท่าน ไม่มีเหลือ คงทิ้งแต่ รูปขันธ์ อันจะมีชีวิตนั้นไม่ได้แน่ เพราะรูปไม่ใช่ชีวิตหากสิ้นนามเสียแล้ว ก็คือแท่ง คือก้อนวัตถุหนึ่ง เท่านั้นเอง
    นั่นแล คือ ลำดับฌาน ที่พระอนุรุทธเถระเจ้าได้นำฌานจิตเข้าไปดู เป็นวิธีการดับโดยแท้ ดับโดยจริงโดยพระองค์เป็นผู้ดับเองเสียด้วย
     
  9. dragonlord

    dragonlord เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    541
    ค่าพลัง:
    +1,541
    บวกหนังสือ เพิ่มอีกชุดทันไม๊คะคุณหนุ่ม
     
  10. aries2947

    aries2947 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    2,031
    ค่าพลัง:
    +11,622
    จำได้ครับ โมทนาบุญกรรมฐานด้วยนะครับ
    ผมยังจำได้ครับ
     
  11. aries2947

    aries2947 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    2,031
    ค่าพลัง:
    +11,622
    หนังสือดีดี / free download‏ <table style="width: 176px; height: 79px;" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr><td>จากforword mailครับ
    </td></tr><tr><td style="vertical-align: top;">
    </td></tr><tr><td>
    </td></tr></tbody></table>

    <table class="EC_EC_MsoNormalTable" style="width: 100%;" width="100%" border="0" cellpadding="0"> <tbody> <tr> <td style="padding: 0.75pt; width: 99.6%;" valign="top" width="99%"> ขอมอบของขวัญปีใหม่เพื่อความสุขอันแท้จริงของชีวิต
    <table class="EC_EC_MsoNormalTable" style="border: 3pt outset ; width: 100%;" width="100%" border="1" cellpadding="0"> <tbody> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial; width: 14%;" valign="top" width="14%" bgcolor="white">
    รหัส
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial; width: 57%;" valign="top" width="57%" bgcolor="white">
    หนังสือ / ผู้เขียน
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial; width: 13%;" valign="top" width="13%" bgcolor="white">
    ขนาดไฟล์
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial; width: 14%;" valign="top" width="14%" bgcolor="white">
    โหลดไฟล์
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0001
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> คิริมานนทสูตร
    พระสูตรจากพระไตรปิฎก

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    249 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0002
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> ชีวิตนี้น้อยนัก และ วิธีสร้างบุญบารมี
    โดย สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    453 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0003
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> จิต คือ พุทธะ
    โดย หลวงปู่ดูลย์ อตุโล

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    259 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0004
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> ทางเอก ( การปฏิบัติธรรมแนวเจริญสติ )
    โดย พระอาจารย์ปราโมทย์ ปาโมชฺโช

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    866 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0005
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> คำถามและคำตอบแนวทางการปฏิบัติธรรม
    โดย หลวงปู่ชา สุภัทโท

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    251 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0006
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> การทำความรู้สึกตัว
    โดย หลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    144 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0007
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> จิตเป็นแก่นของชีวิต
    โดย หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    211 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0008
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> สิ้นโลกเหลือธรรม
    โดย หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    380 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0009
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> เสียดาย...คนตายไม่ได้อ่าน
    โดย ดังตฤณ

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    1,060 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0010
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> จิตสดใสแม้กายพิการ
    โดย อ.กำพล ทองบุญนุ่ม

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    994 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0011
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> มนต์คลายโกรธ 2551
    โดย ทูตใจ

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    6,000 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0012
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> การฝึกสติเพื่อสมาธิ
    โดย หลวงพ่อพุธ ฐานิโย

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    273 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0013
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> ประทีปส่องธรรม และ วิถีแห่งความรู้แจ้ง
    โดย พระอาจารย์ปราโมทย์ ปาโมชฺโช

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    278 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0014
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> มีชีวิตที่คิดไม่ถึง
    โดย ดังตฤณ

