เมื่อทุกขเวทนามาถึง พระอรหันต์กระทำจิตมิให้หวาดหวั่น กำเริบ ฟุ้งซ่าน ถึงมาตรว่า กายนั้นจะมีทุกขเวทนามากน้อยประการใด ก็มิได้เอาใจใส่ เห็นมั่นในพระไตรลั

Click on the photo to start tagging. Done Tagging

ในอัลบั้มนี้

เมื่อทุกขเวทนามาถึง พระอรหันต์กระทำจิตมิให้หวาดหวั่น กำเริบ ฟุ้งซ่าน ถึงมาตรว่า กายนั้นจะมีทุกขเวทนามากน้อยประการใด ก็มิได้เอาใจใส่ เห็นมั่นในพระไตรลั พิจารณาสังขาร พระอรหันต์เจ้านั้น เป็นภาวิตจิตฝึกฝนอยู่เป็นอันดี ดุจสินธพพาชีชาติอาชาไนยอันฝึกหัดทรมานไว้เป็นอันดี เมื่อทุกขเวทนามาถึงตัวนั้น พระผู้เป็นเจ้าก็ผูกพันจ พระอรหันต์ถือว่า ชีวิตร่ายกายเปรียบเหมือนเรือรั่วที่ท่านใช้โดยสารข้ามฝั่งชั่วคราว เรือไม่ใช่ของท่าน ท่านมิได้เป็นเจ้าของเรือ ในระหว่างที่อยู่ในเรือ ท่ จิตปถุชนนี้ไซร้ ถ้ามิได้เจริญให้ถึงมรรคผลโลกุตตระ ก็ได้แต่ทุกข์ร้อนเหมือนโคหิวถูกผูกไว้ด้วยเถาวัลย์ ครั้นจิตกำเริบแล้ว ก็พากายกำเริบ ดั้นโดดไปเสวยเวทน ผู้มีปรีชากำหนดรู้ความเบื่อหน่ายในรูปนาม ท่านย่อมไม่มีความพอใจยินดีในรูปนาม ซึ่งมีภัยมมีโทษที่ตนได้เห็นแล้ว เกิดความเบื่อหน่ายในหลุมคูถคือรูปนามเป็นที ส่วนของเน่าของเหม็นมีอยู่เต็มตัว ก็ไม่รู้ไม่เห็น เห็นแต่ว่าตัวรู้ ตัวดี ถือเนื้อถือตัวอยู่ ผู้มีเพียรเพ่งอยู่ พิจารณาซึ่งรูปนามสังขารธรรม อันนี้เป็นขอ คุณอากาศ 10 คือไม่รู้แก่ ไม่รู้ตาย ไม่รู้จุติ มิได้เวียนเกิดอีก หาผู้ข่มเหงมิได้ โจรฉกมิได้ ไม่มีที่อาศัย จะไปได้แต่นก คนมีฤทธิ์ เทวดา ยักษ์มีฤทธิ์ หา ธรรมดามาตุคามทั้งหลาย ย่อมเป็นพิษเป็นภัยแก่ผู้บำเพ็ญพรตพรหมจรรย์เป็นอย่างยิ่ง อันรูปนามนี้ ไม่มีอะไรที่จะยึดถือเอาเป็นสรณะที่พึ่งได้ ไม่เป็นสาระแก่นสา ความตาย เป็นงานชิ้นสุดท้ายที่สำคัญที่สุดของชีวิต ผู้ที่จะไม่เกิดอีก...ไม่มีเว้นแต่ผู้ที่สิ้นกิเลสอาสวะแล้วเท่านั้น ผู้ที่ไม่กลับเกิดอีกคือผู้ที่ไม่ก่อ ชีวิจนี้มันกระชั้นชิดติดกับความตายเข้าไปทุกที มันไม่มีจะถอยออก มีแต่ขยับเข้าไปสู่ปากพญามัจจุราช คือความตายทุกลมหายใจ สังขารธรรมนี้มีความเกิดความดับติด scan0006

แชร์หน้านี้

Loading...