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    955 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0015
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> รวมคำสอนของหลวงปู่
    โดย หลวงปู่บุดดา ถาวโร

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    1,930 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0016
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> ธรรมนูญชีวิต
    โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    352 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0017
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> พิจารณากาย พิจารณาจิต
    โดย หลวงปู่ฝั้น อาจาโร

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    826 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0018
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> รวมคำสอนของพระอาจารย์ใหญ่สายพระป่า
    โดย หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    5,000 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0019
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> วิมุตติปฏิปทา และ แด่เธอผู้มาใหม่
    โดย พระอาจารย์ปราโมทย์ ปาโมชฺโช

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    534 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0020
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> เตรียมเสบียงไว้เลี้ยงตัว เล่ม 1 - 5
    โดย ดังตฤณ

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    3,240 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0021
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> อนาลโยวาทะ
    โดย หลวงปู่ขาว อนาลโย

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    1,790 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0022
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> จิตมุ่งสู่ความหลุดพ้น
    โดย หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    1,400 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0023
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> ใจเป็นใหญ่
    โดย หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    315 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0024
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> แสงส่องใจ
    โดย สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    663 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0025
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> คิดจากความว่าง
    โดย ดังตฤณ

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    183 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table>
    <table class="EC_EC_MsoNormalTable" style="border: 3pt outset ; width: 100%;" width="100%" border="1" cellpadding="0"> <tbody> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial; width: 14%;" valign="top" width="14%" bgcolor="white">
    รหัส
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial; width: 57%;" valign="top" width="57%" bgcolor="white">
    หนังสือ / ผู้เขียน
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial; width: 13%;" valign="top" width="13%" bgcolor="white">
    ขนาดไฟล์
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial; width: 14%;" valign="top" width="14%" bgcolor="white">
    โหลดไฟล์
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0026
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> พุทธธรรม ( ฉบับเดิม )
    โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    1,240 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0027
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> น้อมลงที่ใจ
    โดย หลวงปู่หล้า เขมปัตโต

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    683 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0028
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> ภาวนารู้เท่าทัน
    โดย หลวงปู่หลุย จันทสโร

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    316 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0029
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> คู่มือการทำความรู้ตัว
    โดย หลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    1,880 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0030
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> กรรมพยากรณ์ ตอน ชนะกรรม
    โดย ดังตฤณ

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    3,650 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0031
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> ความเชื่อเรื่องกรรม
    โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    683 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0032
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> ทางพ้นทุกข์
    โดย หลวงปู่ชา สุภัทโท

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    512 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0033
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> เข้าถึงพระไตรลักษณ์
    โดย หลวงพ่อพุธ ฐานิโย

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    655 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0034
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> สติรักษาจิต
    โดย หลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    384 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0035
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> ปุจฉาวิสัชนาในประเทศ
    โดย หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    1,090 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0036
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> พระอานนท์พุทธอนุชา
    โดย อ.วศิน อินทสระ

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    691 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0037
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> ช้อปปิ้งบุญ และ ธรรมะรอบกองไฟ
    โดย ขวัญ เพียงหทัย

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    847 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0038
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> กรรมลิขิต
    โดย ธมฺมวฑฺโฒ ภิกฺขุ

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    401 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0039
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> พุทธวิธีควบคุมความคิด
    โดย สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    228 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr> <tr> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    BOOK0040
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white"> วาทะดังตฤณฉบับชวนคิด และ ความรักหลากสี
    โดย ดังตฤณ

    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    858 KB.
    </td> <td style="padding: 0.75pt; background: white none repeat scroll 0% 0%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial;" valign="top" bgcolor="white">
    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table>

    </td></tr></tbody></table>
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
  13. แก่วัด

    แก่วัด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    344
    ค่าพลัง:
    +1,461
    ผมโอน ทำบุญ ขอความเมตตาช่วยต่อชีวิตพระเณร วันนี้ จำนวน 1000 บาท และจะทำบุญโครงการต่อไป เมื่อจบโครงการตามประสงค์ผมแล้วผมจะโพสสลิปการโอนทั้งหมดให้ครับพี่พร้อมที่อยู่ครับพี่ โครงการต่อไป กองทุนผู้ป่วยโรคมะเร็งครับ
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
  15. ake7440

    ake7440 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,528
    ค่าพลัง:
    +405
    โมทนาสาธุครับ
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    โมทนาสาธุครับ

    ทำบุญที่ สนส.บ่อเงินบ่อทอง แล้วจะรับพระวังหน้าใช่หรือเปล่าครับ
    แล้วจะรับพระวังหน้าแบบไหนอย่างไร หรือต้องการรับวัตถุมงคลแบบไหน รบกวนแจ้งให้ทราบก่อนนะครับ เผื่อบางอย่างอาจจะไม่มีแล้วครับ

    พระวังหน้า ไม่สามารถนำไปซื้อขายในวงการซื้อขายพระของเมืองไทยได้นะครับ ไม่สามารถนำไปประกวดที่ไหนได้เช่นกัน เพราะพระวังหน้าไม่ใช่ของซื้อขาย และของเล่น เป็นของจริงที่ต้องเคารพครับ
    .
     
  17. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    หุ..หุ..หายไปนาน ต้องรับน้อง(ใหม่)เช่นกัน...
     
  18. Shinray01

    Shinray01 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,675
    ค่าพลัง:
    +2,310
    ได้รับหนังสือแล้วครับ อนุโมทนาครับหนังสือเล่มเดียวอ่านทั้งบ้านครับคุ้มไม่เสียเปล่าแน่ครับ
     
  19. Lar'En'Ciel

    Lar'En'Ciel สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มกราคม 2009
    โพสต์:
    82
    ค่าพลัง:
    +14
    ขอบคุณความรู้ทั้งหลายครับ
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ชวนทำพิธีไหว้เทพเจ้าตรุษจีนครบสูตรคุ้มครอง-ร่ำรวย-โชคดี ตลอดปี’ 52
    http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9520000007782
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>22 มกราคม 2552 18:24 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=450 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=450>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> หนังสือพิมพ์รายสัปดาห์-เปิดพิธีไหว้เทพเจ้า-บรรพบุรุษในวันตรุษจีนให้เฮงเฮงเฮงตลอดปี 2552 ตามประเพณีโบราณ ด้วยการไหว้เทพเจ้าเตาก่อนตรุษจีน 7 วัน ไหว้เทพเจ้า-บรรพบุรุษ วันสิ้นปี-ปีใหม่ ขอบคุณเทพเจ้าที่คุ้มครองตลอดปี พร้อมเครื่องเซ่นไหว้ครบชุด ส่วนเทพแห่งโชคลาภปีนี้ลงจากสวรรค์มาทิศตะวันออก ฤกษ์ดีไหว้หลัง 5 ทุ่ม

    สำหรับคนจีนแล้ว เทศกาลอาจมีหลายเทศกาล แต่เทศกาลที่มีความหมายสำหรับคนจีนมากที่สุดไม่ว่าจะกี่ยุคกี่สมัย คือเทศกาล “ตรุษจีน” เพราะเทศกาลตรุษจีนคือวันปีใหม่ตามประเพณีของชาวจีนทั่วโลก ไม่ว่าหลายๆ ชาติจะยึดถือเอาวันส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ตามธรรมเนียมชาวยุโรปคือนับเอาวันที่ 1 มกราคม ตามปฏิทินเป็นวันปีใหม่ แต่สำหรับชาวจีนแล้ว วันขึ้นปีใหม่ที่แท้จริงคือวันตรุษจีน ที่จะเริ่มต้นในวันที่ 1 เดือน 1 ของปีตามจันทรคติ ซึ่งปีนี้จะตรงกับวันที่ 26 มกราคม 2552 นี้

    ชวนคนรุ่นใหม่ไหว้เจ้าตรุษจีน

    เศรษฐพงศ์ จงสงวน นักวิชาการด้านจีนศึกษาและผู้เชี่ยวชาญด้านพุทธศาสนานิกายมหายานในประเทศไทย กล่าวว่า คนเชื้อสายจีนในเมืองไทยจะมีเทศกาลที่สำคัญที่จะต้องมีการเซ่นไหว้อยู่ 8 ครั้งใน 1 ปี ได้แก่ เทศกาลตรุษจีน ซึ่งปีนี้จะตรงกับวันที่ 26 มกราคม 2552,เทศกาลหยวนเซียวหรือเทศกาลโคมไฟ จะจัดหลังตรุษจีน 15 วัน,เทศกาลเช็งเม้ง,เทศกาลขนมบ๊ะจ่าง,เทศกาลสาร์ทจีน,เทศกาลไหว้พระจันทร์,เทศกาลขนมบัวลอย และวันสิ้นปี ซึ่งอยู่ติดกับวันตรุษจีน

    อย่างไรก็ดี สำหรับคนที่มีเชื้อสายจีนรุ่นใหม่ที่อยากจะทำพิธีไหว้เจ้าแบบจีนนั้น สามารถทำได้เพราะไม่ยาก และสามารถเตรียมอาหารของไหว้ได้ตามกำลังทรัพย์ของแต่ละครอบครัว ซึ่งปัจจุบันคนไทยเชื้อสายจีนก็ยังยึดถือทำพิธีไหว้เจ้ากันจำนวนมาก แต่ก็มีคนไทยเชื้อสายจีนจำนวนไม่น้อยที่หยุดไหว้เจ้าไปเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจ หรือไม่มีผู้ใหญ่ในบ้านเรือน ซึ่งสำหรับปีก่อนๆ หากไม่ได้ทำการไหว้เจ้าตรุษจีนก็สามารถเริ่มใหม่ในปีนี้ได้ ถือเป็นการช่วยฟื้นฟูและรักษาประเพณีที่ดีงามไว้ โดยพิธีจะต้องเริ่มตั้งแต่ก่อนตรุษจีน 7 วัน

    โดยก่อนเทศกาลตรุษจีน 7 วัน ให้เริ่มการไหว้เจ้าเตา ซึ่งเป็นเทพเจ้าประจำบ้านให้ขึ้นสู่สรวงสวรรค์ โดยนิยมไหว้ด้วยของหวานและผลไม้ เพื่อให้เจ้าเตาขึ้นสวรรค์ไปพูดแต่สิ่งดีๆ ซึ่งจะใช้ผลไม้และของหวานจำนวนกี่ชนิดก็ได้ และจะเริ่มมีการปัดกวาดทำความสะอาดบ้านเรือนตั้งแต่นี้ เพราะวันตรุษจีนจะไม่มีการทำความสะอาดใดๆ

    จากนั้นจะเริ่มมีการตกแต่งบ้านเรือน ที่นิยมกันมากคือจะมีการปิดป้ายกลอนคู่ หรือรูปเทพเจ้า ตามประตูและช่องทางเดินต่างๆ เพื่ออวยพรให้เกิดสิริมงคลในบ้านเรือน รวมทั้งมีการแขวนโคมไฟเพื่อประดับประดาให้ความสวยงามด้วย ซึ่งบางครอบครัวก็อาจจะติดป้ายเหล่านี้ในวันปีใหม่ หรือหลังจากกลับไปทำงาน แล้วแต่ความเชื่อของแต่ละบ้าน

    3 พิธีเซ่นไหว้เทพเจ้า-บรรพบุรุษวันสิ้นปี

    ต่อมา ในวันสิ้นปี คือวันที่ 25 มกราคม คนจีนจะนิยมเซ่นไหว้เทพเจ้าและบรรพบุรุษในวันนี้ โดยหลักการแล้ว คนจีนจะถือว่าเป็นการไหว้เพื่อตอบแทนที่เทพเจ้าให้ความคุ้มครองตลอดปีที่ผ่านมา และขอให้เทพเจ้าคุ้มครองในปีใหม่ด้วย ซึ่งคนจีนจะเซ่นไหว้โดยตอบแทนความช่วยเหลือ เป็นกำลังใจในการดำเนินชีวิตในปีใหม่ ไม่มีการบนบานศาลกล่าว

    พิธีการเซ่นไหว้ที่ถูกต้องนั้นจะมี 3 ครั้งด้วยกัน ได้แก่
    ตอนเช้ามืด จะมีการไหว้เทพเจ้าต่างๆ (ไป๊เล่าเอี๊ย) โดยสามารถไหว้ได้ตั้งแต่ตี 5 เป็นต้นไปโดยการเตรียมโต๊ะไหว้เจ้านั้นส่วนใหญ่จะประกอบด้วย เนื้อสัตว์ต่างๆ นิยมไหว้เป็น ซาแซ กับ โหงวแซ โดย “ซาแซ” หรือไหว้เนื้อสัตว์ 3 ชนิด ได้แก่ เป็ดไก่หมู หรือเป็ดไก่ปลาก็ได้ อยู่ที่แต่ละบ้านเรือนจะจัด หรือ “โหงวแซ” คือการไหว้ด้วยเนื้อสัตว์ 5 ชนิด คือนอกจาก 3 ชนิดข้างต้นก็สามารถใช้เนื้อสัตว์อื่นๆ ให้ครบ 5 ชนิด ที่นิยมนำมาเป็นเครื่องไหว้ได้แก่ ห่าน,ปลาหมึก,กุ้ง,ปู และตับหมู นอกจากนี้ก็จะมี เหล้า น้ำชา และกระดาษเงินกระดาษทอง

    ในการไหว้เทพเจ้า ส่วนใหญ่ก็จะมีการอธิษฐานในทำนองขอขอบพระคุณที่เทพเจ้าให้ความเมตตาคุ้มครองตลอดทั้งปี และได้จัดอาหารเครื่องบูชาต่างๆ เพื่อสักการะไว้แล้ว

    ตอนสายจะเริ่มประมาณ 9.00-12.00 น.จะเป็นการไหว้บรรพบุรุษ (ไป๊เป้บ๊อ) นอกจากซาแซ หรือโหงวแซที่จัดเตรียมไว้ไหว้เทพเจ้าตอนเช้าไปแล้ว สามารถใช้ในการไหว้บรรพบุรุษได้อีก แต่ต้องเพิ่มกับข้าวในจำนวน 6 อย่าง 8 อย่าง หรือ 12 อย่าง ตามกำลังแต่ละคน พร้อมทั้งต้องมีการตั้งข้าวเท่าจำนวนบรรพบุรุษ รวมถึงจัดวางเครื่องถ้วยชาม ตะเกียบ ถ้วยน้ำชา ตามจำนวนบรรพบุรุษ และเตรียมน้ำชา และเหล้าจีนวางไว้ด้วย ซึ่งหากเลยเที่ยงวันไปแล้วจะไม่นิยมไหว้ แต่จะมีการเก็บโต๊ะไหว้เจ้าแล้ว

    ขนม-ผลไม้แห่งความมงคล

    ส่วนขนมหลักๆ จะมีซาลาเปา ขนมถ้วยฟู และขนมเข่ง โดยขนมเข่งนั้นในเมืองไทยจะมีลักษณะเป็นขนมเข่งที่ทำจากแป้งข้าวเหนียวนำมากวนน้ำตาลทรายขาว หรือน้ำตาลทรายแดง แล้วนำมาหยอดลงกระทงใบตองก่อนนำไปนึ่ง แล้วแต้มสีแดงเข้าไป ซึ่งเป็นขนมเข่งเหมือนขนมเข่งในพื้นที่จีนตอนใต้ มีชื่อว่า “เหงียนเตง”แปลว่าขนมปีใหม่ ซึ่งสำหรับคนแต้จิ๋วมักจะนำไปใช้ในงานมงคลอื่นๆ ด้วย ได้แก่ ปีใหม่,ตรุษจีน,สาร์ทจีน,งานแต่งงาน ฯลฯ ซึ่งเช่นเดียวกับชาวฮกเกี๊ยนที่จะทำขนมเข่งจากแป้งข้าวเหนียว ส่วนพื้นที่อื่นๆ จะทำขนมเข่งจากแป้งสาลี สำหรับกวางตุ้ง ขนมเข่งของที่นี่จะมีไส้ต่างๆ ด้วย

    สำหรับเมืองไทย จะเห็นว่าการไหว้เจ้าในเมืองไทย นอกจากขนมเข่งแล้วจะมีการไหว้ขนมเทียนควบคู่ไปด้วย สำหรับขนมเทียนนี้ จริงๆ แล้วเป็นขนมของไทย ในเมืองจีนจะไม่มีการไหว้กัน แต่เมื่อคนจีนมาอยู่ในเมืองไทย จึงรับวัฒนธรรมขนมนำมาผสมผสานในการไหว้ โดยคนจีนได้นำขนมเทียนมาเติมสูตร โดยผสมกับหญ้าชนิดหนึ่งที่จะให้รสชาติหวาน จะมีสีดำ คล้ำๆ ออกสีเขียว จากนั้นจึงทำมาทำขนมเทียนซึ่งจะมีไส้มะพร้าวกวนให้หวานอยู่ด้านใน และมีความเหนียว ซึ่งเชื่อว่าการกินของหวานๆ จะทำให้ชีวิตมีแต่เรื่องดีๆ มีความสุขทั้งปี และความเหนียวแสดงถึงความเหนียวแน่น กลมเกลียว

    นอกจากขนมที่กล่าวมาแล้ว ก็จะมีการไหว้ขนมอื่นๆ ผสมด้วย ที่นิยม ได้แก่ ขนมเปี๊ยะ ขนมจันอับต่างๆ ขนมกุช่ายรูปลูกท้อที่เป็นสัญลักษณ์ของความมีสิริมงคลด้วย ซึ่งบางบ้านก็มักนำขนมเค้กมาไหว้ร่วมด้วยก็สามารถทำได้ เพราะมีความฟูเหมือนขนมถ้วยฟู

    สำหรับผลไม้ นิยมไหว้ด้วยผลไม้ 3 หรือ 5 ชนิดแล้วแต่เลือก ส่วนใหญ่คนจีนมักเลือกเซ่นไหว้ผลไม้ที่มีชื่อพ้องเสียงกับคำที่มีความหมายเป็นสิริมงคล เช่น

    ส้ม คนจีนออกเสียงว่า “ไต่กิก” แปลว่า มหามงคล ซึ่งในจีนแผ่นดินใหญ่ปกตินิยมใช้ส้มจี๊ดลูกเล็กๆในการไหว้ แต่ในเมืองไทยส้มจี๊ดหาได้ยาก จึงนำส้มลูกใหญ่มาใช้แทนได้เช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นส้มเขียวหวาน หรือส้มสีทองถือว่ามีความหมายดีเช่นกัน

    แอปเปิ้ล หรือ “ผิงผั่ว”ตามภาษาจีนกลาง และเผ่งกล้วยที่พ้องเสียงกับคำว่าเผ่งอั้ง แปลว่า ความสงบสุข

    สาลี่ หรือ สัปปะรด ภาษาจีนเรียกว่า “ไล้” แปลว่าเงินทองไหลมาเทมา

    กล้วยหอม คนจีนเรียกว่า “เก็งเจีย” แปลว่าเรียกกลับเข้ามา มีความหมายถึงการเรียกโชคลาภเข้าบ้าน

    กล้วย คำจีนเรียกว่า "เกงเจีย" มีความหมายถึงการมีลูกหลานสืบสกุล

    องุ่น หรือ “ผู่ท้อ” มีความหมายว่า เฟื่องฟู

    “กลุ่มนี้เป็นผลไม้ที่มีชื่อพ้องเสียงกับภาษาจีนที่มีความหมายมงคล นิยมนำมาใช้ไหว้เจ้ากันมาก แต่ก็มีผลไม้ชนิดอื่นที่มีความหมายมงคลตามลักษณะของมันด้วยได้แก่ ทับทิม และลูกพลับ”

    ทับทิม มีความหมายว่าให้มีลูกหลานมาก มีความมั่งคั่ง

    ลูกพลับ มีความหมายว่า ให้มีความสุขตลอดปี

    หลังจากไหว้บรรพบุรุษเสร็จ บางบ้านจะมีการไหว้ผีไม่มีญาติ ซึ่งปกติจะไม่นิยมไหว้กันในวันตรุษจีนแต่จะไหว้ในช่วงสาร์ทจีน แต่ก็สามารถทำได้หากอยากเผื่อแผ่ให้ผีไม่มีญาติเหล่านี้

    ตกเย็น ก็จะมีการร่วมรับประทานอาหารของคนในครอบครัว โดยมักทานอาหารที่เหลือจากการเซ่นไหว้นี้ เพราะเชื่อว่าจะทำให้เกิดมงคลกับทุกคน

    ปีนี้เทพเจ้าโชคลาภมาทางทิศตะวันออก

    จากนั้นเมื่อถึงเวลา 23.00 น.เป็นต้นไป ก็จะมีการไหว้เทพเจ้า “ไฉ่ซิ้งเอี้ย” หรือเทพเจ้าแห่งโชคลาภ ปัจจุบันถือว่ามีความนิยมไหว้ไฉ่ซิงเอี้ยกันมาก โดยปกติจะต้องมีการเซ่นไหว้ตามทิศที่เทพเจ้าจะลงมาจากสวรรค์ ซึ่งแตกต่างกันทุกปี ในปีนี้เทพไฉ่ซิ้งเอี้ย จะมาทางทิศตะวันออก ฤกษ์ดีคือตั้งแต่เวลา 23.00 น.เป็นต้นไป จึงจะต้องตั้งโต๊ะไหว้เทพเจ้าให้หันหน้าไปทางทิศตะวันออก

    ของไหว้ใช้แบบง่ายๆ ได้แก่ ส้ม อาหารเจ ขนมอี๋ ขนมสาคูสีแดง น้ำชา ธูป 3 ดอก กระดาษเงินกระดาษทอง 12 แผ่น และเทียนแดง ในการไหว้นั้นจำเป็นต้องไหว้อย่างรวดเร็ว ไม่ต้องรอให้ธูปหมดเสียก่อน พอจุดธูปเสร็จครบทุกคนในบ้านก็สามารถเชิญเทพเจ้าเข้าบ้านได้เลย เนื่องจากเชื่อว่าต้องรีบเชิญเทพเจ้าแห่งโชคลาภเข้าบ้านให้เร็วที่สุด ไม่เหมือนพิธีไหว้พระจันทร์ที่เป็นประเพณีในการชมจันทร์ และอยู่ร่วมกับครอบครัว หากไหว้นาน เทพเจ้าก็จะยังอยู่แต่หน้าบ้านไม่เข้าบ้านเสียที ซึ่งตรงนี้ยังมีความเข้าใจกันผิดอยู่มาก เพราะมักไหว้นาน

    ทั้งนี้ในการไหว้เทพเจ้าแห่งโชคลาภ สามารถทำอย่างง่ายๆ ได้เช่นกัน โดยจุดธูป 3 ดอก จุดเทียนสีแดงมงคล มีกระดาษเงินกระดาษทอง 12 แผ่น หันหน้าไปทางทิศที่ตรงกับทิศที่เทพเจ้าจะลงมาจากสวรรค์ในปีนั้นๆ เช่นปีนี้ก็ให้หันหน้าไปทิศตะวันออก พร้อมทั้งอธิษฐานในทำนองว่า ขออัญเชิญให้ท่านเทพเจ้าเข้ามาในบ้าน นำโชคลาภมาให้กับคนในครอบครัวของข้าพเจ้า

    อย่างไรก็ดี ทิศที่เทพเจ้าจะลงมาจากสวรรค์นั้น โดยปกติแล้วคนจีนจะใช้ตำราที่เป็นปฏิทินของฮ่องกงเป็นหลัก แต่ในเมืองไทยปัจจุบันมีซินแสมากมาย จึงแนะนำให้ตั้งโต๊ะหันไปทิศทางที่ต่างกันไป รวมทั้งบางบ้านอาจสับสนเรื่องทิศทางด้วย จึงทำให้พบเห็นว่ามีการตั้งโต๊ะไหว้เทพเจ้าไฉ่ซิงเอี้ย โดยหันหน้าโต๊ะต่างกันก็มี

    หลังจากนั้นจะเป็นการไหว้ตรุษจีนในวันที่ 26 มกราคม 2552 โดยจะมีการไหว้แต่เช้า ใช้ของไหว้ประกอบด้วย ขนมอี๋ สาคูต้มหรือบัวลอยที่ใส่สีแดงเข้าไป มีรสหวาน บางบ้านก็นิยมไหว้อาหารเจด้วย เพื่อเริ่มต้นปีใหม่ เว้นการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต โดยจะเป็นการไหว้ทั้งเทพเจ้าและบรรพบุรุษ หลังจากนั้นจะมีการเดินทางไปอวยพรผู้หลักผู้ใหญ่ตามลำดับอาวุโส ตั้งแต่วันชิวอิก (ตรุษจีน) จนถึงวันชิว 4 หรือวันที่ 4 หลังวันตรุษจีน ที่เป็นวันสุดท้ายที่จะมีการไหว้เทพเจ้าอีกครั้งเพื่อรับเทพเจ้าเตาที่ขึ้นไปบนสวรรค์เพื่อกลับเข้าบ้านเรือน ก่อนจะเปิดทำการค้าขาย หรือไปทำงานในวันที่ 5 หลังวันตรุษจีน

    ปีใหม่ห้ามทะเลาะกัน-ทวงหนี้

    สำหรับเกร็ดในการปฏิบัติตัวในวันตรุษจีนนั้นประกอบด้วย

    อาหารมื้อแรกที่ควรทานคือ อาหารเจ เพื่อเว้นจากการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต ต่อไปจึงรับประทานอาหารเนื้อสัตว์ที่เหลือจากการเซ่นไหว้วันสิ้นปี สำหรับบางบ้านอาจมีการไหว้เทพเจ้าและไหว้บรรพบุรุษอีกชุดหนึ่ง แต่ส่วนใหญ่ในเมืองไทยไม่นิยมไหว้แล้ว เพราะสิ้นเปลือง

    ที่สำคัญต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัดคือ ทุกคนจะห้ามพูดจาไม่ดีใส่กัน ให้พูดแต่สิ่งดีๆ อวยพรให้แก่กัน ห้ามทะเลาะกันเด็ดขาด แม้แต่คนที่เกลียดหรือเป็นศัตรูกัน ในวันตรุษจีนจะต้องอวยพรให้แก่กันเช่นกัน แม้แต่เจ้าหนี้ วันปีใหม่จีนก็ห้ามทวงหนี้ในวันนี้ด้วย

    นอกจากนี้ก็ให้งดการทำงานบ้าน เพราะจะกวาดโชคลาภออกไปจากบ้าน รวมทั้งหยุดซักผ้าผ่อน ซึ่งในความคิดเห็นส่วนตัวแล้ว คิดว่าเป็นอุบายที่จะให้แม่บ้านได้พักผ่อนในวันปีใหม่ด้วย

    ไหว้เจ้าตรุษจีน 2552 เรียบร้อย ปีฉลูนี้ขอให้ทุกท่านเฮง เฮง เฮง และร่วมกันอวยพรต่อกันว่า ซินเจียยู่อี่ ซินนี้ฮวดไช้ (แต้จิ๋ว) หรือ ซินเจิ้งหรูอี้ ซินเหนียนฟาฉาย (จีนกลาง) ที่จะแปลว่า ขอให้ประสบโชคดี ขอให้มั่งมีปีใหม่ หรือ เกียฮ่อซินนี้ ซินนี้ตั้วถั่น แปลว่า สวัสดีปีใหม่ ขอให้ร่ำรวยๆ

    อีกฝ่ายอย่ารอช้ารีบกล่าวตอบไปว่า “ตั่งตังยู่อี่” แปลว่า ขอให้สุขสมหวังเช่นกัน
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...